The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KMPHT, 2020-07-22 10:37:44

COVID-19 kmpht

COVID-19 kmpht

1

ก2

คํานาํ

จากสถานการณ)การแพร,ระบาด การแพร,ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ใน (COVID-19) ในการจัดการเรียนการสอน
ปMจจบุ นั พบว,าประเทศไทยยังมีการระบาดของโรคน้ี ปeการศึกษา 2563 เพื่อใชVในการเฝ^าระวัง และ
อยู,อย,างต,อเนื่อง แมVว,าการตรวจพบยอดผูVติดเช้ือ ป^องกันมิใหVเชื้อโรคดังกล,าวแพร,ระบาดภายใน
ไวรัสโคโรนา 2019 จะอยู,ในสถานการณ)ที่ดีข้ึน วิทยาลัย โดยแผนการเฝ^าระวัง และป^องกันการแพร,
ตามลำดับ ทั้งนี้สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวง ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-
สาธารณสุข จึงมีหนังสือสั่งการยังวิทยาลัยเพื่อเฝ^า 19) นี้ ประกอบไปดVวย 4 ส,วน ไดVแก, ส,วนที่ 1
ระวัง และป^องกันการแพร, ระบาดของโรคติดเชื้อ ขVอมูลพื้นฐาน ส,วนที่ 2 มาตรการเฝ^าระวัง และ
ไวรัสโคโรนา (COVID-19) ใหVปลอดภัยและลดความ ป^องกันการแพร,ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
เสี่ยงต,อการติดต,อของโรคดังกล,าว โดยใหVสอดรับ (COVID-19) ส,วนที่ 3 การติดต,อราชการของ
กับมาตรการของสาธารณสุข ทั้งนี้เพื่อใหVภาวะ บุคคลภายนอก ส,วนที่ 4 การคัดกรองบุคคลใน
ดังกล,าวไม,กระทบต,อสุขภาพและการจัดการศึกษา ครอบครัวเพื่อลดความเสี่ยง การเดินทางต,างพื้นท่ี
ในวิทยาลัยเมื่อเปaดภาคเรียน ซึ่งมีนักศึกษาจำนวน หรือพื้นที่เสี่ยง และส,วนที่ 5 สื่อประชาสัมพันธ)
มาก รวมถงึ บคุ ลากรทางการศึกษาปฏิบัติหนVาท่ี ปอ^ งกนั ลดระบาด COVID 19
วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย)และสาธารณสุข ในวิทยาลยั ฯ
กาญจนาภิเษก จึงจัดทำแผนเฝ^าระวัง และป^องกัน

อนึ่ง การดำเนินการตามแผนเฝ^าระวังและป^องกันการแพร,ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
(COVID-19) นี้ วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย)และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก ดำเนินการตามบริบทของ
วิทยาลัย โดยศึกษาองค)ประกอบของพื้นที่ตั้งของวิทยาลัย ซึ่งมีความเสี่ยงนVอย ตลอดจนสภาพนักศึกษา และ
บุคลากรที่มีจำนวนที่สามารถดำเนินการอย,างรัดกุม แต,ทั้งนี้ขึ้นอยู,กับตัวแปรของสถานการณ)ที่เปลี่ยนแปลง
มาตรการต,าง ๆ อาจปรับเปลี่ยนใหVเหมาะสมตามสถานการณป) จM จบุ นั โดยคำนงึ ถงึ ความปลอดภยั เปmนสำคญั

คณะผ'จู ดั ทำ
มถิ ุนายน 2563

3ข

สารบญั

คำนำ……………………………………………………………………………………...……………………………………. ก
สารบญั ……………………………………………………………………………………………………..……………………ข
สารจากผูบV รหิ าร……………………………………………………………………………………………..………………ค
ส9วนที่ 1 ขอ' มูลพ้นื ฐาน……………………………………………………………………………………………….……………..4

ขVอมูลทัว่ ไป…………………………………………………………………..………………………………...…5
ขVอมลู ผบูV รหิ าร…………………………………………………………………..……………………………..…7
ขVอมูลครูและบุคลากร …………………………………………………………………….…………………. 8
ขอV มูลนักศกึ ษา…………………………………………………………………..……………………..…………9
ขVอมูลทรพั ยากร…………………………………………………………………..………………………………10
ส9วนที่ 2 มาตรการเฝาK ระวังและปKองกนั การแพร9ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา (COVID-19).…11
ความปลอดภัยในการเดินทาง…………………………………………………………………..…………13
การคัดกรองกอ, นเขาV วทิ ยาลยั …………………………………………………………………..………….14
การปฏิบตั ิตนขณะอยู,ในวทิ ยาลัย…………………………………………………………………..…….17
การจัดการเรียนการสอน…………………………………………………………………..…………………18
การจัดกิจกรรมในวิทยาลยั …………………………………………………………………..………………21
การรับประทานอาหาร…………………………………………………………………..……………………22
การใชหV Vองสุขา…………………………………………………………………..………………………………24
การจัดการดแู ลความสะอาดของอาคารสถานที่………………………………………………………25
การใชVบริการหVองปฏบิ ัติการและหอV งพเิ ศษต,าง ๆ ………………………………………………….26
แนวปฏบิ ตั ิสำหรบั วิทยาลยั ระหว,างเปaดภาคเรยี น………………………………………………….…29
ส9วนท่ี 3 การตดิ ต9อราชการของบคุ คลภายนอก ……………………………………………………………………………...54
ส9วนท่ี 4 การคดั กรองบคุ คลในครอบครัวเพอ่ื ลดความเส่ยี ง การเดินทางต9างพน้ื ท่หี รอื พนื้ ทเ่ี สี่ยง….……..56
ส9วนที่ 5 ส่ือประชาสมั พันธb ปKองกนั ลดระบาด COVID 19 ในวทิ ยาลยั ………………………………….….……..68
ภาคผนวก…………………………………………………………………..………………………………………..............................80

ค1

สารจากผู้บริหาร

ในปe พ.ศ. 2563 ประเทศไทยเกดิ การระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) มี
ผลกระทบต,อประเทศทุกภาคสว, น เพอ่ื ปอ^ งกันการระบาดกระทรวงสาธารณสขุ ไดมV ีขอV เสนอแนะเพื่อใหVรัฐบาล
กำหนดมาตรการตา, งๆ เพื่อเปmนแนวทางปฏบิ ตั ิใหVกบั ประชาชน ซึ่งวิทยาลัยเทคโนโลยที างการแพทยแ) ละ
สาธารณสขุ กาญจนาภิเษก สถาบนั พระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข ต้ังอยู, ตำบลราษฎรน) ิยม
อำเภอไทรนVอย จังหวัดนนทบรุ ี ไดปV ดa วิทยาลยั ตามคำสงั่ จงั หวดั นนทุบรีและใหVเปดa ศนู ยฟ) uนt ฟูและดแู ลประชาชน
กล,มุ เส่ยี งจากโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดนนทบรุ ี ซง่ึ ไดVรบั ความร,วมมอื เปนm อยา, งดีในการ
สนบั สนนุ ของใชV อาหารและนำ้ ดมื่ ท้ังจากส,วนราชการ องคก) ารบริหารสว, นตำบล ภาคเอกชนและประชาชน

ในการน้ีวิทยาลยั ไดVกำหนดมาตรการต,างๆ เพ่ือใหVบุคลากรและนักศึกษามคี วามปลอดภัย มีการปรบั
รูปแบบการจัดการเรยี นการสอนเปmนออนไลน) รวมท้ังทำกจิ กรรมเพือ่ ประโยชน)ของสังคม เชน, อาจารยส) มคั รเปmน
จิตอาสาปฏบิ ัติหนาV ทีด่ ูแลผVูกกั ตัว ผลิตสอ่ื ใหคV วามรูV และจติ อาสาปฏิบตั ิหนาV ท่คี ดั กรองเปนm ประจำทกุ วนั ใน
โอกาสนขี้ อขอบพระคุณอาจารย) เจาV หนVาที่ และนกั ศึกษาทกุ ทา, นทีร่ ,วมแรงร,วมใจในการปฏิบัตหิ นาV ท่ีเพ่อื ใหVทกุ
คนปลอดภยั จากโรคระบาดในครัง้ น้ี

ดร.นพมาส เครือสุวรรณ
รักษาราชการแทนผู้อํานวยการ
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และ

สาธารณสขุ กาญจนาภเิ ษก

2

อาจารยส์ ณั ณ์ภณ ตะพังพนิ ิจการ
หวั หน้าภาควชิ าสาธารณสขุ และสขุ ภาพ
ประธานคณะกรรมการการเฝา้ ระวงั ป้องกัน

และควบคุมโรคโควิด-19 วทก.

ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข
โคโรนา 2019 หรือโรคโควดิ 19 (Coronavirus Disease 2019 กาญจนาภเิ ษก สังกดั สถาบนั พระบรมราชชนก เปน็ สถาบัน
(COVID-19) อย่างต่อเนือ่ งในระดบั โลก ถงึ แม้ในประเทศไทย ทีจ่ ัดการเรียนการสอนในระดับอดุ มศกึ ษา มุง่ เนน้ ผลติ
ในปจั จบุ นั ไมพ่ บการติดเชอ้ื ภายในประเทศก็ตาม แต่ยงั พบ บคุ ลากรให้กบั กระทรวงสาธารณสขุ จงึ ต้องมกี ารจัดการ
ผตู้ ดิ เชื้อท่กี ักตัวอยใู่ น state quarantine อยา่ งตอ่ เน่อื ง และ เรียนการสอนอยา่ งตอ่ เนือ่ งเพ่อื ใหเ้ กดิ ผลกระทบในด้าน
จากรายงานผ้ปู ว่ ยโรคโควิด 19 ทผ่ี ่านมาพบว่าใกลมุ่ เด็ก ตา่ ง ๆ ตามมา จงึ ตอ้ งมีมาตรการในการดแู ลและการ
และวัยรนุ่ จะมีอุบัตกิ ารณ์คอ่ นข้างต่าํ และมกั มอี าการไม่ จัดการสุขภาพทง้ั ปวงเพื่อการเฝ้าระวงั ปอ้ งกัน และ
รนุ แรง ซึง่ เกดิ จากการติดจากบคุ คลในครอบครวั แตถ่ า้ ควบคมุ ปอ้ งกันการเกิดโรคกบั นักศกึ ษาและบคุ ลากรใน
หากมกี ารติดเชื้อในวทิ ยาลยั แลว้ อาจทาํ ใหเ้ กดิ การแพร่ วทิ ยาลยั ตามคาํ สงั่ ของคณะกรรมการในระดับจงั หวดั และ
ระบาดไปยังบคุ คลอืน่ ๆ ได้รวดเร็ว (Super Spread) เน่อื งจาก ระดบั ชาติ การอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามยั ส่ิง
เป็นสถานศกึ ษาที่มหี อพกั ทน่ี ักศึกษาตอ้ งใชช้ วี ติ อยรู่ ว่ มกนั แวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ การตรวจคดั กรองทุกเช้า การสวมใส่
มีการใกลช้ ิดกัน และทํากิจกรรมรว่ มกนั ตลอดเวลา หนา้ กากอนามยั หรอื หน้ากากผา้ การเว้นระยะหา่ ง 1-2
ท้ัง 5 หลกั สูตร ไดแ้ ก่ ประกาศนียบตั รวิชาชีพชน้ั สูง เมตร การล้างมือบอ่ ยๆด้วยเจลแอลกอฮอล์หรอื สบแู่ ละน้ํา
สาขาวิชาเวชระเบยี น และสาขาวิชาโสตทศั นศึกษาทาง การทําความสะอาดพื้นที่ การลดความแออดี เป็นต้น โดย
การแพทย์ หลกั สูตรระดับปรญิ ญาตรี ได้แก่ แพทยแ์ ผนไทย ได้เชือ่ มโยงบูรณาการทกุ ภาคสว่ นในการดาํ เนนิ การควบคู่
บณั ฑิต วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาเวชระเบียน และ กันในลกั ษณะเกอื้ กูลซง่ึ กันและกันของทกุ ฝา่ ยทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
สาขาวิชารังสีเทคนคิ ซึ่งหากมีการเจ็บปว่ ยเกดิ การตดิ เช้อื มาร่วมกันวเิ คราะหส์ ถานการณ์ วางแผน รวบรวม
โรคข้ึนมาก็จะส่งผลกระทบตอ่ สงั คมหรือผูใ้ กลช้ ดิ เชน่ ตรวจสอบ กาํ หนดมาตรการและแนวปฏบิ ัติในการเตรียม
อาจารย์ เพอื่ น บคุ ลากรในสถานศกึ ษา พ่อแม่ และคนใน ความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนและการรับมือเพอื่ ปอ้ งการ
ชมุ ชนใกลเ้ คยี งได้ แตด่ ้วยหลกั การจัดการเรียนการสอน แพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในวิทยาลัยท่ีสอดคล้องกับ
ของกระทรวงศกึ ษาธิการท่วี า่ “การเรยี นรูน้ ําการศึกษา บริบท และสามารถนําไปใช้เปน็ แนวปฏิบตั ไิ ด้จริง โดยยดึ
โรงเรียนอาจหยดุ ได้ แตก่ ารเรียนรูห้ ยุดไมไ่ ด้” ความปลอดภัยของนักศึกษา และบุคลากรของวิทยาลัย
รวมถงึ คนในชมุ ชนใกล้เคยี งเป็นท่ตี ั้ง เพื่อใหว้ ิทยาลยั มี
ความพรอ้ มในการจดั การเรยี นการสอนได้อย่างมีคณุ ภาพ
เกดิ ผลลพั ธท์ ีม่ ีประสิทธิภาพ สงู สดุ ต่อไป

3

จากสถานการณโ์ รคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทม่ี ีการระบาดในปจั จุบนั ส่งผลใหม้ ผี ้เู สยี ชวี ิตและ

เจบ็ ป่วยจํานวนมาก เนอื่ งจากผ้ปู ว่ ยท่ีเข้าเกณฑส์ อบสวนโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัด

นนทบุรไี ด้เพม่ิ ขน้ึ และเพ่ือให้เป็นไปตามหลกั การควบคมุ และปอ้ งกนั โรค กลุ่มดังกลา่ วจําเปน็ ต้องไดร้ บั การตรวจหา

เชอื้ ดว้ ยวธิ กี าร Swabs เพ่อื ยนื ยันผลการตรวจทางห้องปฏบิ ตั ิการในระหวา่ งการรอผลตรวจ (Patient under

investigation : PUI) นน้ั กลุม่ PUI จาํ เป็นตอ้ งถกู กักกันและคุมไว้สังเกตอาการเพ่อื ให้ม่ันใจว่าจะไมส่ ามารถไปแพร่

เชือ้ โรคได้ โดยในช่วงการกกั กันนนั้ ถ้ากรณีทพี่ บเชอ้ื หลกั ตรวจก็จะได้รบั การรกั ษาไดท้ ันถว่ งท่ี และในกรณีท่ไี ม่พบเชอ้ื

หลักการตรวจกล่มุ ดังกล่าวต้องกักตัวตอ่ อยา่ งน้อย 14 วัน โดยมาตรการดงั กล่าวจะสามารถควบคมุ การแพร่เชือ้ ไปสู่

ประชาชนในจังหวดั นนทบรุ ี ดงั นั้นจงั หวัดนนทบรุ จี งึ ได้มกี ารจดั ตงั้ คณะกรรมการศูนย์ฟน้ื ฟูและดูแลประชาชนกลุ่ม

เสี่ยงจากโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดนนทบรุ ี โดยคณะกรรมการดังกลา่ วไดเ้ ลือกวทิ ยาลยั

เทคโนโลยที างการแพทย์และสาธารณสขุ กาญจนาภิเษกซึง่ เป็นสถานศึกษาสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวง

สาธารณสขุ ได้ถกู เลือกให้เป็นสถานท่รี องรับกล่มุ เสีย่ งจากโรคติดเชือ่ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) จังหวัด

นนทบุรี และได้บรหิ ารจัดการให้สามารถเปดิ ศูนย์เพือ่ รองรับกลุม่ เสีย่ ง PUI เพื่อสนองตอบคําสงั่ ดังกล่าว

