The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by supachetr, 2019-06-07 05:04:20

PRD 258

Editor’s Talk
เจ้าของ
กรมประชาสัมพันธ์
ที่ปรึกษา
พลโท สรรเสริญ แก้วก�าเนิด
อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์
ดร.จรูญ ไชยศร
รองอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ บก.เปิดเล่ม
พิชญา เมืองเนาว์
รองอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์
ทัศนีย์ ผลชานิโก
รองอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ วารสารกรมประชาสัมพันธ์ฉบับประจ�าเดือน มิถุนายน 2562 ฉบับนี้ ถือเป็นฉบับพิเศษ
บรรณาธิการบริหาร ฉบับที่จะเป็นประวัติศาสตร์ที่มิใช่ของชาวกรมประชาสัมพันธ์เท่านั้น แต่เป็นประวัติศาสตร์
อรัญญา เกตุแก้ว ของคนไทยทั้งประเทศ เพราะได้บันทึกเรื่องราวและประมวลภาพแห่งความเป็นมหามงคล
ผู้อ�านวยการส�านักพัฒนาการประชาสัมพันธ์ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ระหว่างวันที่ 4-6 พฤษภาคม 2562 ซึ่งเป็นภาพที่สุดงดงาม

กองบรรณาธิการ อลังการ เคร่งขรึมและสูงส่ง ด้วยนี่เป็นพระราชพิธีแห่งโบราณราชประเพณี พระบรม
ผู้อ�านวยการสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย มหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เรืองรองงดงามขึ้นมาอีกครั้งด้วยพระบารมี
ผู้อ�านวยการสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ภาพที่เกิดขึ้นนี้ ในชั่วชีวิตหนึ่งของเรา ยากที่จะได้สัมผัส ดังนั้น จึงนับเป็นมหามงคล
ผู้อ�านวยการส�านักข่าว
ผู้อ�านวยการส�านักพัฒนานโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์ ต่อเราชาวไทยเป็นอย่างยิ่ง ที่จะมีโอกาสร่วมอยู่ในวาระอันเป็นมหามงคลนี้ วารสารกรม
ผู้อ�านวยการส�านักการประชาสัมพันธ์ต่างประเทศ ประชาสัมพันธ์ฉบับนี้ จึงมิเพียงที่จะอ่านและดูผ่าน ๆ แต่ต้องเก็บรักษาไว้ให้เป็นอย่างดี
ผู้อ�านวยการส�านักส่งเสริมและพัฒนางานเทคนิค และในท่ามกลางวิกฤตฝุ่นควันอันแสนหนักหน่วงที่คนไทยต้องเผชิญ เราจะเห็นว่า
ผู้อ�านวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ การประชาสัมพันธ์ คนไทยจ�านวนมาก สวมหน้ากากเพื่อป้องกันฝุ่นควันที่เกิดขึ้น เรามาศึกษากันดีกว่า
ผู้อ�านวยการส�านักประชาสัมพันธ์เขต 1 - 8
ผู้อ�านวยการกองคลัง ท�าไมเราต้องสวมหน้ากากกัน หน้ากากที่สวมนั้น ป้องกันฝุ่นควันได้จริงหรือไม่
ผู้อ�านวยการกองการเจ้าหน้าที่ แล้วต้องแบบไหนจึงจะสามารถป้องกันฝนได้ ส�าคัญที่สุดในเรื่องของสุขภาพ เรามีบทความ
ผู้อ�านวยการกองกฎหมายและระเบียบ เรื่องนี้มาให้อ่านกันด้วย
เลขานุการกรม
ประชาสัมพันธ์จังหวัดผู้แทนภาค 1 - 8 เรื่องของการศึกษาและเทคโนโลยีก็ส�าคัญไม่น้อย ฉบับนี้ จึงมีเรื่องราวของการศึกษา
ผู้อ�านวยการสถาบันการประชาสัมพันธ์ ชายแดนใต้ และการศึกษาไทยใน EEC เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ส่วนเทคโนโลยีนั้น
ผู้อ�านวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร Iot (Internet of Things) คืออะไร มาท�าความเข้าใจและเท่าทันเทคโนโลยีกัน และ
ผู้อ�านวยการหน่วยตรวจสอบภายใน ยังมีเรื่องราวที่น่าสนใจอีกหลายเรื่อง ต้องติดตามกันต่อไปนะคะ
ผู้อ�านวยการส่วนสื่อประชาสัมพันธ์
ฝ่ายวารสารและสิ่งพิมพ์ วารสารกรมประชาสัมพันธ์ ยังคงเปิดรับเรื่องราวและข้อคิดเห็น รวมทั้งข้อเสนอแนะ
และติชมจากทุกท่านอยู่เช่นเดิม ส่งเรื่องราวของท่านมาที่ www.prdmagazine
ภาพ @gmail.com พบกันใหม่ในฉบับเดือนกันยายน 2562
ฝ่ายผลิตภาพเพื่อการประชาสัมพันธ์
จัดท�าโดย
ส�านักพัฒนาการประชาสัมพันธ์
กรมประชาสัมพันธ์ เลขที่ 9 ถนนพระราม 6 อรัญญา เกตุแก้ว
แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 บรรณาธิการบริหาร
โทรศัพท์ 0 2618 2323 ต่อ 1600, 1603
โทรสาร 0 2618 3617
E-mail : [email protected] วิสัยทัศน์กรมประชาสัมพันธ์
เป็นองค์การที่ได้รับความเชื่อถือด้านข่าวสาร เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
ค้นข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
www.prd.go.th ของประชาชน และสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของประเทศ

พิมพ์ที่ วารสารกรมประชาสัมพันธ์เป็นวารสารรายสามเดือน เพื่อเผยแพร่นโยบายของรัฐบาลและผลการด�าเนินงานของกรมประชาสัมพันธ์
บริษัท นิวธรรมดาการพิมพ์ (ประเทศไทย) จ�ากัด บรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการคัดเลือกและแก้ไขต้นฉบับทั้งเรื่องและภาพ โดยไม่ต้องขอความเห็นชอบจากเจ้าของเรื่อง
และไม่ต้องส่งต้นฉบับคืน ข้อเขียนในวารสารฯ เป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียนมิใช่ความเห็นของกองบรรณาธิการ

Editor’s Talk
บก.เปิดเล่ม 1


Maintain the Happiness
ประมวลภาพพระบรมราชาภิเษก 3

Health
ท�าไมเราต้องสวมหน้ากากอนามัย 22
ออกจากบ้าน


Social & Education
การศึกษาชายแดนใต้ 24
เส้นทางแห่งสายน�้า 28 3 22
ความงดงามของชีวิต
การศึกษาไทยใน EEC 35

Travel & Food
“ท่องเที่ยวสุขใจ 37
เศรษฐกิจพอเพียง ที่ชุมชนบ้านบัว”


Global Technology
Internet of Things 43
หรือ IoT ค�านี้คืออะไร

Knowledge
น�้าตาลไม่หวาน 46


Question
ตอบดีมีรางวัล 48 28 34























CONTENTS








ปีที่ 25 n ฉบับที่ 258 n เมษายน-มิถุนายน 2562

Maintain the Happiness
เรื่อง : ฝ่ายวารสารและสิ่งพิมพ์


ประมวลภาพ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก



z ราชาภิเษกสมรส 2 พฤษภาคม 2562 å









































































PRD Magazine 3

z พระราชพิธีบรมราชาภิเษก å

















































































4 PRD Magazine

z พระราชพิธีบรมราชาภิเษก å

















































































PRD Magazine 5

z ทรงสรงพระมุรธาภิเษก å

















































































6 PRD Magazine

PRD Magazine 7

z ทรงรับน�้าอภิเษก ณ พระที่นั่งอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์ å

















































































8 PRD Magazine

PRD Magazine 9

z ทรงรับการถวายเครื่องราชกกุธภัณฑ์ ณ พระที่นั่งภัทรบิฐ å

















































































10 PRD Magazine

PRD Magazine 11

z ทรงรับการถวายพระพรชัยมงคล ณ พระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์ å

















































