คณะกรรมการบรหิ ารวทิ ยาลัยฯ ได้มกี ารดาํ เนินการเพ่อื สนองตอบการดาํ เนนิ การเปน็ ศนู ยอ์ ยา่ งเป็นรปู ธรรมและ

เรง่ ด่วน โดย วิทยาลัยสนับสนนุ สถานท่ีโดยเลอื กอาคารหอพักอาจารย์หลงั ใหมเ่ พอ่ื เป็นรองรับกลุ่มเส่ยี ง PUI และ จดั

บุคลากรเพอื่ สนบั สนุนการดแู ลกลุ่มเสีย่ ง PUI ในเขตพนื้ ที่จังหวัดนนทบุรี โดยดาํ เนนิ การรว่ มกับสาํ นกั งานสาธารณสุข

จังหวัดนนทบุรี โรงพยาบาลไทรนอ้ ย สํานักงานสาธารณสุขอาํ เภอไทรน้อย แบ่งกลุ่มทีเ่ ขา้ มาอยู่เป็น 2 กลุ่มดังน้ี

1. กลุ่มยนื ยันผลการตรวจทางห้องปฏิบัตกิ ารในระหวา่ งการรอผลตรวจ (Patient under investigation:

PUI) กลุม่ PUI หลงั จากการทาํ Swabs โดยให้กับตัวจนถึงวนั ท่ีทราบผล หรือกักตวั 14 วนั
2. กลุ่มเสีย่ งท่สี ัมผสั กบั เชอื้ หรือไปสถานที่ชุมชนโดยให้กกั ตวั 14 วัน

ศนู ย์ฟ้นื ฟูกลมุ่ เสย่ี งฯ เปิดรับกลมุ่ เสย่ี งตง้ั แตว่ ันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2563 มี 2563
มกี ล่มุ เสี่ยงทเ่ี ข้ามาถกู กกั ตัวแลว้ ทัง้ สิน้ 105 คน รายงาน ณ วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ.2563
โดยมบี คุ ลากรจากวทิ ยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก
จาํ นวน 5 คน และ เจา้ หนา้ ทจ่ี ากโรงพยาบาลไทรนอ้ ย/สาํ นกั งานสาธารณสขุ อาํ เภอไทรน้อย
16 คน เข้ามาปฏิบตั ิหนา้ ท่ี

ศูนยฟ์ ้นื ฟกู ลุ่มเส่ียงฯ ที่วิทยาลยั เทคโนโลยีทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ กาญจนาภิเษก
ร่วมกันจดั ตัง้ ข้ึนและไดด้ าํ เนนิ การไดต้ ามมาตรฐานการบรกิ ารทางการแพทย์และสาธารณสุข
ตลอดระยะเวลาในระยะท่มี ีการระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
ท่ผี ่านมา เป็นความภมู ิใจของเราชาว วทก. ท่ไี ดเ้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ในการได้
ช่วยประเทศชาติ สังคม และชมุ ชน ให้ก้าวผา่ นภาวะวกิ ฤตนิ ไ้ี ปได้

อาจารยส์ ายฝน ตนั ตะโยธิน

ตาํ แหนง่ พยาบาลวชิ าชีพชาํ นาญการพิเศษ

ประธานคณะทํางานศนู ยฟ์ ้นื ฟูและดแู ลประชาชนกลุ่ม

เสี่ยงจากโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

จงั หวัดนนทบุรี วทิ ยาลัยเทคโนโลยที างการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภเิ ษก

4

ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลพืน้ ฐาน

5

ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลพน้ื ฐาน

ข้อมูลทวั่ ไป

• ระยะที่ 1 ปe พ.ศ. 2536 - พ.ศ.2537 เริ่มการจัดทําหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตร
สาขาวิชาต,างๆ โดยพัฒนาหลักสูตรที่มีระยะเวลาการศึกษา 1 ปe เปmนหลักสูตร 2 ปe สํานักงานขณะนั้นตั้งอยู, ณ
กองงานวิทยาลัยพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข วังเทวะเวสม) กรงุ เทพมหานคร

• ระยะที่ 2 ปe พ.ศ.2537 – พ.ศ.2543 วิทยาลัยไดVยVายสถานที่ปฏิบัติงานไปอยู,ภายในบริเวณที่ทําการ
ของกรมวิทยาศาสตร)การแพทย)ยศเส กรุงเทพมหานคร วิทยาลัยไดVจัดการเรียนการสอนใน ๑๑ สาขาวิชา และ
ไดVรับความร,วมมือจากคณะวิทยาศาสตร) มหาวิทยาลัยรามคำแหง ในการจัดการเรียนการสอนร,วมกันเปmน
โครงการ 5 ปeในหมวดวิชาการศึกษาทั่วไป โดยนักศึกษาจะลงทะเบียนเรียนเช,นเดียวกัน วันที่ ๒๐ กรกฎาคม
๒๕๓๙ พระบาทสมเด็จพระเจVาอยู,หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกลVาโปรดกระหม,อม พระราชทาน
ชื่อวิทยาลัย เปmนวิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย)และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก และใหVประดิษฐานตรา
สัญลักษณ)งานฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 50 ปe บนป^ายชื่อวิทยาลัย วันที่ 2 เมษายน 2540 พระบาทสมเด็จพระ
เจVาอยู,หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหVเชิญพระมหาพิชัยมงกุฎและ “๙” ประดิษฐาน
เหนือเครื่องหมายกระทรวงสาธารณสุขเปmนเครื่องหมายของวิทยาลัย วันที่ 30 มีนาคม 2542 พระราชทานช่ือ
ภาษาองั กฤษ เปนm “KANCHANABHISHEK INSTITUE OF MEDICAL AND PUBLIC HEALTH TECHNOLOGY”

• ระยะที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ.2544 ภายหลังจากสิ้นสุดสัญญาความร,วมมือจากคณะวิทยาศาสตร)
มหาวิทยาลัยรามคำแหง ในโครงการการจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาการศึกษาทั่วไป วิทยาลัยไดVดําเนินการ
จัดการเรียนการสอนโดยอาจารย)ของวิทยาลัยและผูVเชี่ยวชาญในหมวดวิชาสาขาต,างๆ เพื่อพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาใหVกVาวหนVายิ่งขึ้น และไดVยVายที่ทําการของวิทยาลัยมาตั้งอยู, ณ ตําบลราษฎร)นิยม อำเภอไทร
นVอย จังหวัดนนทบุรี ซงึ่ เปmนสถานท่ตี ั้งในปจM จุบนั

6

หลักสตู รท่ีเปิดสอน

ในวทิ ยาลยั เทคโนโลยีทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ กาญจนาภเิ ษก

1. ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ช้ันสงู
1.1 หลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพชัน้ สงู (ปวส.)
• สาขาวชิ าเวชระเบียน
• สาขาวชิ าโสตทศั นศึกษาทางการแพทย)

2. ระดับปรญิ ญาตรี
2.1 หลกั สูตรการแพทย)แผนไทยบัณฑติ (พท.บ.)
o สาขาวิชาการแพทยแ) ผนไทย (สมทบคณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าช

มงคลอสี าน)
2.2 หลกั สูตรสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ (ส.บ.) (ปดa หลักสตู รแลวV )
o สาขาวชิ าเวชระเบียน (สมทบมหาวทิ ยาลัยบูรพา)
2.3 หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต (วทบ.)
o สาขาวชิ าเวชระเบยี น (สมทบมหาวิทยาลัยบรู พา)
2.4 หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต (วทบ.)
o สาขาวชิ ารงั สีเทคนิค

วสิ ยั ทัศน์
สถาบันการศกึ ษาสหวิชาชพี ดาV นสขุ ภาพช้นั นำท่สี รVางสรรค)องค)ความรVดู Vานวิจัยและนวัตกรรมในระดบั

อาเซียน

พันธกิจ
1. ผลิตบัณฑติ ดาV นสหเวชศาสตร)และการแพทย)แผนไทยใหVมคี ณุ ภาพ คุณธรรมและจริยธรรม
2. พฒั นาองคค) วามรVู วจิ ยั และนวตั กรรม
3. พฒั นาบุคลากร บรกิ ารวชิ าการแก,สังคม โดยเนนV ความรว, มมอื กบั ชมุ ชน
4. พฒั นาวิทยาลยั สู,การเปนm สถาบันอดุ มศึกษาชน้ั นำ
5. ทำนุบำรุงศลิ ปวัฒนธรรมและอนรุ กั ษ)ภูมิปญM ญาทVองถนิ่ โดยชมุ ชนมีส,วนร,วม

7

เป้าประสงค์
เป^าประสงค)ท่ี 1 ผูสV ำเร็จการศึกษาท่มี ีคณุ ภาพไดVมาตรฐาน สากล และมสี มรรถนะเชงิ วิชาชพี บน

พ้ืนฐานการดแู ลดVวยหวั ใจ ความเปmนมนุษย)
เปา^ ประสงคท) ่ี 2 มีผลงานวิจัย ผลงานวิชาการและนวตั กรรมท่มี ีคณุ ภาพสามารถนำไปใชVประโยชนเ) พ่ือ

พัฒนาสุขภาวะของชมุ ชนและสงั คมอาเซียน
เป^าประสงค)ท่ี 3 เปนm ศนู ยก) ารการพฒั นาบุคลากรดาV นสขุ ภาพท่ีไดรV บั การยอมรับ ระดับชาติ/อาเซียน
เป^าประสงคท) ี่ 4 เปนm สถาบนั อดุ มศกึ ษาดVานสุขภาพท่ีมคี ุณภาพในการบริหารจดั การภายใตหV ลกั ธรรมาภิ

บาล

กลยทุ ธ/์ ประเด็นยุทธศาสตร์
ประเดน็ ยุทธศาสตรท) ี่ 1 การผลิตกำลังคนดVานสขุ ภาพที่มคี ุณภาพตอบสนองระบบบริการสขุ ภาพ
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท) ่ี 2 การสรVางองคค) วามรแVู ละนวตั กรรมดVานสุขภาพเพอื่ พัฒนาสุขภาวะของชมชน

และสังคมอาเซยี น
ประเด็นยทุ ธศาสตร)ที่ 3 การพฒั นากำลังคนดาV นสขุ ภาพทม่ี ีคุณภาพตอบสนองระบบบริการสุขภาพของ

ประเทศและอาเซยี น และบริการวชิ าการแกส, งั คมเพ่ือสุขภาวะชุมชนที่ย่ังยนื
ประเดน็ ยุทธศาสตรท) ่ี 4 การเปนm สถาบนั การศึกษาดาV นสุขภาพท่ีมคี ณุ ภาพในการบรหิ ารจัดการภายใตV

หลักธรรมาภบิ าล
ผู้บริหารสถานศึกษา

อาจารย) ดร.นพมาส เครอื สุวรรณ รกั ษาราชการแทน ผอูV ำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยที างการแพทย)ฯ
วุฒกิ ารศกึ ษา ปรชั ญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา
โทรศพั ท) 098 - 5491947
ผรู้ ับผิดชอบโครงการ
อาจารย) สัณณ)ภณ ตะพงั พินิจการ วิทยาจารยช) ำนาญการพิเศษ
วุฒิการศึกษา ศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ (จิตวิทยาชมุ ชน)
โทรศพั ท) 098 – 5480046

8

ขอ้ มูลครแู ละบุคลากร

ประเภท / ตำแหนง9 จำนวนบคุ ลากร (คน) รวม

ต่ำกวา9 ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก

๑. ผบVู ริหารวิทยาลยั 0 0 8 3 11

รวม 0 0 8 3 11

๒.อาจารยผ) ูVสอน

- ขVาราชการ 0 4 15 5 24

- พนักงานราชการ 0 0404

- พนักงานกระทรวงสาธารณสุข 0 2204

- จาV งเหมาบรกิ าร 0 18 3 3 24

- ลกู จาV งชั่วคราว 0 0000

- ครูตา, งชาติ 0 0101

รวม 0 24 25 8 57

๓. บคุ ลากรสายสนบั สนุน

- ขVาราชการ 0 2002

- พนกั งานราชการ 0 4004

- พนกั งานกระทรวงสาธารณสุข 4 2006

- ลกู จาV งชัว่ คราว 1 0001

- จาV งเหมาบริการ 29 6 1 0 36

รวม 34 14 1 0 49

รวมทั้งสน้ิ 34 38 34 11 117

9

ขอ้ มูลนกั ศกึ ษา

หลกั สตู ร จำนวน เพศ รวม

ห'องเรียน ชาย หญงิ 57
32
การแพทยแ) ผนไทยบัณฑิต ชนั้ ปeท่ี 1 1 7 50 33
46
การแพทย)แผนไทยบัณฑิต ชัน้ ปทe ่ี 2 1 10 22 43
42
การแพทยแ) ผนไทยบณั ฑิต ชนั้ ปทe ี่ 3 1 4 29 38
50
การแพทย)แผนไทยบณั ฑติ ชั้นปทe ี่ 4 1 6 40 92
108
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเวชระเบียน ช้ันปeท่ี 1 1 5 38 18
19
วิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าเวชระเบยี น ชน้ั ปทe ่ี 2 1 7 35 576

วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเวชระเบยี น ชนั้ ปทe ี่ 3 1 4 34 98
28
วิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชารงั สีเทคนิค ชนั้ ปeที่ 1 1 11 39 126
702
ปวส. สาขาวชิ าเวชระเบยี น ชนั้ ปeที่ 1 1 17 75

ปวส. สาขาวชิ าเวชระเบยี น ช้นั ปeที่ 2 1 14 94

ปวส. สาขาวิชาโสตทัศนศึกษาทางการแพทย) ชน้ั ปeท่ี 1 1 5 13

ปวส. สาขาวชิ าโสตทัศนศกึ ษาทางการแพทย) ชนั้ ปeท่ี 2 1 4 15

รวม 12 94 484

นักศึกษาเตรยี มจบ อยใ9ู นวิทยาลยั ฯ 24 มิถนุ ายน 2563 – 31 กรกฎาคม 2563

ปวส. สาขาวชิ าเวชระเบยี น ชน้ั ปeที่ 2 1 19 79

ปวส. สาขาวิชาโสตทศั นศึกษาทางการแพทย) ชั้นปทe ่ี 2 1 8 20

รวม 2 27 99

รวมทงั้ สนิ้ 14 121 583

10

ขอ้ มูลทรพั ยากร

1. อาคารเรียน/หอ' งเรยี น ไดแV ก, จำนวน อาคารสถานที่ จำนวน
อาคารสถานที่ 1 อาคาร - หVองพยาบาล 1 หอV ง
1 อาคาร - โรงยมิ /หอประชุม 1 อาคาร
- อาคารเรยี น 20 หVองเรยี น - โรงอาหาร 1 อาคาร
- อาคารเรยี นและหอพัก 1 อาคาร - หอV งทำงานบุคลากร 22 หอV ง
- หอV งเรยี น 3 อาคาร - หอพกั อาจารย) 1 อาคาร
- หอV งเรยี นปฏบิ ัตกิ าร 2 หVอง - หอพักนักศกึ ษาหญงิ 2 อาคาร
- หVองเรียนคอมพิวเตอร) 1 อาคาร - หอพักนักศึกษาชายและบุคลากร 1 อาคาร
- หVองสมุด
-หอพักบุคลากร/ผเVู ขVารับการอบรม

2. ห'องน้ำ/หอ' งส'วม ไดVแก,

สถานที่ จำนวน
- หอV งสวV มชายในอาคารเรียน 36 หVอง
- หอV งสวV มหญงิ ในอาคารเรยี น 36 หอV ง
- ที่ปสM สาวะชายในอาคารเรียน 38 ที่
- หอV งสวV มอาจารย/) เจVาหนVาทใี่ นอาคารเรียน 10 หอV ง
- หอV งสVวมชายในหอพัก (แยกตามหVองพัก) 32 หอV ง
- หVองนำ้ หญิง(รวม)ในหอพัก (แยกตามชน้ั ) 46 หอV ง
- หVองสวV มหญงิ (รวม)ในหอพกั (แยกตามชนั้ ) 40 หVอง
- หVองน้ำชาย(รวม) นอกหอพัก 10 หVอง
- หอV งสวV มชาย(รวม) นอกหอพัก 10 หอV ง
- ท่ีปสM สาวะชาย (รวม) นอกหอพัก 20 ที่

11

สว่ นที่ 2 มาตรการเฝา้ ระวงั และป้องกันการแพร่

ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019

(COVID-19)

12

ส่วนท่ี 2 มาตรการเฝ้าระวงั และปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาด
ของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา (COVID-19)

วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย)และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก ไดVกำหนดมาตรการเฝ^าระวัง และ
ป^องกันการแพร,ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับนักศึกษา อาจารย) และบุคลากร
สนับสนนุ ทางการศกึ ษาของวิทยาลยั เทคโนโลยีทางการแพทยแ) ละสาธารณสุข กาญจนาภิเษก

แบง# ออกเป)น 10 ดา/ น ดังนี้

1. ความปลอดภัยในการเดนิ ทางของนกั ศึกษา
2. การตรวจคดั กรองกอ> นเข?าวทิ ยาลยั
3. การปฏบิ ตั ิตนขณะอยใู> นวิทยาลัย
4. การจดั การเรียนการสอน
5. การจดั กจิ กรรมในวิทยาลยั
6. การรบั ประทานอาหาร
7. การใชห? ?องสุขา
8. การจัดการดูแลความสะอาดของอาคารสถานที่
9. การใช?บริการห?องปฏิบัติการและหอ? งพิเศษต>าง ๆ
10. แนวปฎบิ ัตสิ ำหรบั วทิ ยาลยั ระหวา> งเปYดภาคเรียน

13

1. ความปลอดภัยในการเดินทางของนักศึกษา

มาตรการเฝา^ ระวังและป^องกันการแพร,ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา (COVID-19) ดาV นความ
ปลอดภยั ในการเดนิ ทางของนักศึกษา มรี ายละเอียด ดงั นี้

1.1 การดแู ล เฝKาระวงั นักศึกษากอ9 นเดนิ ทางกลบั มาวทิ ยาลัย
1) สวมหนาV กากอนามยั หรือหนVากากผVาทกุ ครัง้ กอ, นออกจากบVานและสวมตลอดระยะเวลาทีอ่ ย,ู

บนรถ/เครอ่ื งบนิ
2) ตรวจวดั อณุ หภูมิรา, งกายตนเองก,อนขึ้นรถมากลบั มาวิทยาลัย หากพบวา, มีไขV (อุณหภมู ิตงั้ แต,

37.5 องศาเซลเซยี สข้นึ ไป) ตอV งพกั อย,บู าV น และใหVผVปู กครองพาไปพบแพทย)
3) ใชVแอลกอฮอล) หรอื เจลแอลกอฮอลท) ำความสะอาดมอื กอ, นข้ึนรถมาวทิ ยาลัย และเมอ่ื เดนิ ทาง

ถงึ วทิ ยาลยั ทกุ ครงั้

1.2 การดูแล เฝาK ระวังนักศกึ ษาที่เดินทางเขา' -ออกวทิ ยาลัย
1) วนั เสาร) อาทติ ย) วนั หยุดราชการ ใหนV กั ศึกษาลงทะเบียนเขาV -ออกวทิ ยาลยั ที่ทมี สโมสรนักศกึ ษา

หรอื แกนนำดาV นสขุ ภาพ โดยใหVเขาV -ออกตามเวลาทก่ี ำหนดในระเบยี บของวทิ ยาลัย
2) สวมหนVากากอนามัย หรอื หนาV กากผVา หรือ Face shield กอ, นขึน้ รถ และสวมตลอดระยะเวลา

ทีอ่ ยูบ, นรถสว, นตวั /รถสาธารณะ/เครอื่ งบนิ โดยสาร
3) ใหVลงขVอมูลทุกครั้งท่ีเขาV ไปยังสถานทตี่ ,างๆ ตามระบบทีส่ ถานทแี่ ตล, ะแห,งจดั ไวV เชน, แบบฟอรม)

แอปพลิเคชนั ไทยชนะ หมอชนะ เปนm ตนV
4) ใชVแอลกอฮอล) หรือเจลแอลกอฮอล)ทำความสะอาดมือก,อนขนึ้ รถทุกครั้ง และลาV งมือบอ, ยๆ เม่ือ

อยู,ในสถานท่สี าธารณะ ในหVางสรรพสินคาV หรอื แหล,งชมุ ชน และใหเV ปลยี่ นเส้อื ผVา อาบน้ำทันทีทถี่ งึ บVาน/หอพกั

14

1.3 การดแู ลเฝKาระวงั ของผ'ูประกอบการรถรับ-ส9ง
1) ผูVขับรถรบั ส,งนักศึกษา/บุคลากร ตVองสวมหนVากากอนามัย หรอื หนVากากผาV ตลอดระยะเวลาการ

รับ – สง, นักศึกษา/บคุ ลากร และตVองตรวจวดั อณุ หภูมิร,างกายทกุ วนั หากพบว,ามไี ขV อณุ หภูมติ ั้งแต, 37.5 องศา
เซลเซียสข้นึ ไป ตอV งหยดุ ปฏบิ ตั ิงานทันที

2) ผปVู ระกอบการรถรบั –ส,ง ตVองทำความสะอาดรถรับส,งนักศึกษา/บุคลากรทกุ วนั และใชผV Vาชบุ
แอลกอฮอล)เช็ดทำความสะอาดบริเวณจดุ เส่ยี งบนรถทุกครัง้ ทง้ั กอ, นและหลังดำเนินการรับและสง, นักศกึ ษา

3) ตรวจวัดอณุ หภูมิรา, งกายของนักศกึ ษา/บคุ ลากร กอ, นข้ึนรถ หากพบว,า มไี ขV อณุ หภมู ติ งั้ แต,37.5
องศาเซลเซียสข้นึ ไป ตVองไมใ, หVนักศึกษา/บุคลากร ขึ้นรถ

4) กำชบั ใหVนักศกึ ษา/บคุ ลากรทุกคนสวมหนาV กากอนามัย หรอื หนาV กากผาV หรอื Face shield กอ, น
ขน้ึ รถและตลอดระยะเวลาที่อยู,ในรถ ใหVลVางมอื บอ, ยๆ ดVวยแอลกอฮอล)หรอื เจลแอลกอฮอล)

15

2. การตรวจคัดกรองกอ่ นเข้าวิทยาลัย

มาตรการเฝา^ ระวงั และปอ^ งกันการแพร,ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา (COVID-19) ดาV นการตรวจ
คดั กรองก,อนเขVาวทิ ยาลยั มีรายละเอียด ดังน้ี

2.1 อาจารย)และนักศกึ ษาทีอ่ ยเ,ู วรตรวจคัดกรองประจำวนั ตรวจสอบนกั ศึกษา อาจารย) และบุคลากร
ทางการศกึ ษาท่ีจะเขาV วิทยาลัยจะตอV งสวมหนVากากอนามยั หรอื หนVากากผVา หรือ Face shield ทุกคน หาก
ตรวจพบวา, ไม,สวม หนVากากอนามัย หรอื หนVากากผVา หรอื Face shield วิทยาลยั ไดVจัดใหมV ีบริการจำหนา, ย
หนาV กากผVาในราคาถูกเพอื่ ใหทV กุ คนสวมหนVากากกอ, นเขาV วทิ ยาลยั

2.2 อาจารย)และนกั ศกึ ษาทีอ่ ยู,เวรตรวจคัดกรองประจำวนั ตรวจวดั อุณหภมู ิร,างกายนกั ศกึ ษา อาจารย)
และบุคลากรทางการศกึ ษา บรเิ วณหนVาทางเขาV อาคารเรียน/สำนกั งาน หากพบนกั ศึกษา อาจารย) หรือบคุ ลากร
ทางการศึกษาทม่ี ีไขV (อณุ หภมู ิต้งั แต9 37.5 องศา เซลเซียสขึน้ ไป)ใหVหยดุ เรยี น หยดุ งาน ในวนั นนั้ ทันที และจดั
ใหVพกั หอV งแยกกักกนั อาคารหอพัก 4 ใหเV รยี นทาง online แทน หรอื เดินทางกลบั บVานเพือ่ รอดอู าการ

2.3 อาจารย)และนักศกึ ษาทีอ่ ยู,เวรตรวจคดั กรองประจําวนั ใหVนักศึกษา และบคุ ลากรทางการศกึ ษาใชV
เจลแอลกอฮอลล) าV งมือทุกคนก,อนเขVาอาคารเรยี นของวทิ ยาลยั

2.4 วทิ ยาลยั ทำขVอตกลงความรว, มมอื กับอาสาสมคั รสาธารณสุขประจําหมู,บาV น หรอื โรงพยาบาลส,งเสรมิ
สุขภาพประจาํ ตําบล หรอื สำนกั งานสาธารณสุขอำเภอไทรนVอย ในการเฝา^ ระวงั ปอ^ งกนั และควบคุมโรค การ
ตรวจวัดอุณหภูมริ า, งกายนกั ศึกษา เพอื่ เฝา^ ระวังนกั ศกึ ษา อาจารย) และบุคลากรทางการศกึ ษาท่ีมปี ระวัติการ
เดนิ ทางออกนอกพนื้ ท่ี หรอื มีญาตจิ ากต,างพ้ืนที่มาเยย่ี ม เพื่อเปนm การคดั กรองและเฝ^าระวังอย,างมีประสทิ ธิภาพ

2.5 วิทยาลัยจดั เตรียมวสั ดุ อุปกรณ) น้ำยาฆา, เชื้อ เพ่อื ทำความสะอาดพน้ื ผวิ ทง้ั ในหVองเรยี น หอV งเรยี น
รวม หอV งสมดุ หอV งปฏิบตั กิ าร พน้ื ผิวทางเดนิ ภายในอาคาร โรงอาหาร ทกุ วันอยา, งนอV ยวันละ 2 คร้งั

2.6 นักศกึ ษาเวนV ระยะ 1 - 2 เมตร ในการเดนิ เขาV เรยี นในวิทยาลัย หรือทำกจิ กรรมตา, ง ๆ

16

อาจารยแ์ ละนกั ศกึ ษา
ไดร้ บั การคดั กรองทุกวนั เมื่อเข้าวิทยาลยั ฯ

17

3. การปฏิบัติตนขณะอยใู่ นวทิ ยาลัย

มาตรการเฝ^าระวังและป^องกนั การแพร,ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา (COVID-19) ดVานการปฏิบัติ
ตนขณะอยูใ, นวทิ ยาลัยของนักศึกษา อาจารย) และบุคลากรทางการศกึ ษา มรี ายละเอียด ดังน้ี

3.1 สวมหนาV กากอนามัย หรือหนVากากผาV หรือ Face shield ตลอดระยะเวลาทอ่ี ยู,ในวทิ ยาลยั
3.2 ลาV งมอื บ,อย ๆ ดVวยแอลกอฮอล) เจลแอลกอฮอล) หรือสบ,ูเหลวลาV งมือ
3.3 หลกี เลี่ยงการใชภV าชนะ ของใชV เส้อื ผาV ผาV เชด็ ตวั และอปุ กรณต) ,าง ๆ ร,วมกัน
3.4 หากมอี าการไอ จาม หรอื รVูสกึ ว,ามไี ขV มอี าการคลVายโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา (COVID-19) ใหอV นุญาต
ออกจากวิทยาลัยเพ่อื ไปพบแพทยท) ันที
3.5 หลีกเลี่ยงการจบั ราวบนั ได ลกู บิดประตู แตห, ากหลกี เล่ียงไมไ, ดใV หลV Vางมอื ดวV ยแอลกอฮอล)หรือเจล
แอลกอฮอลท) ันที
3.6 หลีกเลีย่ งการสัมผสั บริเวณใบหนาV ของตวั เอง
3.7 การใชหV อV งสุขาถา, ยอุจจาระ ใหปV ดa ฝาโถสVวมก,อนกดชกั โครกทกุ ครงั้
3.8 ทงิ้ ขยะทกุ อยา, งของตนเองใหVลงถงั ขยะ และหลีกเลยี่ งการสมั ผสั ขยะของผูVอื่นดVวยมือเปลา,
3.9 หลีกเล่ยี งกิจกรรมที่มีการรวมกล,ุมเปนm จำนวนมาก และกจิ กรรมทีม่ ีการสมั ผสั กัน หากมคี วาม
จำเปนm ตVองจัดกิจกรรมทีม่ ีการรวมกลมุ, ใหมV ีการเวนV ระยะหา, งกัน 1 - 2 เมตร
3.10 การดูแลเฝา^ ระวงั ของนักศึกษาที่ใชVรถจกั รยานยนต)ในการเดินทาง ใหสV วมหมวกกนั น็อคสว, นตัว ไม,
ใชVหมวกกันน็อคร,วมกบั ผVอู ืน่ และสวมหนVากากอนามยั หรือหนาV กากผาV ทุกครง้ั ทเี่ ดินทางทง้ั ไปและกลับวทิ ยาลัย

ใสห่ น้ากาก ล้างมือ วดั ไข้ หา่ งกัน

18

4. การจัดการเรียนการสอน

มาตรการเฝา^ ระวงั และป^องกันการแพร,ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19) ดาV นการจัดการ
เรียนการสอน แบ,งออกเปmน 3 หวั ขVอยอ, ย โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี

4.1 การเปล่ียนหอ' งเรยี น
4.1.1 หากมกี ารเปลย่ี นคาบเรยี นใหVนักศกึ ษาตง้ั แถวเรียงตามเลขท่แี ละเดนิ เปนm แถว เมอ่ื ถงึ

หอV งเรียนแลวV ใหVตง้ั แถวรอหนVาหอV งกอ, น เพ่อื ใหอV าจารย)ผสูV อนหรืออาจารย)ประจำชนั้ หรือตัวแทนนักศึกษาใชV
แอลกอฮอล)หรอื เจลแอลกอฮอล)ใหVนักศกึ ษาทกุ คนลาV งมือก,อนเขาV หVองเรียน

4.1.2 นกั ศกึ ษาทุกคนเดินเขาV หVองเรียนทางประตหู นาV และเมอ่ื หมดคาบเรียนใหเV ดนิ ออกจาก
หVองเรยี นทางประตูหลงั (ประตูเขาV -ออกใหVแยกกัน)

4.1.3 การวางรองเทาV ใหVนักศกึ ษาถอดรองเทาV และวางเรียงตามเลขท่ีบนชน้ั วางรองเทVา หรอื บริเวณ
หนVาหอV งเรยี น ใหVเรียบรอV ยเปmนระเบียบ

4.2 การจัดการเรยี นการสอนภายในหอ' งเรียน
4.2.1 อาจารยผ) สVู อนสวมหนาV กากอนามยั หนVากากผVา หรอื ใส, Face shield ตลอดเวลาในขณะ

สอน
4.2.2 อาจารยผ) VูสอนใชแV อลกอฮอล) หรอื เจลแอลกอฮอลล) าV งมอื ก,อนทำการสอนทกุ คาบเรียน และ

ใหVทำความสะอาดบรเิ วณท่ีสอน พื้นผวิ และอุปกรณ)ต,างๆ เชน, ไมค)โครโฟน คอมพิวเตอร) โต¡ะ
4.2.3 อาจารย)ผสVู อนกำชับใหVนกั ศกึ ษาทกุ คนสวมหนVากากอนามัย หรอื หนาV กากผาV ตลอดเวลาที่มี

การเรยี นการสอน
4.2.4 อาจารย)ผูสV อนคอยกำกบั ดแู ลเรอื่ งการเวนV ระยะหา, งของนกั ศึกษาขณะจัดการเรยี นการสอน

อยา, งเคร,งครดั

19

4.3 การจดั หอ' งเรยี น
การจัดหVองเรียนใหVจดั โต¡ะเรียน 5 แถว แถวละ 7 โต¡ะ หรืออาจจดั เปmน 7 แถว แถวละ 5 โต¡ะ หรอื