12 PRD Magazine

PRD Magazine 13

z ริ้วขบวนพระบรมราชอิสริยยศ (ราบใหญ่) å

















































































14 PRD Magazine

PRD Magazine 15

z เฉลิมพระราชมณเฑียร å

















































































16 PRD Magazine

PRD Magazine 17

z เสด็จเลียบพระนครทางสถลมารค å

















































































18 PRD Magazine

PRD Magazine 19

z เสด็จออกสีหบัญชร ณ พระที่นั่งสุทไธสวรรย์ปราสาท å

















































































20 PRD Magazine

PRD Magazine 21

Health
เรื่อง : ปวีณอร โทเอี่ยม

ท�าไมเรา





ต้องสวมหน้ากากอนามัยออกจากบ้าน






ก่อนหน้านี้สภาพอากาศประเทศไทยใจกลางเมืองของกรุงเทพมหานคร ได้เกิดปัญหา
สิ่งแวดล้อมในเรื่องฝุ่นละออง PM 2.5 ท�าให้ผู้คนต่างตื่นตัวอย่างมากในการสวมใส่
หน้ากากอนามัยและหน้ากาก 95 ที่ขายดี จนขาดตลาด การสวมหน้ากากอนามัยสามารถ
ป้องกันฝุ่นละอองและเชื้อโรคในเบื้องต้นได้เป็นอย่างดี แต่ไม่ว่าจะเกิดปัญหาของฝุ่นละออง
PM 2.5 หรือไม่ เราทุกคนก็ควรสวมใส่หน้ากากอนามัยเวลาออกจากบ้าน
























































22 PRD Magazine

การสวมหน้ากากอนามัยเรามักจะเห็นกันจริง ๆ คือตอนป่วย
และไปหาหมอที่โรงพยาบาลเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของ
เชื้อโรค ผู้ป่วยที่ไม่ได้สวมใส่หน้ากากอนามัยป้องกัน อาจท�าให้
ผู้อื่นต้องได้รับเชื้อโรคไปด้วย
จากผลการวิจัยขององค์การอนามัยโลก พบว่าการใส่หน้ากาก
อนามัยสามารถลดการแพร่กระจายเชื้อโรคที่ติดมาจากละอองฝอย
ได้ถึงร้อยละ 80 หน้ากากอนามัยจึงเป็นอุปกรณ์อย่างหนึ่ง
ที่สามารถป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรคได้เป็นอย่างดี รวมทั้ง
ยังช่วยลดปริมาณฝุ่นควันพิษจากเครื่องยนต์ที่เราสูดหายใจ
โดยเฉพาะในเขตเมืองที่มีจราจรหนาแน่น การที่เราไม่ชอบ
การสวมใส่หน้ากากอนามัยเพราะรู้สึกเคอะเขิน ใส่แล้วอึดอัด
หายใจไม่สะดวกเพราะคนส่วนใหญ่ยังไม่คุ้นชินกับการใส่หน้ากาก
อนามัย





การใช้หน้ากากอนามัยที่ดี ควรใช้

วันต่อวันแล้วทิ้ง ไม่ควรน�ากลับมาสวมใส่

ในวันถัดไปอีก หากเป็นหน้ากากแบบที่
สามารถน�ากลับมาใช้ใหม่ ควรท�าความสะอาด

หลังใช้ในแต่ละวันเพื่อสุขภาพที่ดี




องค์การอนามัยโลกระบุไว้ว่ามลพิษทางอากาศเป็นเหตุส�าคัญ
ที่ท�าให้จ�านวนผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นทุกปีสาเหตุการเสียชีวิตไม่ได้เป็นการ
เสียชีวิตในทันทีทันใด แต่เป็นการเสียชีวิตแบบผ่อนส่ง เนื่องจาก
ร่างกายสะสมมลพิษทางอากาศมาเป็นระยะเวลานาน โดยโรคที่เกิด
จากมลพิษทางอากาศอาทิ เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ
โรคปอด หากผู้คนปรับเปลี่ยนความคิดว่าการสวมใส่หน้ากากอนามัย
ไม่ใช่เรื่องที่น่าอาย น่าร�าคาญ ถ้าเรามองประโยชน์ให้หน้ากากอนามัย
เป็นอุปกรณ์เสริมในชีวิตประจ�าวัน เหมือนเช่นโทรศัพท์มือถือและ
พกติดตัวไว้เพื่อน�ามาใช้เมื่ออยู่ในที่สาธารณะที่มีคนจ�านวนมากหรือ
อยู่ตามท้องถนน ก็จะเป็นการป้องกันได้ในเบื้องต้น
ส่วนการใช้หน้ากากอนามัยที่ดี ควรใช้วันต่อวันแล้วทิ้ง ไม่ควร
น�ากลับมาสวมใส่ในวันถัดไปอีก หากเป็นหน้ากากแบบที่สามารถ
น�ากลับมาใช้ใหม่ ควรท�าความสะอาดหลังใช้ในแต่ละวันเพื่อสุขภาพที่ดี
หน้ากากอนามัยนั้นไม่สามารถป้องกันฝุ่นควันพิษและเชื้อโรคได้ 100%
แต่สามารถช่วยลดความเสี่ยงการเกิดโรคและฝุ่นควันได้ หากเรา
ไม่สามารถหลีกเลี่ยงสถานที่แออัดหรือภาวะฝุ่นละออง เราก็ควร
ป้องกันตัวเองโดยการสวมใส่หน้ากากอนามัยในเวลาเดินทางหรือ
ออกจากบ้านทุกครั้ง
PRD Magazine 23