ตามความเหมาะสมของบรบิ ทหอV งเรยี นแต,ละหVอง โดยจดั ใหVมรี ะยะห,างระหวา, งโต¡ะ ประมาณ 1.2 เมตร
ตวั อย,างดงั ภาพ

ภาพ แสดงตวั อยา, งแผนผงั การจดั หVองเรียน

20

กจิ กรรมการเรียนการสอน
ในห้องเรยี นและหอ้ งคอมพวิ เตอร์

21

5. การจดั กิจกรรมในวิทยาลัย

มาตรการเฝา^ ระวังและปอ^ งกนั การแพรร, ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา (COVID-19) ดVานการจัด
กจิ กรรมในวทิ ยาลัย มีรายละเอียด ดังน้ี

5.1 นกั ศกึ ษา อาจารย) และบคุ ลากรทางการศึกษาทุกคนตอV งสวมหนาV กากอนามยั หรือหนVากากผาV
หรือ Face shield ในการเขVาร,วมกจิ กรรมของวทิ ยาลยั ทกุ ครัง้ อยา, งเครง, ครัด

5.2 การจดั กิจกรรมทุกกิจกรรมตVองมีการเวนV ระยะห,าง 1 - 2 เมตร
5.3 ทกุ วันทีม่ กี ารจัดกจิ กรรมเคารพธงชาติ จดั กิจกรรมทหี่ อประชุมทเี่ ปaดโลง, ตอV งจัดจุดยืนเวนV
ระยะหา, งตามมาตรการ ระยะหา, ง 1 - 2 เมตร
5.4 ใหนV ักศกึ ษา อาจารย) และบคุ ลากรทางการศกึ ษาทุกคนลาV งมอื ใหVสะอาดก,อนการทำกิจกรรมทกุ คร้งั
5.5 ในการจัดกจิ กรรมท่ีมคี วามจำเปmนตVองจัดในหอประชุม ใหแV บ,งการจดั กจิ กรรมเปmน 2-3 ครงั้
กลา, วคอื แบ,งเขVาทำกจิ กรรมในหอประชุมคนละชว, งเวลากัน
5.6 กิจกรรมการทำความสะอาดเขตพืน้ ที่ใหVนักศกึ ษาเชด็ ทำความสะอาดอุปกรณ) ทำความสะอาดเขต
พื้นท่ีทกุ ครงั้ หลงั ใชงV าน

ห่าง 1 - 2 เมตร

22

6. การรบั ประทานอาหาร

มาตรการเฝา^ ระวังและป^องกนั การแพรร, ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา
(COVID 19) ดาV นการรบั ประทานอาหารในโรงอาหารของวิทยาลยั
มีรายละเอยี ด ดงั น้ี

6.1 จดั ที่นง่ั เวVนระยะหา, งตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข ระยะหา, ง 1 - 2 เมตร
6.2 จัดใหมV ีทางเขาV - ออกโรงอาหาร 1 ทาง (ตรงปา^ ยโรงอาหาร) โดยปดa ทางเขาV ออกอื่น และมกี ารคดั
กรองตรวจวัดอณุ หภมู ิ และใหลV าV งมือท่อี ,างลาV งมอื หรอื ลVางมือโดยใชแV อลกอฮอล) เจลแอลกอฮอล) ก,อนไปเขVา
บริเวณโรงอาหาร
6.3 มีการกาํ หนดจดุ ระหว,างเขVาแถวรอซอ้ื อาหารใหมV รี ะยะห,างกัน และจดั ใหVมจี ดุ บรกิ ารแอลกอฮอล)
หรือเจลแอลกอฮอล)สําหรับลาV งมอื บริเวณหนาV ราV นอาหารทกุ รVาน
6.5 จัดเตรียมวสั ดุอุปกรณ) นำ้ ยาฆ,าเชอื้ และใหทV ำความสะอาดพ้ืนผิวทางเดิน โต¡ะอาหาร ที่นั่ง ท่ีลาV ง
จานทกุ วันอยา, งนVอยวนั ละ 3 ครง้ั และฉดี พ,นยาฆา, เชอื้ ในบริเวณโรงอาหาร สัปดาห)ละ 1 คร้ัง
6.6 กำชบั ใหผV ขVู ายคำนงึ ถงึ ความสะอาด และความสดใหม,ของอาหารทนี่ ำมาจำหน,าย และผVขู ายทุกคน
ตอV งปอ^ งกนั แพรร, ะบาดของโรคตามมาตรการอยา, งเครง, ครัด

หมายเหตุ ใหVนกั ศึกษาปฏิบัติตามขVอกําหนดในการรบั ประทานอาหารขาV งตนV ทง้ั ช,วงเชVาและช,วงพักกลางวนั

23

การรบั ประทานอาหาร
ในโรงอาหารวทิ ยาลยั ฯ

24

7. การใชห้ ้องสุขา

มาตรการเฝา^ ระวังและปอ^ งกนั การแพรร, ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19) ดาV นการใชVหVอง
สุขา มีรายละเอยี ด ดงั นี้

7.1 จัดใหVมสี บ,ูเหลวสาํ หรบั ลVางมอื บรเิ วณอ,างลาV งมอื หนVาหอV งสขุ า (โดยจะจัดใส,ขวด เปนm แบบกด) ดงั น้ี

สถานที่ จำนวน มจี ุดบรกิ าร

- หVองสวV มชาย/ทป่ี สM สาวะชายในอาคารเรยี น 36 หVอง/ 38 ที่ 5

- หVองสVวมหญิงในอาคารเรียน 36 หอV ง 5

- หอV งสVวมอาจารย/) เจVาหนาV ท่ใี นอาคารเรยี น 10 หVอง 10

- หอV งน้ำหญงิ /หVองสวV มหญงิ (รวม)ในหอพกั (แยกตามชั้น) 46 หอV ง / 40 หอV ง 10

- หอV งน้ำชาย/ หอV งสวV มชาย(รวม) นอกหอพกั 10 หอV ง/ 10 หVอง 2

- ที่ปMสสาวะชาย (รวม) นอกหอพัก 20 ที่ 1

7.2 มกี ารกำหนดจดุ ระหวา, งเขาV แถวรอเขาV ใชVหอV งสขุ าใหVมีการเวVนระยะห,างกนั อย,างนVอย 1 เมตร
นกั ศกึ ษาจะตอV งยนื เขVาแถวรอใชหV อV งสุขาตามจุดทก่ี ำหนดไวVเทา, นน้ั ไม,อนุญาตใหเV ขVาไปยืนรอหนVาประตหู อV งสุขา

7.3 การเขาV ใชหV อV งสขุ ากำหนดใหมV ีทางเขVา 1 ทาง และทางออก 1 ทาง ไม,อนญุ าตใหเV ดินเขาV - ออกสวน
ทางกัน

7.4 มกี ารทำความสะอาดลูกบิดและมอื ประตหู Vองสขุ าเปmนประจำทุกวัน
7.5 ลาV งทำความสะอาดหVองสุขาทุกวนั โดยใชนV ้ำยาฆา, เช้อื ทีส่ ามารถกำจัดเช้ือไวรัสโคโรนาไดV

25

8. การจัดการดูแลความสะอาดของอาคารสถานท่ี

มาตรการเฝา^ ระวงั และปอ^ งกันการแพร,ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา (COVID 19) ดVานการจดั การ
ดแู ลความสะอาดของอาคารสถานท่ี มรี ายละเอียด ดงั น้ี

8.1 วทิ ยาลัยจัดใหVมกี ารฉดี พ,นน้ำยาฆา, เชือ้ ทกุ สปั ดาห) หรอื อยา, งนVอยเดือนละ 2 ครงั้
8.2 จัดใหมV จี ดุ บริการแอลกอฮอล)หรอื เจลแอลกอฮอลส) ำหรบั ลVางมือ ใหVนกั ศกึ ษา อาจารย) และบคุ ลากร
ทางการศึกษา ทุกหVองเรียน หVองปฏบิ ตั กิ าร และหVองสำนักงาน โดยต้งั งบจัดทำแผนดำเนินการซอ้ื แอลกอฮอล)
หรือเจลลVางมอื เพอ่ื ใหใV ชVในการจัดกิจกรรมการเรยี นสอนซงึ่ เปmนการสอน ผลิตเจลแอลกอฮอลล) าV งมอื ขึ้นมาใชVใน
วทิ ยาลยั
8.3 ประชาสมั พนั ธใ) หนV กั ศึกษา อาจารย) และบุคลากร มีเจลแอลกอฮอล)ลาV งมอื และหนาV กากอนามยั ใชV
เปนm ของตนเองสว, นตัว หรือถVาไม,มเี จลแอลกอฮอล)ลVางมอื และหนVากากอนามัยสว, นตวั สามารถหาซื้อไดV
8.4 จัดใหมV สี บ,ูเหลวสำหรบั ลาV งมอื บริเวณอ,างลาV งมือหนาV หอV งสุขา และจุดสำคัญต,างๆ
8.5 ตัดแตง, ตVนไมVทป่ี กคลมุ อาคาร เพื่อใหVแสงแดดส,องถึงหอV งเรียน หVองปฏิบัตกิ าร หอV งสำนกั งาน ร,วม
ทัง้ ชว, ยใหอV ากาศสามารถถา, ยเทไดVสะดวก ในกรณหี อV งแอร)ใหมV กี ารระบายอากาศภายในหอV งต,างๆ ทกุ 2 ชัว่ โมง
8.6 บรกิ ารทำความสะอาดพื้นที่ทมี่ ีการใหบV ริการเปนm ประจำและมจี ำนวนผใVู ชVมากดวV ย น้ำยาฆ,าเชอื้ ทุก
วนั
8.7 เมือ่ สน้ิ สุดคาบเรยี นสุดทาV ยใหVนักศึกษา อาจารย) และบุคลากรทางการศกึ ษาทกุ คน ร,วมกันทำความ
สะอาดหอV งเรยี นทกุ วนั

26

9. การใชบ้ ริการห้องปฏิบัติการ และหอ้ งพิเศษต่าง ๆ

มาตรการเฝา^ ระวงั และป^องกนั การแพรร, ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา (COVID-19) ดาV นการใชV
บรกิ ารหอV งปฏิบตั ิการ และหอV งพิเศษตา, ง ๆ มรี ายละเอยี ด ดงั นี้

9.1 สวมหนVากากอนามัย หรอื หนVากากผVา หรือ Face shield กอ, นเขVาใชบV รกิ าร
9.2 มีการกำหนดจดุ ระหว,างเขาV แถวรอเขVาใชVบรกิ าร ใหVมีการเวนV ระยะหา, งกนั อย,างนVอย 1 เมตร
9.3. มีจดุ ใหVบรกิ ารแอลกอฮอล) หรือเจลแอลกอฮอล)สำหรบั ลVางมือกอ, นเขาV ใชVบริการ
9.4 ตรวจวดั อณุ หภูมริ ,างกายนกั ศึกษาก,อนเขVาใชVบริการ
9.5 ใหนV กั ศึกษานง่ั เรยี นตามจุดที่กำหนดไวV โดยจัดใหทV ี่น่งั แต,ละจดุ มรี ะยะห,างกนั ประมาณ 1 เมตร
9.6 หลงั เสร็จส้นิ การเรียนการสอนใหอV าจารย)และนักศึกษารว, มกันทำความสะอาดหVองเรยี น ทุกครั้ง
9.7 จดั หอV งปฏิบตั ิการใหมV ีอากาศถ,ายเทไดVสะดวก โดยการจัดหอV งปฏิบัติการและ การกำหนดจดุ ที่น่ัง
สำหรับนักศกึ ษาในการใชVบริการหอV งปฏิบัติการแตล, ะหVอง มลี กั ษณะตามตวั อยา, ง ดังนี้

ภาพ แสดงตวั อยา, งแผนผังการจดั หอV งปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร)

27

ภาพ แสดงตวั อย,างแผนผังการจดั หVองปฏบิ ัติการวิทยาศาสตร)
ภาพ แสดงตัวอยา, งแผนผงั การจดั หอV งคหกรรม

28

ภาพ แสดงตวั อยา, งแผนผังการจดั ที่นง่ั หVองพระพุทธศาสนา หอV งดนตรี หอV งนาฏศลิ ป¢
ภาพ แสดงตัวอยา, งแผนผังการจดั ที่น่งั หVองสมดุ

29

10. แนวปฎบิ ตั ิสําหรับวทิ ยาลยั ระหวา่ งเปดิ ภาคเรียน

ผู้ที่มีประวัติไข้หรือวัดอุณหภูมิกายได้ตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป ร่วมกับอาการทางเดิน
หายใจ อย่าง ใดอย่างหนึ่ง (มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส) และมีประวัติ
สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยยืนยัน ในช่วง 14 วันก่อนมีอาการ ถือว่าเป็นผู้สัมผัสความเสี่ยง (กลุ่มเสี่ยง) ต้องรีบ
แจ้งเจ้าหน้าทสี่ าธารณสขุ ดำเนินการต่อไป

2.10.1 หลกั ปฏิบตั ใิ นการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควดิ
19 ในวิทยาลัย

1) คดั กรอง (Screening) : ผูท้ ี่เข้ามาในวิทยาลัยทุกคน ต้องไดร้ ับการคัดกรองวัดอุณหภูมิ
2) สวมหนา้ กาก (Mask) รา่ งกาย
3) ลา้ งมอื (Hand Washing) : ทกุ คนต้องสวมหน้ากากผา้ หรือหน้ากากอนามัย ตลอดเวลา
ที่อยูใ่ นวทิ ยาลยั
4) เวน้ ระยะห่าง (Social : ล้างมอื บอ่ ย ๆ ด้วยสบู่เหลวและนำ้ นานอยา่ งนอ้ ย 20 วนิ าที
Distancing) หรอื ใช้เจลแอลกอฮอล์ หลีกเล่ยี งการสมั ผัสบริเวณจุดเสีย่ ง เชน่
5) ทำความสะอาด (Cleaning) ราวบนั ได ลูกบดิ ประตู เป็นต้น รวมท้ังไมใ่ ชม้ อื สมั ผัส ใบหน้า ตา
ปาก จมูก โดยไม่จำเปน็
6) ลดแออดั (Reducing) : เวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร รวมถึง
การจดั เว้นระยะห่างของสถานที่

: เปดิ ประตู หนา้ ตา่ ง ให้อากาศถา่ ยเท ทำความสะอาดหอ้ ง
เรยี น และบรเิ วณตา่ ง ๆ โดยเช็ดทำความสะอาดพืน้ ผวิ สัมผัส
ของโต๊ะ
เกา้ อ้ี และวัสดุอุปกรณ์ กอ่ นเขา้ เรียน ชว่ งพกั เทยี่ ง และหลงั เลิก
เรยี นทุกวัน รวมถึงจัดใหม้ ีถงั ขยะมลู ฝอยแบบมีฝาปิด
และรวบรวมขยะออกจากห้องเรยี น เพ่ือนำไปกำจดั ทุกวนั
: ลดระยะเวลาการทำกิจกรรมให้สนั้ ลงเท่าทีจ่ ำเป็นหรือเหล่ือม
เวลาทำกจิ กรรม และหลกี เล่ียงการทำกิจกรรมรวมตวั กันเปน็ กลุ่
มลดแออัด

30

2.10.2 แนวปฎิบตั ิสาํ หรบั ผ้บู รหิ ารวทิ ยาลยั

1) ประกาศนโยบายและแนว กรณ์ป้องกัน เช่น หน้ากากผ้าหรือหน้ากาก
ปฏิบัติการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด อนามัย เจลแอลกอฮอล์ อย่างเพียงพอ รวมถึง
19 ในวิทยาลัย เพิ่มช่องทางการสื่อสารระหว่างอาจารย์
นักศึกษา ผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
2) จัดตั้งคณะทำงานดำเนินการ ในกรณที ี่พบนักศึกษากล่มุ เสย่ี งหรือสงสัย
เฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด
19 และการควบคุมดูแล ประกอบด้วย อาจารย์ 7) ควรพิจารณาการจัดให้
นักศึกษา เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ท้องถิ่น ชุมชน นักศึกษาสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนที่มี
และผ้เู กี่ยวข้อง พรอ้ มบทบาทหน้าที่ คุณภาพเหมาะสมตามบริบทได้อย่างต่อเนื่อง
ตรวจสอบติดตาม กรณีนักศึกษาขาดเรียน ลาป่
3) ทบทวน ปรับปรุง ซ้อมปฏิบัติ วย การปิดวิทยาลัย การจัดให้มีการเรียน
ตามแผนฉุกเฉินของวิทยาลัยในภาวะที่มีการ ทางไกล สื่อออนไลน์ การติดต่อทางโทรศัพท์
ระบาดของโรคติดเชื้อ(Emergency operation Social media โดยติดตามเป็นรายวัน หรือ
for infectious disease outbreaks) สปั ดาห์

4) สื่อสารประชาสัมพันธ์การป้ 8) กรณีพบอาจารย์ นักศึกษา
องกันโรคโควิด 19 เกี่ยวกับนโยบาย มาตรการ บุคลากร หรือผู้ปกครองอยู่ในกลุ่มเสี่ยงหรือผู้ป่
แนวปฏิบัติ และการจัดการเรียนการสอนให้แก่ วยยืนยันเข้ามาในวิทยาลัยให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่
อาจารย์ นักศกึ ษา ผ้ปู กครอง และคณะกรรมการ สาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อดำเนินการสอบสวนโรค
วิทยาลัย ผ่านช่องทางสื่อที่เหมาะสม และ และพิจารณาปิดวิทยาลัย ตามแนวทางของ
ติดตามข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับโรคโควิด 19 กระทรวงสาธารณสุข
จากแหล่งขอ้ มูลท่เี ชื่อถือได้
9) ม ี ม า ต ร ก า ร ก า ร ด ู แ ล ใ ห ้
5) สื่อสารทำความเข้าใจเพื่อลด นักศึกษาได้รับอาหารเช้ากลางวันเย็น กรณี
การรังเกียจและลดการตีตราทางสังคม (Social พบอยู่ในกลมุ่ เส่ียงหรอื กักตัว
stigma) กรณีอาจพบบุคลากรในวิทยาลัย
นักศึกษา หรือผูป้ กครองตดิ เช้ือโรคโควิด 19 10) ควบคุม กำกับ ติดตาม และ
ตรวจสอบการดำเนินงานตามมาตรการป้องกัน
6) มีมาตรการคัดกรองสุขภาพ การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในวิทยาลัยอย่
ทุกคน บริเวณจุดแรกเข้าไปในวิทยาลัย (Point างเครง่ ครดั และต่อเนื่อง
of entry) ให้แก่ นักศึกษา อาจารย์ บุคลากร
และผู้มาติดต่อ และจัดให้มีพื้นที่แยกโรค อุป

31

2.10.3 แนวปฏบิ ตั สิ าํ หรับอาจารย์ ผ้ดู แู ลนักศึกษา

1) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค พื้นที่เสี่ยง คำแนะนำการป้อง
กันตนเอง และลดความเสีย่ งจากการแพรก่ ระจายของเชือ้ โรคโควิด 19 จากแหล่งข้อมลู ทีเ่ ชื่อถอื ได้

2) สังเกตอาการปว่ ยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีนำ้ มูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อย
หอบ ไม่ได้กลิ่นไม่รู้รส ให้หยุดปฏิบัติงาน และรีบไปพบแพทย์ทันที กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคโค
วิด 19 หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยงและอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอย่าง
เคร่งครดั

3) แจ้งนักศึกษาให้นำของใช้ส่วนตัวและอุปกรณ์ป้องกันมาใช้เป็นของตนเอง พร้อมใช้ เช่น
ชอ้ น สอ้ ม แกว้ น้ำ แปรงสฟี นั ยาสฟี นั ผ้าเชด็ หน้า หน้ากากผ้าหรอื หน้ากากอนามยั เป็นต้น

4) สื่อสารความรู้คำแนะนำหรือจัดหาสื่อประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและลดความเสี่ยง
จากการแพร่กระจายโรคโควิด 19 ให้แก่นักศึกษา เช่น สอนวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง การสวมหน้ากากผ้า
หรือหน้ากากอนามัย คำแนะนำการปฏิบัติตัว การเว้นระยะห่างทางสังคม การทำความสะอาด หลีกเลี่ยง
การทำกิจกรรมร่วมกันจำนวนมากเพอ่ื ลดความแออดั

5) ทำความสะอาดสื่อการเรียนการสอนหรืออุปกรณ์ของใช้ร่วมที่เป็นจุดสัมผัสเสี่ยงทุกคร้ัง
หลังใช้งาน

6) ควบคุมดูแลการจัดที่นั่งในห้องเรียน ระหว่างโต๊ะเรียน ที่นั่งในโรงอาหาร การจัดเว้นระ
ยะห่าง ระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร หรือเหลื่อมเวลาพักกินอาหารกลางวัน และกำกับให้
นกั ศึกษา สวมหนา้ กากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลา และลา้ งมอื บ่อย ๆ

7) ตรวจสอบ กำกับ ติดตามการมาเรียนของนักศึกษาขาดเรียน ถูกกักตัว หรืออยู่ในกลุ่
มเส่ียงตอ่ การ ติดโรคโควดิ 19 และรายงานต่อผ้บู ริหาร

8) ทำการตรวจคัดกรองสุขภาพทุกคนที่เข้ามาในวิทยาลัยในตอนเช้า ทั้งอาจารย์ นักศึกษา
บุคลากร และผู้มาติดต่อ โดยใช้เครื่องวัดอุณหภูมิร่างกาย พร้อมสังเกตอาการและสอบถามอาการของ
ระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส โดยติด
สัญลักษณ์สติ๊กเกอร์หรือตราปั๊ม แสดงให้เห็นชัดเจนว่าผ่านการคัดกรองแล้ว พร้อมบันทึกผลการตรวจคัด
กรอง

-กรณีพบนักศึกษาหรือผู้มีอาการมีไข้ อุณหภูมิร่างกายตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป ร่
วมกับอาการระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง จัดให้อยู่ในพื้นที่แยกส่วน พาไปพบแพทย์ตามความ
เหมาะสม ให้หยุดพักท่ีหอแยกจนกว่าจะหายเป็นปกติ พร้อมประเมินสถานการณ์และการสอบสวนโรค
และส่งต่อประวัติการป่วย พร้อมแจ้งผู้บริหารเพื่อพิจารณาการปิดวิทยาลัยตามมาตรการแนวทางของ
กระทรวงสาธารณสุข

-จัดอุปกรณ์การล้างมือ พร้อมใช้งานอย่างเพียงพอ เช่น เจลแอลกอฮอล์วางไว้บริเวณทาง
เขา้ สบลู่ า้ งมือบรเิ วณอ่างลา้ งมอื

32

9) กรณีอาจารย์สังเกตพบนักศึกษาที่มีปัญหาพฤติกรรม เช่น เด็กสมาธิสั้น เด็กที่มีความ
วิตกกังวลสูง อาจมีพฤติกรรมดูดนิ้วหรือกัดเล็บ อาจารย์สามารถติดตามอาการและนำเข้าข้อมูลที่สังเกต
พบในฐานข้อมูลด้านพฤติกรรมอารมณ์สังคมของนักศึกษา เพื่อให้เกิดการดูแลช่วยเหลือร่วมกับผู้เชี่ยว
ชาญด้านสขุ ภาพจติ ต่อไป

10) วิธีการปรับพฤติกรรมสำหรับนักศึกษาที่ไม่ร่วมมือปฏิบัติตามมาตรการที่อาจารย์กำหนด
ด้วยการแก้ปัญหาการเรียนรู้ใหม่ให้ถูกต้อง นั่นคือ “สร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์” หรือ “ลดพฤติกรรมท่ี
ไมพ่ ึงประสงค์”

11) อาจารย์สื่อสารความรู้เกี่ยวกับความเครียด ว่าเป็นปฏิกิริยาปกติที่เกิดขึ้นได้ในภาวะ
วิกฤติที่มีการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 และนำกระบวนการการจัดการความเครียด การฝึกสติให้
กลมกลืนและเหมาะสมกับนักศึกษาแต่ละวัย ร่วมกับการฝึกทักษะชีวิตที่เสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจ
(Resilience) ให้กบั นกั ศกึ ษา ไดแ้ ก่ ทักษะชีวิตด้านอารมณ์ สงั คม และความคิด เป็นตน้

12) อาจารย์สังเกตอารมณ์ความเครียดของตัวท่านเอง เนื่องจากภาระหน้าที่การดูแล
นักศึกษาจำนวนมาก และกำกับให้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการติดโรคโควิด-19 เป็นบทบาทสำคัญ
อาจจะสร้างความเครียด วิตกกังวล ทั้งจากการเฝ้าระวังนักศึกษา และการป้องกันตัวท่านเองจากการ
สมั ผัสกับเชือ้ โรค ดังนั้น เมอื่ อาจารย์มีความเครยี ด จากสาเหตตุ ่าง ๆ มขี อ้ เสนอแนะ ดงั น้ี

- ความสับสนมาตรการของวิทยาลัยที่ไม่กระจ่างชัดเจน แนะนำให้สอบทานกับผู้บริหาร
หรอื เพอื่ นรว่ มงาน หรอื ผู้รับผดิ ชอบโครงการโดยตรง เพือ่ ให้เข้าใจบทบาทหนา้ ทแี่ ละข้อปฏบิ ัติทต่ี รงกัน

- ความวิตกกังวล กลัวการติดเชื้อในวิทยาลัย พูดคุยสื่อสารถึงความไม่สบายใจ ร้องขอ
สิ่งจำเป็นสำหรับการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อการป้องกันการติดโรคโควิด-19 เช่น สถานที่สื่อการสอน
กระบวนการเรียนรู้ การส่งงานหรือตรวจการบ้าน เป็นต้น หากท่านเป็นกลุ่มเสี่ยง มีโรคประจำตัวสามารถ
เข้าส่แู นวทางดแู ลบุคลากรของวทิ ยาลยั

-จัดให้มีการจัดการความเครียด การฝึกสติ เป็นกิจวัตรก่อนเริ่มการเรียนการสอนเพื่อลด
ความวติ กกังวลตอ่ สถานการณท์ ่ีตงึ เครยี ด

33

2.10.4 แนวปฏิบัตสิ าํ หรบั นักศกึ ษา
1) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค พื้นที่เสี่ยง คำแนะนำการ

ป้องกนั ตนเอง และลดความเส่ียงจากแพร่กระจายของโรคโควดิ -19 จากแหลง่ ข้อมลู ที่เชอื่ ถอื ได้
2) ให้สงั เกตอาการปว่ ยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีนำ้ มกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก

เหนอื ยหอบ ไม่ได้กลน่ิ ไมร่ ้รู ส ให้รบี แจ้งอาจารย์เวร หรืออาจารยพ์ ยาบาลเพื่อพาไปพบแพทย์ ควรแยก
กักกันตวั ไมอ่ ยู่ปนกบั คนอื่น ใหพ้ ักผ่อนอยทู่ ่บี ้านจนกวา่ จะหายเป็นปกติ กรณีมคี นในครอบครวั ปว่ ยด้วยโรค
โควิด-19 หรือกลับจากพนื้ ทเ่ี สียง อยูใ่ นช่วงกักตัว ให้ปฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำของเจ้าหน้าทสี่ าธารณสุขอยา่ ง
เครง่ ครัด

3) มีและใช้ของใช้ส่วนตวั ไม่ใชร้ ่วมกบั ผู้อื่น เชน่ ช้อน สอ้ ม แก้วนำ้ แปรงสฟี นั ยาสีฟัน
ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเชด็ ตวั หน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามยั และทำความสะอาดหรอื เกบ็ ให้เรยี บร้อย ทุกครงั้
หลงั ใช้งาน

4) กรณีนกั ศึกษาดมื่ นำ้ บรรจุขวด ควรแยกเฉพาะตนเอง และทำเคร่อื งหมายหรอื
สัญลักษณ์เฉพาะไม่ให้ไปปะปนกับของคนอน่ื

5) หมั่นลา้ งมอื บ่อยๆ ดว้ ยวธิ ีล้างมือ 7 ขัน้ ตอน อยา่ งน้อย 20 วนิ าที ก่อนกินอาหาร หลงั
ใชส้ ้วม หลีกเลีย่ งใช้มือสมั ผสั ใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไมจ่ ำเป็น รวมถงึ สรา้ งสขุ นสิ ยั ทดี่ หี ลงั เลน่ กบั เพ่อื น
เม่อื กลับเขา้ หอพัก ต้องรีบอาบนำ้ และเปล่ียนเสื้อผ้าใหมท่ นั ที

6) เวน้ ระยะหา่ งระหว่างบคุ คล อย่างน้อย 1-2 เมตร ในการทำกจิ กรรมระหว่างเรยี น ชว่ ง
พัก และหลังเลิกเรยี น เชน่ น่ังกินอาหาร เลน่ กับเพอ่ื น เขา้ แถวตอ่ ควิ ระหวา่ งเดนิ ทางอยู่บนรถ

7) สวมหนา้ กากผ้าหรอื หนา้ กากอนามัยตลอดเวลาท่ีอยใู่ นวทิ ยาลยั
8) หลีกเลี่ยงการไปในสถานที่ท่ีแออัดหรือแหลง่ ชมุ ชนทเี่ สย่ี งต่อการติดโรคโควิด-19
9) ดูแลสุขภาพใหแ้ ข็งแรง ด้วยการกินอาหารปรงุ สกุ ร้อน สะอาด อาหารครบ 5 หมู่
และผกั ผลไม้ 5 สี เสรมิ สร้างภมู ิคมุ้ กนั ควรเสรมิ อาหารเชา้ หรือจัดเตรยี มอาหารกลอ่ ง Box set
รวมทั้งออกกำลงั กาย อย่างน้อย 60 นาที ทุกวัน และนอนหลบั อย่างเพียงพอ 6-8 ชัว่ โมงตอ่ วนั
10) กรณนี ักศกึ ษาขาดเรียนหรือถกู กักตัวควรติดตามความคืบหนา้ การเรียนอย่างสม่ำเสมอ
ปรึกษาอาจารย์ เช่น การเรยี นการสอนสื่อออนไลน์ อา่ นหนงั สือทบทวนบทเรยี น และทำแบบฝกึ หดั ที่บา้ น
11) หลกี เลย่ี งการล้อเลียนความผดิ ปกตหิ รืออาการไม่สบายของเพอ่ื น เนอื่ งจากอาจ
กอ่ ใหเ้ กิดความหวาดกลัวมากเกนิ ไปตอ่ การป่วยหรือการตดิ โรคโควดิ -19 และเกิดการแบ่งแยกกดี กันในหมู่
นักศกึ ษา

34

บทบาทหนา้ ทขี่ องนักศึกษาแกนนาํ ด้านสขุ ภาพ

นักศึกษาที่มีจิตอาสามาเป็นอาสาสมัครช่วยดูแลสุขภาพเพื่อนนักศึกษาด้วยกัน
หรือดูแลรุ่นน้องด้วย จะมีบทบาทหน้าที่เกี่ยวกับการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ
เช่น โรคโควิด-19 โรคไข้เลือดออก โรคชิกุนคุนยา โรคติดต่อทั่วไป โรคอุบัติใหม่/โรคอุบัติซ้ำ
รวมถงึ การดแู ลและจดั การดา้ นสาธารณสขุ และสขุ ภาพ ดงั น้ี

1) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค พื้นที่เสี่ยง
คำแนะนำการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากแพร่กระจายของโรคโควิด-19 จาก
แหล่งข้อมูลทีเ่ ชอื่ ถอื ได้

2) ช่วยอาจารย์ตรวจคัดกรองวัดอุณหภูมิร่างกายของนักศึกษาทุกคนในตอนเช้า
โดยมีอาจารย์ดูแลให้คำแนะนำอย่างใกล้ชิด เน้นการจัดเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย
1 – 2 เมตร