Social & Education
เรื่อง : ส�านักงานคณะกรรมการขับเคลื่อน
การแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนใต้ส่วนหน้า



4 ปี ของการพัฒนา





การศึกษาชายแดนใต้





































































24 PRD Magazine

การแก้ปัญหาคุณภาพทางด้านการศึกษา

ในจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นเรื่องยาก แต่ยังมีหนทาง

ที่จะแก้ไข โดยต้องเริ่มต้นจากความปลอดภัยของครู
เด็กและสถานศึกษาก่อน “ความปลอดภัยคือลมหายใจ”

หลังจากนั้นจึงหาหนทางท�าให้เด็กในจังหวัดชายแดน

ภาคใต้มีโอกาสได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียม

ทั่วถึง ลดความเหลื่อมล�้า





ในปี พ.ศ. 2557 คุณภาพการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ถือได้ว่าอยู่ในอันดับด้อยของประเทศ
อันเนื่องมาจากความไม่ปลอดภัยในพื้นที่และขาดการบูรณาการในการด�าเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆ
พลเอก สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ หัวหน้าผู้แทนพิเศษของรัฐบาลและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ในช่วงเวลานั้น ยอมรับว่าการแก้ปัญหาคุณภาพทางด้านการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นเรื่องยาก
แต่ยังมีหนทางที่จะแก้ไข โดยต้องเริ่มต้นจากความปลอดภัยของครู เด็กและสถานศึกษาก่อน “ความปลอดภัย
คือลมหายใจ” หลังจากนั้นจึงหาหนทางท�าให้เด็กในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีโอกาสได้รับการศึกษา
ที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียม ทั่วถึง ลดความเหลื่อมล�้า การศึกษาเป็นเรื่องส�าคัญมากในการแก้ไขปัญหา
จังหวัดชายแดนภาคใต้ ด้วยลักษณะเฉพาะของวัฒนธรรมในพื้นที่อาจท�าให้การแข่งขันเพื่อศึกษาต่อ
สายสามัญมีความล�าบากเมื่อเปรียบเทียบกับเยาวชนในภูมิภาคอื่น การส่งเสริมการเรียนการพูดภาษาไทย
และภาษาอื่น ๆ อันเป็นพื้นฐานที่ท�าให้เข้าถึงต�าราเรียน การส่งเสริมให้ศึกษาในสายอาชีพซึ่งในประเทศ
ที่พัฒนาแล้วให้ความส�าคัญไม่น้อยกว่าการเรียนสายสามัญหรือมุ่งสู่มหาวิทยาลัยเพียงอย่างเดียว
การส่งเสริมการเรียนรู้ให้ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมพหุวัฒนธรรม การสืบสานศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
พระราโชบายทั้งของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
และพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทางด้านการศึกษา การวางรากฐานเพื่อพัฒนาการศึกษา
ให้ทันยุคทันสมัย ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกเป็นงานที่ต้องขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่องและด�าเนินการอย่าง
มีประสิทธิภาพจึงจะสามารถยกระดับคุณภาพการศึกษาและคุณภาพชีวิตของเยาวชนในจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ได้


PRD Magazine 25

ศูนย์ประสานงานและบริหารการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือที่เรียกว่า
กระทรวงศึกษาธิการ ส่วนหน้า ได้มีการพัฒนาขึ้นตามล�าดับ ในระยะเวลา 4 ปี ด้วย
การก�ากับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 3 สมัย ได้แก่ พลเรือเอก ณรงค์
การศึกษาในจังหวัด พิพัฒนาศัย พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ และนายแพทย์ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์

ชายแดนภาคใต้มีความ โดยได้จัดท�ายุทธศาสตร์ทางการศึกษาซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2560 ด้วยความตั้งใจ
ใส่ใจ ทุ่มเทและความต่อเนื่องในการพัฒนาท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก เป็นผลให้
แตกต่างจากภูมิภาคอื่น ในปีการศึกษา 2560-2561 จังหวัดชายแดนภาคใต้ไม่ใช่เป็นจังหวัดที่มีคุณภาพการศึกษา
โดยเฉพาะความนิยม ล�าดับต�่าที่สุดอีกต่อไป ผลการวัดคุณภาพการศึกษาในเชิงประจักษ์ของพื้นที่ชายแดนภาคใต้
มีตัวเลขดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง งานการศึกษานอกโรงเรียนและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.)
ในการเรียนทางด้านศาสนา ไทยนิยมยั่งยืน ชุมชนต้นแบบ โดยเฉพาะตัวอย่างของการน�าประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบ

ซึ่งเป็นเรื่องที่งดงาม กว่า 40,000 คน กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาซึ่งสามารถด�าเนินการได้มากกว่าร้อยละ 80 มีความเป็น
รูปธรรม จน UNESCO (องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ : United Nations
ตามวิถีวัฒนธรรม Education Scientific and Cultural Organization ) ได้ชื่นชมและขอให้ไทยซึ่งเป็นประธานอาเซียน
ของคนในพื้นที่ ในปี พ.ศ. 2562 น�าเรื่องนี้เข้าสู่ที่ประชุมด้วย เยาวชนในวัยเรียนอาจมีปัญหาท�าให้ละทิ้งการเรียน
แต่หน้าที่และความรับผิดชอบของกระทรวงศึกษาธิการคือพาคนมาเรียนหนังสือ ให้มีความรู้ มีวิชาชีพติดตัว
สามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตนเองและครอบครัวได้ ซึ่งวันนี้ได้สร้างโอกาสและทางเลือกให้แล้ว
การศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความแตกต่างจากภูมิภาคอื่น โดยเฉพาะความนิยม ในการเรียน
ทางด้านศาสนาซึ่งเป็นเรื่องที่งดงาม ตามวิถีวัฒนธรรมของคนในพื้นที่ แต่ถ้าเรียนทางด้านศาสนาเพียง
อย่างเดียวโอกาสในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพก็มีน้อยกว่าเยาวชนในภูมิภาคอื่น นับเป็นครั้งแรกที่
กระทรวงศึกษาธิการในรัฐบาลชุดนี้ มองเห็นสาเหตุของความเหลื่อมล�้าทางการศึกษาจึงบูรณาการสร้างความ
ร่วมมือทางวิชาการ โดยให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมและส�านักจุฬาราชมนตรีให้การรับรองหลักสูตรในสถาบันศึกษา
ปอเนาะ ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้แล้วเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2561 นับเป็นครั้งแรกของประเทศไทย
ที่มีการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางของสถาบันการศึกษาปอเนาะและตาดีกาให้มีมาตรฐาน สามารถศึกษาต่อยอด
และมีความรู้เพียงพอส�าหรับการประกอบอาชีพ เพิ่มเติมจากการเรียนทางด้านศาสนาซึ่งเป็นเรื่องที่ดีงามในพื้นที่อยู่แล้ว
การเพิ่มครูสายอาชีพจากกระทรวงศึกษาธิการ 1 คน เข้าไปเสริมครูสอนศาสนาในปอเนาะและตาดีกา ในโครงการ
1 ครูอาสา 1 สถาบันการศึกษาปอเนาะนับว่าเป็นประโยชน์โดยตรงต่อเยาวชนในพื้นที่ แม้วันนี้สถาบันการศึกษา
ปอเนาะและตาดีกาอาจยังไม่ได้ใช้หลักสูตรแกนกลางซึ่งส�านักจุฬาราชมนตรีรับรองทั้งหมด แต่ก็เป็นแนวทางที่ชัดเจน
ในเชิงประจักษ์ว่ารัฐบาลไม่เคยทอดทิ้งและพยายามแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล�้าในสังคมชายแดนภาคใต้ ตามยุทธศาสตร์
พระราชทาน เข้าใจ เข้าถึง พัฒนาอย่างแท้จริง