3) ตรวจดูความเรียบร้อยของนักศึกษาทุกคนที่เข้าเรียน ต้องสวมหน้ากากผ้า
หรือหน้ากากอนามัย หากพบนักศึกษาไม่ได้สวมให้แจ้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบ เพื่อจัดหาหน้ากาก
ผ้าหรือหน้ากากอนามัยสำรองให้

4) เฝ้าระวังสังเกตุอาการของนักศึกษา หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ
หานักยใจลำบาก เหน่ือยหอบ ไม่ไดก้ ลิ่น ไม่ร้รู ส ให้รีบแจ้งอาจารยท์ ันที

5) จัดกิจกรรมสื่อสารให้ความรู้คำแนะนำการป้องกันและลดความเสี่ยงจากการ
แพร่กระจายโรคโควิด-19 แก่เพื่อนนักศึกษา เช่น สอนวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง การทำหน้ากาก
ผ้า การสวมหน้ากาก การถอดหน้ากากผ้ากรณีเก็บไว้ใช้ต่อ การทำความสะอาดหน้ากากผ้า
การเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คล จดั ทำปา้ ยแนะนำตา่ งๆ

6) ตรวจอุปกรณ์ของใช้ส่วนตัวของเพื่อนนักศึกษาและรุ่นน้องให้พร้อมใช้งาน เน้น
ไม่ใช้ร่วมกับผู้อื่น เช่น จาน ชาม ช้อน ส้อม แก้วน้ำ แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดตัว
ผ้าเชด็ มือของตนเอง

7) จัดเวรทำความสะอาดห้องเรียน ห้องเรียนร่วม และบริเวณจุดสัมผัสเสี่ยงทุกวัน เช่น
ลูกบดิ ประตู กลอน ประตู ราวบนั ได โตะ๊ เกา้ อี้ คอมพิวเตอร์ อปุ กรณ์กฬี า เครอื่ งดนตรี

8) เป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคโควิด-19 ด้วยการสวมหน้ากากผ้าหรือ
หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ กินอาหารใช้จาน ช้อน ส้อม แก้วน้ำของตนเอง การเว้นระยะห่าง เป็นต้น
โดยถือปฏิบัติเป็นสขุ นิสัยกิจวตั รประจำวันอย่างสม่ำเสมอ

35

2.10.5 แนวปฏบิ ัติสาํ หรับผปู้ กครอง
1) ตดิ ตามขอ้ มูลขา่ วสารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในพน้ื ท่ีเสี่ยง

คำแนะนำการป้องกนั ตนเองและลดความเสี่ยงจากการแพรก่ ระจายของโรค จากแหลง่ ข้อมลู ทเี่ ชื่อถอื ได้
2) หากนกั ศกึ ษากลบั ไปอย่บู า้ น ใหส้ ังเกตอาการปว่ ยของบุตรหลาน หากมีอาการไข้ ไอ มี

นำ้ มูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนอื ยหอบ ไมไ่ ด้กลิ่น ไม่รรู้ ส ใหร้ ีบพาไปพบแพทย์ ควรแยกกกั กันตัวไมไ่ ป
เล่นกบั คนอนื่ ใหพ้ กั ผ่อนอยู่ทีบ่ ้านจนกว่าจะหายเปน็ ปกติ กรณีมีคนในครอบครวั ปว่ ยดว้ ยโรคโควิด-19 หรอื
กลบั จากพน้ื ทีเ่ สียง อยใู่ นชว่ งกกั ตัวให้ปฏบิ ัตติ ามคำแนะนำของเจา้ หน้าท่ีสาธารณสุขอย่างเครง่ ครัด

3) หากนกั ศกึ ษากลบั ไปอยู่บา้ น จัดหาสบหู่ รอื เจลแอลกอฮอล์ และกำกบั ดูแลบตุ รหลานให้
ลา้ งมอื บอ่ ยๆ กอ่ นกนิ อาหาร หลงั ใช้ส้วมหลีกเลียงการช่ือสมั ผสั ใบหนา้ ตา ปาก จมูก โดยไมจำเปน็ และ
สรา้ งสขุ นสิ ัยทด่ี ี หลังทำกิจกรรมกับเพอ่ื น และเมอื่ กลับบา้ นมาถงึ บา้ นควรอาบนำ้ สระผม และเปลยี่ นชดุ
เสอ้ื ผา้ ใหมท่ ันที

4) หลีกเลย่ี งการพาไปในสถานทีเ่ สยี่ งตอ่ การติดโรคตดิ โควดิ -19 สถานทแ่ี ออัดทม่ี กี าร
รวมกันของคนจำนวนมาก หากจำเป็น ต้องสวมหนา้ กากผา้ หรอื หน้ากากอนามยั ลา้ งมอื บ่อยๆ 7 ขนั้ ตอน
ด้วยสบูแ่ ละนำ้ นาน 20 วินาที (ให้ร้องเพลงแฮปป้ีเบริ ์ทเดย์ 2 คร้งั พร้อมกบั ล้างมอื ) หรือใชเ้ จล
แอลกอฮอล์

5) กรณมี กี ารจดั การเรยี นการสอนทางไกล ออนไลน์ ผ้ปู กครองควรให้ความรว่ มอื กับ
อาจารยใ์ นการดูแลนกั ศึกษา ให้หม่ันล้างมอื บ่อยๆ ดว้ ยวิธลี ้างมอื 7 ขั้นตอน อย่างนอ้ ย 20 วินาที ก่อนกิน
อาหาร หลงั ใช้สว้ ม หลกี เลยี่ งใช้มือสมั ผัสใบหนา้ ตา ปาก

36

2.10.6 แนวปฏบิ ตั ิสําหรบั หอพักนักศึกษา
1) ให้มีการตรวจคัดกรองวัดอุณหภูมิร่างกายของนักศึกษาทุกคนก่อนเข้าหอพัก และ

สังเกตอาการเสี่ยง หากพบผู้มีอาการเสี่ยงต้องรีบแจ้งอาจารย์หรือผู้ดูแลหอพัก อาจารย์พยาบาลที่ดูแล
นกั ศึกษา และแจง้ ประสานเจา้ หน้าท่ีสาธารณสุขดำเนนิ การตอ่ ไป

2) จัดให้มีที่ล้างมือพร้อมสบู่และน้ำ หรือเจลแอลกอฮอล์สำหรับทำความสะอาดมือไว้
บริการในบริเวณต่าง ๆ อย่างเพียงพอ เช่น บริเวณทางเข้าออกอาคาร หน้าลิฟท์ ห้องนั่งเล่นส่วนกลาง เป็
นตน้

3) ให้มีการทำความสะอาดในพื้นที่ต่างๆ โดยเน้นจุดที่มีผู้สัมผัสร่วมกันเป็นประจำ อย่างน้
อยวันละ 2 ครั้ง และอาจเพิ่มความถี่มากขึ้น หากมีผู้ใช้งานจำนวนมาก ด้วยน้ำยาทำความสะอาดและ
อาจฆา่ เชอ้ื ด้วยแอลกอฮอล์ 70% หรือโซเดยี มไฮโปคลอไรท์ (นำ้ ยาฟอกขาว) 0.1% ในพ้นื ท่ี ดังน้ี

- บริเวณพื้นที่ส่วนกลาง พื้นผิวสัมผัส อุปกรณ์ เครื่องใช้ เช่น เคาวน์เตอร์ ราวบันได ที่
จับประตู ปุ่มกดลิฟท์ จุดประชาสัมพันธ์ โต๊ะ ที่นั่ง สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ เช่น เครื่องซักผ้าหยอด
เหรียญ โดยเน้นจุดท่ีมผี ้สู ัมผสั รว่ ม เช่น ป่มุ กดรายการ ฝาช่องรับสนิ คา้

- ห้องส้วมส่วนกลาง เน้นบริเวณจุดเสี่ยง ได้แก่ กลอนหรือลูกบิดประตู ก๊อกน้ำ อ่างล้า
งมือ ทีร่ องนงั่ โถส้วม ทีก่ ดโถสว้ มหรือโถปสั สาวะ สายฉดี นำ้ ชำระ และพน้ื ห้องส้วม

4) ควรกำหนดมาตรการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร และลด
ความแออัดในบริเวณพื้นที่ต่าง ๆ เช่น การจัดระยะห่างของเตียงนอน ชั้นวางของใช้ส่วนตัว จำกัดจำนวน
คนในการใช้ลิฟท์ จัดทำสัญลกั ษณ์แสดงจุดตำแหน่งชัดเจนทมี่ กี ารรอ เปน็ ต้น

5) จัดให้มีการระบายอากาศที่เหมาะสม ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง
หลีกเลี่ยงการใช้เครื่องปรับอากาศ หากจำเป็นต้องใช้เครื่องปรับอากาศ ควรตรวจสอบประสิทธิภาพของ
เครื่องปรับอากาศให้อยู่ในสภาพดี กำหนดเวลาเปิด-ปิดเครื่องปรับอากาศ และเปิดประตู หน้าต่างระบาย
อากาศ และต้องทำความสะอาดอยา่ งสมำ่ เสมอ

6) กำหนดแนวทางปฏิบตั ิสำหรบั ผพู้ ักในหอพกั เชน่
- ให้ผู้ที่พักในหอพัก ประเมินตนเองก่อน หากพบว่ามีไข้ ไอ จาม มีน้ำมูก หรือเหนื่อย

หอบ หรือมีอุณหภูมิร่างกายเท่ากับหรือมากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส ขึ้นไป หรือมีอาการระบบทางเดิน
หายใจ ใหร้ ายงานอาจารยพ์ ยาบาล หรอื ผูร้ ับผิดชอบโครงการ เพ่ือเข้าสรู่ ะบบการดูแลของโรงพยาบาลต่
อไป

- ให้มีการดูแลตนเอง โดยการสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย เว้นระยะห่างระหว่
างบคุ คล 1 - 2 เมตร หลกี เล่ียงการพูดคยุ ในระยะใกลช้ ิด และไม่ใช้สง่ิ ของเครื่องใชส้ ่วนตวั ร่วมกับผู้อืน่ (เช่
น ผ้าเช็ดตัว ช้อน จาน ชาม แก้วน้ำ เป็นต้น) ล้างมือด้วยสบู่และน้ำสะอาด หรือด้วยเจลแอลกอฮอล์อย่าง
สม่ำเสมอ (เช่น ทุกครั้งก่อนและหลังรับประทานอาหาร หลังการทำความสะอาดห้องพัก หลังการใช้ส้วม
เป็นต้น) หลีกเลี่ยงการสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จำเป็น ดูแลสุขภาพให้แข็งแรง และดูแลรักษา
สขุ อนามยั ส่วนบุคคล

37

- ดแู ลภายในห้องพกั ให้สะอาด และทำความสะอาดบริเวณทต่ี ้องสมั ผัสบอ่ ย เชน่ ลูกบดิ
หรือกลอนประตู โต๊ะ เก้าอี้ ควรเปิดประตู หน้าต่างห้องพัก เป็นประจำทุกวัน เพื่อระบายอากาศ หากมี
การใช้เครื่องปรับอากาศ ให้มีการทำความสะอาดอย่างสม่าเสมอ รวมทั้ง คัดแยกขยะ รวบรวมใส่ถุงขยะ
มดั ปากถงุ ให้แนน่ และนำไปทิง้ ตามเงอ่ื นไขทห่ี อพกั กาหนด ก่อนนำไปกำจัดอยา่ งถูกต้อง

7) ภาชนะบรรจุน้ำดื่ม เช่น ถังน้ำ เหยือกน้ำ คูลเลอร์ ต้องสะอาด มีฝาปิด ควรมีทางเท
รนิ หรือก๊อกนำ้ ไม่ควรใช้การจ้วงตกั โดยตรง และต้องล้างทำความสะอาดด้วยน้ำยาล้างภาชนะ ภายในและ
ภายนอกทกุ วัน

8) มีมาตรการกำกับดูแลพนักงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น แม่บ้าน พนักงานทำความสะอาด
โดยหากพบว่า มีไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ เหนื่อยหอบ ให้หยุดงานและแนะนำให้พบแพทย์ ให้สวมหน้ากากผ้
าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่อยู่ในอาคาร ล้างมือด้วยสบู่และน้ำหรือเจลแอลกอฮอล์บ่อย ๆ และต้
องเว้นระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างน้อย 1 - 2 เมตร หากรับผิดชอบด้านการทำความสะอาด ให้สวมถุง
มือ ผ้ากันเปื้อน รองเท้าพื้นยางหุ้มแข้ง ใช้ที่คีบด้ามยาวเก็บขยะใส่ถุงมัดปากถุงให้มิดชิดนำไปรวบรวมไว้ที่
พักขยะ เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน ให้ล้างมือให้สะอาด เมื่อปฏิบัติงานเสร็จในแต่ละวัน หากเป็นไปได้ควร
อาบน้ำและเปลี่ยนเสือ้ ผ้าทันที

9) หากมีบริการอื่นๆ ภายในหอพัก เช่น ร้านอาหาร ร้านเครื่องดื่ม สถานที่รับประทาน
อาหาร รา้ นเสริมสวย หรอื และกจิ การอื่นๆ ใหป้ ฏิบตั ิตามแนวทางปฏิบัตใิ นดา้ นนั้นๆ

10) มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารความรู้โรคโควิด 19 เกี่ยวกับอาการของโรค
คำแนะนำการปฏิบัติตนเพื่อลดการเสี่ยงต่อโรค เช่น เสียงตามสาย ติดป้ายประชาสัมพันธ์ตามจุดต่าง ๆ
ไลน์กลุม่ หอพกั

11) กำกับดูแลตรวจสอบการปฏิบัติตนให้เป็นสุขนิสัยกิจวัตร โดยจัดให้มีจิตอาสา
ควบคุมดูแลทุกวัน คู่มือการปฏิบัติสำหรับวิทยาลัยในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 หาก
พบผู้ป่วยยืนยันหรือมีข้อมูล บ่งชี้ว่า หอพักอาจเป็นจุดแพร่เชื้อได้ ให้ผู้รับผิดชอบร่วมมือกับเจ้าพนักงาน
ควบคมุ โรคติดตอ่ ในการดาเนินการต่างๆ เช่น การสอบสวนโรค การทาความสะอาดพืน้ ทต่ี า่ ง ๆ เป็นต้น

13) มาตรการอื่นๆ นอกจากนี้ ให้เป็นไปตามระเบียบของหอพักและให้มีลักษณะเพื่อป้อง
กันการแพร่เชื้อและสามารถติดตามสอบสวนโรคได้ เช่น กิจกรรมการรวมตัวสังสรรค์ การกาหนดให้
บุคคลภายนอกเข้าพัก หรือผู้มาติดต่ออื่น ๆ มีการลงทะเบียน เพื่อการติดตาม ตรวจสอบกรณีพบผู้ป่วยที่
เกี่ยวขอ้ งกับหอพกั

38

2.10.7 แนวปฏิบัติสําหรับห้องเรียน ห้องเรียนรวม ห้อง
คอมพิวเตอร์ หอ้ งดนตรี

1) จัดโต๊ะ เก้าอี้ หรือที่นั่ง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร
ควรคํานึงถึงสภาพบริบทและขนาดพื้นที่ และจัดทําสัญลักษณ์แสดงจุดตําแหน่งชัดเจน กรณีห้องเรียนไม่
เพียงพอในการจัด เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล ควรจัดให้มีการสลับวันเรียนแต่ละชั้นเรียน การแบ่งจํานวน
นักศึกษา หรือการใช้ พื้นที่ใช้สอยบริเวณวิทยาลัย ตามความเหมาะสม ทั้งนี้อาจพิจารณาวิธีปฏิบัติอื่นตาม
บรบิ ทความเหมาะสม โดยยึดหลกั Social distancing

2) จัดให้มีการเหลื่อมเวลาเรียน การเรียนกลุ่มย่อย หรือวิธีปฏิบัติที่เหมาะสมตามบริบท
สถานการณ์ และเน้นใหน้ ักศึกษา สวมหน้ากากผา้ หรอื หน้ากากอนามัยขณะเรียนตลอดเวลา

3) จัดให้มีการระบายอากาศที่ดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง หลีกเลี่ยงการ
ใช้ เครื่องปรับอากาศ หากจําเป็นต้องใช้เครื่องปรับอากาศ กําหนดเวลาเปิด – ปิดเครื่องปรับอากาศ เปิ
ดประต หนา้ ต่าง ระบายอากาศ ทกุ 1 ชั่วโมง และทาํ ความสะอาดอย่างสม่าํ เสมอ

4) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทําความสะอาดมือสําหรับนักศึกษาและอาจารย์ ใช้ประจํา
ทกุ ห้องเรียนอยา่ งเพียงพอ

5) ให้มีการทําความสะอาดโต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์ และจุดสัมผัสเสี่ยง เช่น ลูกบิดประตู
เครื่องเล่นของใช้ร่วมทุกวัน อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง เช้าก่อนเรียนและพักเที่ยง หรือกรณีมีการย้ายห้อง
เรยี น ต้องทําความสะอาดโตะ๊ เก้าอ้ี กอ่ นและหลงั ใชง้ านทกุ คร้งั

39

2.10.8 แนวปฏิบตั สิ าํ หรับห้องสมุด
1) จัดโต๊ะ เก้าอี้ หรือที่นั่ง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร

และจดั ทําสญั ลกั ษณ์ แสดงจุดตําแหน่งชดั เจน
2) จัดให้มีการระบายอากาศที่ดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง หากจําเป็นต้

องใช้ เครื่องปรับอากาศ กําหนดเวลาเปิด - ปิดเครื่องปรับอากาศ เปิดประตู หน้าต่าง ระบายอากาศ ทุก
1 ชั่วโมง และทาํ ความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ

3) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทําความสะอาดมือสําหรับอาจารย์ บรรณารักษ์ นักศึกษา
และผ้ใู ชบ้ ริการ บรเิ วณทางเขา้ ดา้ นหนา้ และภายในห้องสมุดอยา่ งเพียงพอ

4) ให้มีการทําความสะอาดโต๊ะ เก้าอ้ี อปุ กรณ์ และจดุ สัมผัสเสีย่ ง เช่น ลูกบดิ ประตู ช้ันวาง
หนังสือทกุ วัน ๆ ละ 2 คร้ัง (เช้าก่อนใหบ้ ริการ พักเท่ยี ง)

5) การจํากัดจํานวนคนจํากัดเวลาในการเข้าใช้บริการห้องสมุด และให้นักศึกษาและผู้ใช้
บรกิ ารทุกคน สวมหนา้ กากผา้ หรือหนา้ กากอนามยั ขณะใช้บริการหอ้ งสมุดตลอดเวลา

40

2.10.9 แนวปฏิบัติสาํ หรบั หอ้ งประชมุ หอประชมุ
1) จัดให้มีการคัดกรองตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายก่อนเข้าห้องประชุม หอประชุม หากพบผู้มี

อาการไข้ ไอ มีน้ำ เจ็บคอ หายใจลําบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส แจ้งงดร่วมประชุมและแนะนําให้
ไปพบแพทยท์ นั ที

2) จัดโต๊ะ เก้าอ้ี หรือที่นั่ง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล 1 - 2 เมตร และจัดทํา
สัญลกั ษณแ์ สดง จดุ ตาํ แหนง่ ชดั เจน

3) ผเู้ ขา้ ประชมุ ทุกคนสวมหนา้ กากผ้าหรือหนา้ กากอนามัยขณะประชมุ ตลอดเวลา
4) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทําความสะอาดมือสําหรับผู้เข้าประชุม บริเวณทางเข้าภายใน
อาคาร หอประชุม บรเิ วณทางเข้าด้านหน้าและดา้ นในของห้องประชุม อยา่ งเพียงพอและทั่วถงึ
5) งดหรือหลีกเล่ียงการใหบ้ ริการอาหารและเคร่อื งดื่มภายในห้องประชมุ
6) ให้มีการทําความสะอาดโต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์ และจุดสัมผัสเสี่ยงร่วม เช่น ลูกบิดประตู
รโี มท อปุ กรณส์ ่อื ก่อนและหลังใชห้ ้องประชมุ ทกุ ครัง้
7) จัดให้มีการระบายอากาศที่ดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง ก่อนและ
หลังใช้ห้องประชุม ทุกครั้ง หากจําเป็นต้องใช้เครื่องปรับอากาศ กําหนดเวลาเปิด - ปิดเครื่องปรับอากาศ
เปดิ ประตู หน้าต่าง ระบายอากาศ ทุก 1 ชวั่ โมง และทําความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ

41

2.10.10 แนวปฏิบตั ิสาํ หรบั โรงยมิ สนามกฬี า
1) จัดพื้นที่ทํากิจกรรมและเล่นกีฬา ลดความแออัด อาจจัดให้เล่นกีฬาเป็นรอบ หรือให้มี

การเว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคลอย่างนอ้ ย 1 - 2 เมตร
2) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทําความสะอาดมือสําหรับนักกีฬาและผู้มาใช้บริการ บริเวณ

ทางเข้าและ บริเวณดา้ นในอาคารอยา่ งเพียงพอและทั่วถึง
3) ทําความสะอาดอุปกรณแ์ ละเคร่ืองเล่นแต่ละชนดิ ก่อนหรอื หลังเล่นทุกวัน อยา่ งนอ้ ยวัน

ละ 1 ครั้ง
4) จัดใหม้ ีการระบายอากาศ ให้อากาศถ่ายเท เชน่ เปิดประตู หนา้ ตา่ ง เปิดพัดลม
5) จํากัดจํานวนคนจํานวนเวลาในการเล่นกีฬาหรือกิจกรรมภายในอาคารโรงยิมหรือสนาม

กีฬา
6) หลีกเลี่ยงการจัดกิจกรรมหรือเล่นกีฬาประเภทแข่งขันเป็นทีมหรือมีการปะทะกันอย่าง

รุนแรง เช่น วอลเลย์บอล ฟตุ บอล ฟตุ ซอล บาสเกตบอล เปน็ ตน้

2.10.11 แนวปฏิบัตสิ าํ หรบั หอ้ งสว้ ม
1) จดั เตรยี มอปุ กรณ์ท้าความสะอาดอย่างเพียงพอ ได้แก่ น้ำยาท้าความสะอาดหรือน้ายา

ฟอกขาว อุปกรณ์การตวง ถุงขยะ ถังน้า ไม้ถูพื้น คีบด้ามยาวส้าหรับเก็บขยะ ผ้าเช็ดท้าความสะอาด และ
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน เช่น ถุงมือ หน้ากากผ้า เสื้อผ้าที่จะน้ามา
เปล่ยี นหลังท้าความสะอาด

2) การท้าความสะอาดห้องน้า ห้องส้วม อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ด้วยน้ายาท้าความ
สะอาดทั่วไป พื้นห้องส้วม ให้ฆ่าเชื้อโดยใช้ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อที่มีส่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์ (รู้จักกัน
ในชื่อ “น้ำยาฟอกขาว”) โดยน้ามาผสมกับน้ำ เพื่อให้ได้ความเข้มข้น 0.1% หรือ 1000 ส่วนในล้านส่วน
หรือผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อที่มีส่วนผสมของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ โดยน้ำมาผสมกับน้า เพื่อให้ได้ความเข้มข้น
0.5% หรือ 5000 ส่วน ในล้านส่วน ราดน้ายาฆ่าเชื้อ ทิ้งไว้อย่างน้อย 10 นาที เน้นเช็ดบริเวณที่รองนั่ง
โถส้วม ฝาปิดโถส้วม ที่กดชักโครก สายช้าระ ราวจับ ลูกบิดหรือกลอนประตู ที่แขวนกระดาษช้าระ อ่างล้
างมือ ขันน้ำ ก๊อกน้ำ ที่วางสบู่ ผนัง ซอกประตู ด้วยผ้าชุบน้ำยาฟอกขาว หรือใช้แอลกอฮอล์ 70% หรือ
ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ 0.5%

3) หลังท้าความสะอาด ควรซักผ้าเช็ดท้าความสะอาดและไม้ถูพื้น ด้วยน้าผสมผงซักฟอก
หรอื นา้ ยาฆา่ เช้ือ แลว้ ซักดว้ ยน้าสะอาดอกี ครัง้ และนา้ ไปผงึ่ แดดให้แหง้

42

2.10.12 แนวปฏิบัตสิ าํ หรบั หอ้ งพกั อาจารย/์ หอ้ งทํางาน
1) จัดโต๊ะ เก้าอี้ หรือที่นั่ง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร

ควรคํานึงถึงสภาพบริบทและขนาดพื้นที่ อาจพิจารณาใช้ฉากกั้นบนโต๊ะเรียน และจัดทําสัญลักษณ์แสดงจุด
ตาํ แหน่งชดั เจน โดยถือปฏิบตั ติ ามหลัก Social distancing อยา่ งเคร่งครัด

2) ให้อาจารย์สวมหน้ากากผา้ หรอื หนา้ กากอนามัยตลอดเวลาทีอ่ ย่ใู นวิทยาลยั
3) จัดให้มีการระบายอากาศที่ดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง หลีกเลี่ยงการ
ใช้เครื่องปรับอากาศ หากจําเป็นต้องใช้เครื่องปรับอากาศ กําหนดเวลาเปิด – ปิดเครื่องปรับอากาศ เปิดป
ระตู หน้าต่าง ระบายอากาศ ทุก 1 ชว่ั โมง และทาํ ความสะอาดอยา่ งสมํา่ เสมอ
4) ให้มีการทําความสะอาดโต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์ และจุดสัมผัสเสี่ยง เช่น ลูกบิดประตู อุป
กรณ์ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ เปน็ ตน้ เปน็ ประจาํ ทกุ วัน อยา่ งน้อยวันละ 2 คร้ัง
5) จัดเตรียมเจลแอลกอฮอล์ใช้ทําความสะอาดมือสําหรับอาจารย์และผู้มาติดต่อ บริเวณ
ทางเขา้ ดา้ นหน้าประตู และภายในห้องอยา่ งเพยี งพอและท่ัวถึง

2.10.13 แนวปฏบิ ตั ิสําหรับห้องพยาบาล
1) จัดหาอาจารย์หรือเจ้าหน้าที่ เพื่อดูแลนักศึกษา ในกรณีที่มีนักศึกษาปุวยมานอนพักรอผู้

ปกครองมารับ
2) จัดให้มีพื้นที่หรือห้องแยกอย่างชัดเจน ระหว่างนักศึกษาปุวยจากอาการไข้หวัดกับ

นกั ศึกษาปว่ ยจากสาเหตุอืน่ ๆ เพือ่ ปอู งกนั การแพร่กระจายเช้ือโรค
3) ทําความสะอาดเตยี งและอุปกรณ์ของใช้ทกุ วนั
4) จัดเตรียมเจลแอลกอฮอล์ใช้ทําความสะอาดมือ บริเวณทางเข้าหน้าประตูและภายในห้

องพยาบาลอย่าง เพยี งพอ

43

2.10.14 แนวปฏบิ ัตสิ าํ หรับโรงอาหาร
การจัดบริการภายในโรงอาหาร การนั่งกินอาหารร่วมกันของผู้ใช้บริการ รวมถึงอาหาร

ภาชนะ อุปกรณ์ ตู้กดน้ำดื่ม ระบบกรองน้ำและผู้สัมผัสอาหาร อาจเป็นแหล่งแพร่กระจายเชื้อโรค จึงควร
มีการดูแล เพือ่ ลดและปูองกันการแพร่กระจายเชื้อโรค ดังน้ี

2.10.14.1 หน่วยงานที่จัดบริการโรงอาหาร กําหนดมาตรการการ
ปฏบิ ัตใิ หส้ ถานที่สะอาด ถกู สขุ ลักษณะ ดงั นี้

1) จัดให้มีอ่างล้างมือ พร้อมสบู่ สําหรับให้บริการแก่ผู้เข้ามาใช้บริการโรงอาหาร
บริเวณก่อนทางเขา้ โรงอาหาร

2) ทกุ คนทีจ่ ะเขา้ มาในโรงอาหาร ตอ้ งสวมหน้ากากผา้ หรอื หน้ากากอนามยั
3) จัดให้มกี ารเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบคุ คล อย่างนอ้ ย 1 - 2 เมตร ในพ้นื ที่ตา่ ง ๆ เช่
น ทีน่ ่ังกนิ อาหาร จดุ รับอาหาร จดุ ซอื้ อาหาร จดุ รอกดนำ้ ดมื่ จุดปฏบิ ัตงิ านรว่ มกนั ของผู้สมั ผัสอาหาร
4) จดั เหลอื่ มช่วงเวลาซ้อื และกนิ อาหาร เพอ่ื ลดความแออัดพ้ืนทภ่ี ายในโรงอาหาร
5) ทําความสะอาดสถานที่ปรุง ประกอบอาหาร พื้นที่ตั้งตู้กดน้ำดื่ม และพื้นที่บริเวณ
ที่นั่งกินอาหาร ให้สะอาด ด้วยน้ํายาทําความสะอาดหรือผงซักฟอก และจัดให้มีการฆ่าเชื้อด้วยโซเดียมไฮ
โปคลอไรท์ (น้ำยาฟอกขาว) ที่มีความเข้มข้น 1,000 ส่วนในล้านส่วน (ใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์ 6% อัตราส่
วน 1 ชอ้ นโต๊ะตอ่ นํ้า 1 ลติ ร)
6) ทําความสะอาดโต๊ะและที่นั่งให้สะอาด สําหรับนั่งกินอาหาร ด้วยน้ำยาทําความ
สะอาดหรือจัดให้มีการฆ่าเชื้อด้วยแอลกอฮอล์ 70% โดยหยดแอลกอฮอล์ลงบนผ้าสะอาดพอหมาด ๆ เช็ด
ไปในทศิ ทางเดียวกัน หลงั จากผใู้ ช้บริการทกุ คร้ัง
7) ทําความสะอาดภาชนะ อุปกรณ์ และเครื่องใช้ให้สะอาด ด้วยน้ำยาล้างจาน
และให้มี การฆ่าเชื้อด้วยการแช่ในน้ำร้อน 80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 วินาที หรือแช่ด้วยโซเดียมไฮ
โปคลอไรท์(น้ำยาฟอกขาว) ที่มีความเข้มข้น 100 ส่วนในล้านส่วน (ใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์ 6% อัตราส่วน
ครึ่งชอ้ นชาตอ่ น้ำ 1 ลติ ร) 1 นาที แลว้ ลา้ งน้ำใหส้ ะอาด และอบหรอื ผึ่งให้แหง้ กอ่ นนาํ ไปใช้ใสอ่ าหาร
8) ทําความสะอาดตู้กดน้ําดื่ม ภายในตู้ถังน้ําเย็น อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง และเช็ด
ภายนอกตู้และก๊อกน้ำดื่มให้สะอาดทุกวัน และฆ่าเชื้อด้วยการแช่โซเดียมไฮโปคลอไรท์ (น้ํายาฟอกขาว) ที่มี
ความเข้มข้น 100 ส่วนในล้านส่วน เป็นเวลา 30 นาที ทุกครั้งก่อนบรรจุน้ำใหม่ ในกรณีที่มีเครื่องกรองน้ำ
ควรทําความสะอาดด้วยการล้างย้อน (Backwash) ทุกสัปดาห์ และเปลี่ยนไส้กรองตามระยะเวลากําหนด
ของผลิตภัณฑ์ และตรวจเช็คความชํารุดเสียหายของระบบไฟฟูาที่ใช้ สายดิน ตรวจเช็คไฟฟูารั่วตามจุดต่
าง ๆ โดยเฉพาะบรเิ วณกอ๊ กน้ําท่ีถอื เปน็ จุดเส่ียง เพือ่ ปอู งกันไฟฟาู ดดู ขณะใชง้ าน
9) จัดบริการอาหาร เน้นปูองกันการปนเปื้อนของเชื้อโรค เช่น อาหารปรุงสําเร็จสุก
ใหม่ทุกครั้งหลีกเลี่ยงการจําหน่ายอาหารเสี่ยง เช่น อาหารประเภทกะทิ หรืออาหารปรุงข้ามวัน การปกปิ
ดอาหารปรุงสําเร็จ การใช้ภาชนะที่เหมาะสมกับประเภทอาหาร และจัดให้มีภาชนะอุปกรณ์สําหรับการกิน
อาหารอย่างเพียงพอเปน็ รายบคุ คล เช่น จาน ถาดหลมุ ชอ้ น ส้อม แก้วน้ำ เป็นตน้
10) ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ภายในโรงอาหาร เช่น การสวมหน้ากากที่ถูกวิธี ขั้นตอน
การล้างมือทถ่ี ูกต้องการเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คล การเลอื กอาหารปรงุ สุกใหม่สะอาด เปน็ ตน้