26 PRD Magazine

การศึกษาเพื่อความมั่นคงเป็นประเด็นส�าคัญที่ต้องขบคิด เนื่องจากระยะเวลาหลาย วันนี้สถาบันการศึกษา
สิบปีที่ผ่านมามีผู้ที่มีความคิดเห็นต่างจากรัฐจ�านวนหนึ่งได้ใช้กลไกทางศาสนาและการบิดเบือน
ประวัติศาสตร์บางช่วง บางตอนเป็นเครื่องมือในการบ่มเพาะแนวคิดในการใช้ความรุนแรงและ ในพื้นที่มีการบูรณาการ
แยกประชาชนต่างศาสนาออกจากกัน วันนี้สถาบันการศึกษาในพื้นที่มีการบูรณาการเพื่อ เพื่อเสริมสร้างสังคม
เสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้พหุวัฒนธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้กับนักเรียน แห่งการเรียนรู้พหุวัฒนธรรม
และนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาหรือมหาวิทยาลัยในพื้นที่เพื่อเปิดโลกทัศน์ให้กับเยาวชน
ได้มีโอกาสเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ความดีงามของการอยู่ร่วมกันการพึ่งพาอาศัยกันซึ่งเดิม ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
เคยมีอยู่ในพื้นที่ รวมทั้งความเข้าใจทางศาสนาที่ถูกต้องอีกชุดความรู้หนึ่ง จากอาจารย์ ให้กับนักเรียนและนักศึกษา
ทางด้านศาสนาและวัฒนธรรมที่มีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับในสังคมวิชาการ เพื่อ
ให้เยาวชนในระดับปัญญาชนได้ไตร่ตรองและขบคิด น�าความรู้ไปปรับใช้ให้เกิด ในระดับอุดมศึกษา
ประโยชน์กับชีวิต หรือมหาวิทยาลัย
นอกจากการเคาะประตูบ้านชวนไปเรียนหนังสือ การจัดโรงเรียนประชารัฐ
จังหวัดชายแดนภาคใต้ให้นักเรียนได้เรียนและอยู่อาศัยโดยไม่เป็นภาระด้าน
ค่าใช้จ่ายกับผู้ปกครองที่รายได้น้อย โรงเรียนสานฝันการกีฬา การจัดศูนย์การ
เรียนรู้ประจ�าต�าบล ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ศูนย์การเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง ศูนย์เรียนรู้ประชาธิปไตยและศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต ล้วนมี
ส่วนในการแก้ไขความเหลื่อมล�้าทางด้านการศึกษาในพื้นที่จังหวัดชายแดน
ภาคใต้ทั้งสิ้น 4 ปี ที่ท�าให้คุณภาพการศึกษาของเด็กชายแดนใต้ไม่ใช่ล�าดับ
สุดท้ายอีกต่อไป


PRD Magazine 27

Social & Education
เรียบเรียง : บุญพราว อินจิโน
ภาพประกอบ : www.onwr.go.th

เส้นทางแห่งสายน�้า




ความงดงามของชีวิต







คราสายฝนหลั่งลงจากฟากฟ้า ซึมลงสู่พสุธาแหล่งอาศัย
รวมเป็นสายธาราฉ�่าชื่นใจ หล่อเลี้ยงไปทุกชีวิตบนแผ่นดิน





























































28 PRD Magazine

ภาพความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติบนแผ่นดินไทย ในสองทศวรรษที่ผ่านมาความต้องการใช้น�้าได้เพิ่มสูงขึ้นตาม
เป็นสิ่งที่สะท้อนออกมาให้เห็นได้อย่างชัดเจนในภาพวิถีการใช้ชีวิต อัตราการเพิ่มขึ้นของพลเมืองโลก ทั้งจากปัจจัยการเพิ่มขึ้นของผู้คน
ของผู้คนทั่วไปในสังคม ไม่ว่าจะเป็นการท�าการเกษตร หรือน�้ากินน�้าใช้ และกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ปรับเปลี่ยนเพิ่มเติมเข้ามา จากแรกเริ่ม
ดังค�ากล่าวที่ว่า ในน�้ามีปลา ในนามีข้าว จึงเป็นค�าที่ไม่เคยเกิน เดิมทีของการเป็นสังคมเกษตรกรรม ก็ได้มีการขยายบทบาทการเป็น
ความจริงเลย ซึ่งทั้งปลาในน�้าและข้าวในนา ต่างก็เจริญงอกงามอย่าง สังคมอุตสาหกรรม ทั้งในด้านการผลิตและการบริการเพิ่มเติมเข้ามา
ต่อเนื่องบนผืนดินแห่งนี้ได้ก็เพราะทรัพยากรน�้า ประกอบกับสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ภัยธรรมชาติที่ลุกคืบ
“น�้า” เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความจ�าเป็นอย่างมากในการ เข้ามาเป็นครั้งคราว สะท้อนให้เห็นถึงการที่เราผู้ใช้น�้า ต้องหันมา
ด�ารงอยู่ของสิ่งมีชีวิตทั้งในมิติของการอาบ ดื่ม กิน ใช้ ซึ่งนี่ก็เป็น ใส่ใจการบริหารจัดการทรัพยากรดังกล่าวนี้ให้เข้มข้นชัดเจนและ
ที่มาของการเปรียบเปรยความส�าคัญของน�้ากับชีวิตว่า น�้าคือชีวิต มีความเป็นหนึ่งเดียวมากขึ้น






























































PRD Magazine 29

การบริหารจัดการทรัพยากรน�้า ซึ่งถือ
เป็นสาธารณะสมบัติเพื่อให้ผู้คนต่างก็สามารถ
ใช้ประโยชน์จากน�้าได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
มีคุณภาพชีวิตที่ดีด้วยนั้น จึงเป็นประเด็นสากลที่
นานาประเทศให้ความสนใจ ดังเช่น แม่น�้าดานูบ
(Danube River) แม่สายประวัติศาสตร์ที่
หล่อเลี้ยงผู้คนมายาวนานตั้งแต่ในยุคอาณาจักร
โรมัน ปัจจุบันแม่น�้าสายดังกล่าวเป็นแม่น�้าสายที่
ยาวที่สุดในสหภาพยุโรปครอบคลุมพื้นที่กว่า
2,000 ล้านตารางเมตร หล่อเลี้ยงผู้คน 81 ล้านคน
ทั่วทั้ง 19 ประเทศ ได้แก่ แอลเบเนีย ออสเตรีย
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บัลแกเลีย โครเอเชีย
สาธารณรัฐเช็ก เยอรมนี ฮังการี อิตาลี มาซิโดเนีย http://www.geologypage.com/2014/11/danube-river.html
มอลโดวา มอนเตเนโก โปแลนด์ โรมาเนีย
เซอร์เบีย สโลวะเกีย สโลวีเนีย สวิตเซอร์แลนด์
และยูเครน กลุ่มประเทศดังกล่าวจึงได้รวมตัวกัน
Map of the Danube River




















































30 PRD Magazine

จัดตั้ง คณะกรรมาธิการระหว่างประเทศเพื่อการ ส�าหรับประเทศไทยนั้น ได้มีการแบ่งการบริหาร
คุ้มครองของแม่น�้าดานูบ (ICPDUR: International จัดการลุ่มน�้าออกเป็น 25 ลุ่มน�้าหลัก โดยมีแม่น�้าโขง
Commission for the Protection of the
Danube River) เพื่อท�าข้อตกลงในการบริหาร เป็นหนึ่งในแม่น�้าส�าคัญและมีขนาดใหญ่ที่หล่อเลี้ยง
จัดการน�้าระหว่างประเทศร่วมกัน โดยขยาย คนไทยและประเทศเพื่อนบ้านมาแต่ยาวนาน
บทบาทรวมไปถึงการร่วมกันน�าเทคโนโลยีใหม่ ๆ
มาช่วยในการบริหารจัดการน�้าระหว่างพรมแดน
ร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ
ส�าหรับประเทศไทยนั้น ได้มีการแบ่งการ
บริหารจัดการลุ่มน�้าออกเป็น 25 ลุ่มน�้าหลัก
โดยมีแม่น�้าโขงเป็นหนึ่งในแม่น�้าส�าคัญและ
มีขนาดใหญ่ที่หล่อเลี้ยงคนไทยและประเทศ
เพื่อนบ้านมายาวนาน ความพยายามในการ
บริหารจัดการแม่น�้าโขงซึ่งเรียกได้ว่าเป็นแม่น�้า
สายเศรษฐกิจของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน
รวมทั้งหมด 4 ประเทศได้แก่ กัมพูชา สปป.ลาว
เวียดนามและไทย ภายใต้ชื่อ คณะกรรมาธิการ
แม่น�้าโขง (Mekong River Commission: MRC)
จึงเกิดขึ้น
จะเห็นได้ว่าทรัพยากรน�้า เป็นสาธารณสมบัติ
ที่มีความส�าคัญมาก ในการเข้ามาบริหารจัดการ
มิติของการด�าเนินการก็ต้องมีความรู้รอบด้านพอกับ
PRD Magazine 31