44

11) กรณีมีการใช้บริการร้านอาหารจากภายนอก จัดส่งอาหารให้กับวิทยาลัย ควรให้
อาจารย์หรือผรู้ ับผิดชอบ ตรวจประเมนิ ระบบสุขาภบิ าลอาหารของร้านอาหาร โดยกําหนดขอ้ ตกลงการ

จัดส่งอาหารปรุงสุกพร้อมกิน ภายใน 2 ชั่วโมง หลังปรุงเสร็จ และมีการปกปิดอา
หาร เพอ่ื ปูองกนั การปนเป้อื นสง่ิ สกปรกลง ในอาหาร

12) พจิ ารณาทางเลอื กให้ผู้ปกครองสามารถเตรียมอาหารกลางวัน (Lunch box) ให้
นกั ศึกษามารบั ประทานเองเพ่อื ปอู งกนั เช้อื และลดการแพรก่ ระจายเชือ้

2.10.14.2 ผู้สัมผัสอาหาร ต้องดูแลสุขลักษณะส่วนบุคคล มีการปูองกันตนเอง
และปอู งกันการแพรก่ ระจาย เช้ือโรค ดังน้ี

1) หากมีอาการปุวย ไข้ ไอ มีน้ํามูก เจ็บคอ หายใจลําบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กล่ิน
ไมร่ ู้รส ใหห้ ยุดปฏบิ ตั งิ านและแนะนาํ ใหไ้ ปพบแพทยท์ นั ที

2) ดูแลสุขลักษณะส่วนบุคคล มีการป้องกันตนเอง แต่งกายให้สะอาด สวมใส่ผ้
ากันเปอื้ นและอุปกรณป์ ้องกนั การปนเป้ือนส่อู าหาร ในขณะปฏบิ ตั งิ าน

3) รักษาความสะอาดของมือ ด้วยการล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำ ก่อนปฏิบัติงาน
และขณะเตรียมอาหาร ประกอบอาหาร และจําหน่ายอาหาร รวมถึงหลังจากการจับเหรียญหรือธนบัตร
หรือสัมผัส สิ่งสกปรก อาจใช้เจลแอลกอฮอล์ทําความสะอาดมือร่วมด้วย หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสใบหน้า
ตา ปาก จมูก โดยไม่จําเป็น

4) สวมใส่หนา้ กากผ้าหรือหนา้ กากอนามัย ตลอดเวลาขณะปฏบิ ัติงาน
5) มีพฤติกรรมขณะปฏิบัติงานปูองกันการปนเปื้อนของเชื้อโรค เช่น ใช้อุปกรณ์ในการ
ปรุงประกอบอาหาร เช่น เขียง มีด การหยิบจับอาหาร แยกระหว่างอาหารสุก อาหารประเภทเนื้อสัตว์
สด ผกั และ ผลไม้ และไม่เตรยี ม ปรงุ ประกอบอาหารบนพ้ืนโดยตรง
6) จัดเมนูอาหารที่จําหน่าย โดยเน้นอาหารปรุงสุกด้วยความร้อน โดยเฉพาะเน้ือ
สัตว์ ปรุงให้สุกด้วยความร้อนไม่น้อยกว่า 70 องศาเซลเซียส หลีกเลี่ยงการจําหน่ายอาหารบูดเสียง่าย เช่
น อาหารประเภทกะทิ และอาหารท่ไี มผ่ า่ นความร้อน เชน่ ซูชิ เป็นต้น
7) อาหารปรุงสําเร็จ จัดเก็บในภาชนะสะอาด มีการปกปิดอาหารจัดเก็บสูงจากพื้น
ไม่นอ้ ยกว่า 60 เซนติเมตรกรณีอาหารปรงุ สําเรจ็ รอการจําหน่าย ใหน้ าํ มาอนุ่ ทุก 2 ชั่วโมง
8) การใช้ภาชนะบรรจุอาหารแบบใช้ครั้งเดียวทิ้งต้องสะอาดมีคุณภาพเหมาะสมกับ
การบรรจอุ าหารปรงุ สาํ เรจ็ และไม่ควรใชโ้ ฟมบรรจุอาหาร
9) ระหว่างการปฏิบัติงาน ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2
เมตร
10) ควรพิจารณาใหม้ รี ะบบชาํ ระเงนิ ออนไลนส์ ําหรบั ผบู้ ริโภค

45

2.10.14.3 ผู้ที่เข้ามาใช้บริการโรงอาหาร ต้องดําเนินการปูองกันตนเอง
และปูองกนั การแพรก่ ระจายเชอ้ื โรค ดงั น้ี

1) ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และนน้ำ หรือใช้เจลแอลกอฮอล์ทําความสะอาดมือทุก
ครั้งก่อนเข้าไปในโรงอาหาร ก่อนกินอาหารภายหลังซื้ออาหารหลังจากจับเหรียญหรือธนบัตรหลังจาก
สมั ผัสส่งิ สกปรกหรือหลังออกจากหอ้ งส้วม

2) ทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่อยู่ในโรงอาหาร
หรือเขา้ ไปในสถานท่ีจาํ หน่ายอาหาร

3) เลือกซื้ออาหารปรุงสําเร็จสุกใหม่ หลีกเลี่ยงการกินอาหารประเภทเนื้อสัตว์
เครื่องในสัตว์ที่ปรุงไม่สุกและตรวจสอบคุณภาพของอาหารทันที เช่น สภาพอาหาร กลิ่น ความสะอาดและ
ความเหมาะสมของภาชนะบรรจุ มีการปกปิดอาหารมดิ ชดิ ไม่เลอะเทอะ ไม่ฉีกขาด เป็นต้น

4) ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ในการซื้ออาหาร
ขณะรออาหาร นัง่ กนิ อาหาร ขณะรอกดนำ้ ดมื่

5) พิจารณาเลอื กใช้ระบบการชาํ ระเงนิ แบบออนไลน์

2.10.15 แนวปฏบิ ตั กิ ารเขา้ แถวเคารพธงชาติ
1) การจัดพื้นที่เข้าแถว ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร กรณี

มีพื้นที่จํากัดไม่เพียงพอ อาจพิจารณาสลับชั้นเรียนมาเข้าแถวบริเวณหน้าเสาธง หรือจัดให้มีการเข้าแถว
บริเวณทีม่ พี นื้ ที่กว้างขวาง เช่น หน้าหอ้ งเรียน บริเวณถนน ลานสนาม เปน็ ตน้

2) อาจารย์และนักศึกษาทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาการเข้า
แถวเคารพธงชาติ

3) ลดระยะเวลาการจัดกิจกรรมหน้าเสาธง กรณีมีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ควรใช้ช่อง
ทางอ่นื ๆ เช่น เสยี งตามสาย ผ่านออนไลน์ Line Facebook E-mail แจง้ ในห้องเรยี น เป็นต้น

4) ทําความสะอาดอุปกรณ์ของใช้หรือจุดสัมผัสเสี่ยง ภายหลังการใช้งานทุกครั้ง เช่น
เชือกทเ่ี สาธง ไมโครโฟน เปน็ ต้น

46

2.10.16 แนวปฏิบตั สิ าํ หรับแมค่ รวั ผู้จําหน่ายอาหาร และ
ผู้ปฏบิ ัตงิ านทําความสะอาด

1) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 พื้นที่เสี่ยง คำแนะนำ
การปอ้ งกันตนเองและลดความเสีย่ งจากการแพร่กระจายของโรค จากแหล่งข้อมลู ท่ีเชอ่ื ถอื ได้

2) สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก
เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส ให้หยุดปฏิบัติงานและรีบไปพบแพทย์ทันที กรณีคนในครอบครัวป่วยด้วย
โรคโควิด 19 หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยงและอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
อย่างเครง่ ครดั

3) ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำ ก่อน - หลังปรุงและประกอบอาหาร ขณะจำหน่าย
อาหาร หลังสัมผัสสิ่งสกปรก เมื่อจับเหรียญหรือธนบัตร หลังใช้ส้วม ควรล้างมืด้วยสบู่และน้ำหรือใช้เจล
แอลกอฮอล์ และหลีกเลี่ยงการใช้มือสมั ผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไมจ่ ำเปน็

4) ขณะปฏิบัติงานของผู้สัมผัสอาหาร ต้องสวมหมวกคุมผม ผ้ากันเปื้อน ถุงมือ สวม
หน้ากากผา้ หรือหน้ากากอนามัย และปฏิบตั ติ นตามสขุ อนามัยส่วนบุคคลทีถ่ ูกต้อง

5) ปกปิดอาหาร ใส่ถุงมือและใช้ที่คีบหยิบจับอาหาร ห้ามใช้มือหยิบจับอาหารพร้อมกิน
โดยตรง และจัดให้แยกกิน ส่วนกรณีร้านจำหน่ายอาหารสำเร็จรูปพร้อมกิน ไม่ควรใช้มือสัมผัสลงไปในถุง
บรรจอุ าหารก่อนตักอาหาร

6) จดั เตรียมเมนูอาหารให้ครบ 5 หมู่ และผักผลไม้ 5 สี เพื่อเสริมสร้างภูมมิ ิคุ้มกัน ปรุง
สุกใหม่ ให้นักศึกษากิน ภายในเวลา 2 ชั่วโมง หากเกินเวลาดังกล่าว ให้นำอาหารไปอุ่น จนเดือด แล้ว
นำมาเสริ์ฟใหม่ กรณีที่ไม่สามารถจัดเหลื่อมเวลาสำหรับเด็กในมื้อกลางวัน ให้เตรียมอาหารกล่องแทน
และรับประทานที่โตะ๊ เรียน

7) จัดเตรียมกระดาษสำหรับสั่งรายการอาหาร หรือช่องทางสื่อสารอื่น ๆ เพื่อลดการ
พดู คุยและสัมผัส

8) ผู้ปฏิบัติงานทำความสะอาด ผู้ปฏิบัติงานเก็บขยะ ต้องใส่อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เช่น
สวมหน้ากากผ้าหรอื หน้ากากอนามัย สวมถุงมอื ยาง ผา้ ยางกันเปอ้ื น รองเท้าพืน้ ยางหมุ้ แขง็

9) การเก็บขยะ ควรใช้ปากคีบด้ามยาวเก็บขยะ ใส่ถุงขยะปิดปากถุงให้มิดชิด และนำไป
รวบรวมไว้ท่ีพักขยะ

10) เมื่อปฏิบัติงานเสร็จทุกครั้ง ต้องล้างมือบ่อย ๆ และเมื่อกลับมาถึงบ้าน ควรรีบ
อาบนำ้ สระผม เปลย่ี นเสิ้อผา้ ใหม่ทนั ที

47

คําแนะนาํ ในการทําความสะอาด
1) จัดเตรียมอุปกรณ์ทําความสะอาดอย่างพอพียง ได้แก่ น้ำยาทำความ
สะอาดหรือน้ำยาฟอกขาว อุปกรณ์การตวง ถุงขยะ ถังน้ำ ไม้ถูพื้น ผ้าเช็ดทำความสะอาด อุปกรณ์ป้องกัน
อันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน อาทิ ถุงมือ หน้ากากผ้า เสื้อผ้าที่จะนำมาเปลี่ยนหลังทำ
ความสะอาด
2) เลอื กใชผ้ ลิตภณั ฑ์ทําความสะอาดพนื้ ผวิ ท่เี หมาะสม

ก. กรณีสิ่งของอุปกรณ์เครื่องใช้ แนะนำให้ใช้แอลกอฮอล์ 70% หรือไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
0.5% ในการเช็ดทำความสะอาด

ข. กรณีเปน็ พื้นทีข่ นาดใหญ่ เช่น พ้ืนห้อง แนะนำใหใ้ ชผ้ ลิตภัณฑ์ท่ีมสี ่วนผสมของโซเดยี มไฮโป
คลอไรท์ 0.1% (นำ้ ยาซกั ผ้าขาว) หรือไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5%

ค. ตรวจสอบคุณลักษณะของน้ำยาทำความสะอาดบนฉลากข้างขวดผลิตภัณฑ์ วันหมดอายุ
รวมถงึ พจิ ารณาการเลือกใช้น้ำยา ขึ้นอยู่กับชนิดพื้นผิววัสดุ เชน่ โลหะ หนงั พลาสตกิ

3) เตรียมนํ้ายาทําความสะอาดเพื่อฆ่าเชื้อ ขึ้นอยู่กับชนิดและความเข้มข้นของ
สารที่เลือกใช้ โดยแนะนำให้เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อที่มีส่วนผสมของโวเดียมไฮโปคลอไรท์ (รู้จักกันในชื่อ
“น้ำยาฟอกขาว”) เนื่องจากหาซื้อได้ง่าย โดยนำมาผสมกับน้ำ เพื่อให้ความเข้มข้น 0.1% หรือ 1000 ส่วน
ในล้านส่วน ดังน้ี

- กรณี ผลติ ภัณฑ์ มีความเขม้ ข้น 2.54% ให้ผสม 40 มลิ ลิลิตร (2.8 ช้อนโตะ๊ ) : น้ำ 1 ลติ ร
- กรณี ผลติ ภณั ฑ์ มคี วามเข้มขน้ 5.7% ใหผ้ สม 18 มิลลิลิตร (1.2 ชอ้ นโตะ๊ ) : น้ำ 1 ลติ ร
- กรณี ผลิตภณั ฑ์ มคี วามเขม้ ขน้ 5% ให้ผสม 20 มิลลิลติ ร (1.3 ชอ้ นโตะ๊ ) : น้ำ 1 ลติ ร
- กรณี ผลิตภัณฑ์ มคี วามเข้มข้น 6% ให้ผสม 17 มลิ ลิลิตร (1.1 ชอ้ นโตะ๊ ) : นำ้ 1 ลติ ร
หรืออาจใช้ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อที่มีส่วนผสมของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ โดยนำมาผสมกับน้ำ
เพ่อื ให้ไดค้ วามเข้มขน้ 0.5% หรอื 5000 สว่ นในลา้ นสว่ น ดังน้ี
- กรณี ผลติ ภัณฑ์ มีความเขม้ ข้น 5% ให้ผสม 110 มิลลลิ ิตร (7.5 ช้อนโตะ๊ ) : น้ำ 1 ลิตร
- กรณี ผลติ ภณั ฑ์ มคี วามเขม้ ขน้ 3% ใหผ้ สม 200 มลิ ลลิ ติ ร (13.5 ชอ้ นโตะ๊ ) : น้ำ 1 ลิตร
4) สื่อสารให้ความรู้ขั้นตอนการทําความสะอาดที่ถูกต้อง เหมาะสม
รวมท้ังนำสขุ อนามยั ในการดแู ลตนเองกับผ้ปู ฏิบตั ิงาน
- ลา้ งมอื ดว้ ยสบแู่ ละนำ้ ก่อน - หลัง ทำความสะอาดทุกครัง้
- สวมอุปกรณ์ปอ้ งกนั ตวั เองทุกครงั้ เมือ่ ต้องทำความสะอาดและฆ่าเชอ้ื
- เปิดประตู หน้าตา่ ง ขณะทำความสะอาด เพ่อื ให้มกี ารระบาย
- หากพื้นผิวสกปรก ควรทำความสะอาดเบื้องต้นก่อน เช่น นำผ้าชุบน้ำเช็ดบริเวณที่มีฝุ่นหรือ
คราบสกปรก กอ่ นทจ่ี ะใชน้ ้ำยาทำความสะอาดเพอื่ ฆ่าเชอื้


Click to View FlipBook Version