อรรถประโยชน์ที่น�้ามีต่อการใช้ชีวิตของผู้คน และความร่วมมือ คือ
หนึ่งในปัจจัยส�าคัญของการอยู่ร่วมกันระหว่างคนกับทรัพยากรน�้า
อย่างยั่งยืน ดังเช่นความร่วมมือของชาวยุโรปในการบริหารจัดการ
แม่น�้าดานูบ ความร่วมมือของชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ร่วมมือกัน
ดูแลรักษาแม่น�้าโขง
ส�าหรับการบริหารจัดการน�้าภายในประเทศนั้น ส�านักงาน
ทรัพยากรน�้าแห่งชาติ (Office of the National Water Resources:
ONWR) หรือ สทนช. ได้ก่อตั้งขึ้นตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ
ส�านักงานทรัพยากรน�้าแห่งชาติ ส�านักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2561
เพื่อท�าหน้าที่เป็นหน่วยงานหลักในการบริหารจัดการน�้าภายใน
ประเทศ ครอบคลุมในทุกด้านผ่าน 6 เส้นทางการบริหารจัดการน�้า
อย่างยั่งยืน ได้แก่ การจัดการน�้าอุปโภคบริโภค การสร้างความมั่นคง
ของน�้า การจัดการน�้าท่วมและอุทกภัย การจัดการคุณภาพน�้า
การอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน�้า รวมถึงการบริหารจัดการระบบ
การท�างานต่าง ๆ ทั้งกฎหมาย และระบบฐานข้อมูลเรื่องน�้าให้มี
ความทันสมัยสอดรับกับปัจจุบัน โดยแนวทางทั้งหมดได้รับการ
บรรจุไว้ในแผนบริหารจัดการทรัพยากรน�้า 20 ปี อันเชื่อมโยงกับ
แผนสูงสุดของประเทศคือยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งที่ผ่านมา
สทนช. ได้จัดท�าข้อตกลงการแลกเปลี่ยนและพัฒนาความรู้ร่วมกัน
ระหว่างไทยกับฮังการี หนึ่งในประเทศที่มีบทบาทส�าคัญในการบริหาร
จัดการน�้าและผลักดันให้สหภาพยุโรปมียุทธศาสตร์การบริหาร
32 PRD Magazine

จัดการลุ่มน�้าระหว่างประเทศ (แม่น�้าดานูบ) โดยข้อตกลงดังกล่าว
เป็นการตกลงแลกเปลี่ยนและพัฒนาความรู้ร่วมกันระหว่างไทย
กับฮังการีในเรื่องการบริหารจัดการน�้าท่วมน�้าแล้ง การบริหารจัดการ
น�้าเสีย การเพิ่มประโยชน์จากการใช้น�้าบาดาลร่วมกับน�้าผิวดิน และ
ความรู้ด้านการวิจัยต่าง ๆ อีกมากมายเพื่อน�ามาพัฒนาการบริหาร
จัดการน�้าของประเทศให้เกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
เรื่องราวการเดินทางของสายน�้า ได้สร้างการก่อเกิดของชีวิต
ในทุกเส้นทางที่ไปถึง ทั้งในสังคมเกษตร สังคมอุตสาหกรรม แม่น�้าใหญ่
หนึ่งสายที่แตกสาขาย่อยผ่านเส้นทางไปในแต่ละพื้นที่ ได้สร้างพลัง
และเอื้อประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิต สร้างความอุดมสมบูรณ์ ความสะดวก
สบายต่อการด�ารงชีวิตของคน พืช สัตว์น้อยใหญ่อย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย
เพื่อตอบแทนสายน�้าและเก็บถนอมน�้าไว้ใช้นาน ๆ การใช้น�้าอย่าง
รู้คุณค่า ตระหนักรู้ ตระหนักใช้ เพื่อให้พลังแห่งสายน�้าได้เอื้อประโยชน์
ต่อมวลมนุษยชาติตราบนานเท่านาน




เพื่อตอบแทนสายน�้าและเก็บถนอมน�้าไว้ใช้นาน ๆ การใช้น�้าอย่างรู้คุณค่า ตระหนักรู้

ตระหนักใช้ เพื่อให้พลังแห่งสายน�้าได้เอื้อประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติตราบนานเท่านาน
















































PRD Magazine 33

Social & Education
เรื่อง : ทีมงานวารสารกรมประชาสัมพันธ์


















































































34 PRD Magazine

การศึกษาของไทย







ใน EEC










เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC)
อันประกอบด้วย จังหวัดชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา ถือเป็นพื้นที่พิเศษที่มีศักยภาพในการ

แข่งขัน และเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพที่จะก้าวไปสู่การเป็นฐานเศรษฐกิจชั้นน�าของอาเซียน เมื่อพื้นที่นี้
เป็นพื้นที่พิเศษ การเรียนการศึกษาในพื้นที่นี้จึงต้องมีการจัดการเป็นพิเศษด้วยเช่นกัน


หมดยุคของการเรียนการศึกษาอันเป็นค่านิยม จากนโยบายของท่านนายกรัฐมนตรีพลเอก
ทางสังคมของการเรียนเพื่อชนชั้นทางสังคมอีกต่อไป ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้มอบหมายให้กระทรวง
วันนี้เราต้องยืนอยู่บนหลักของความเป็นจริงที่ว่าโลก ศึกษาธิการผลิตและพัฒนาก�าลังคนอาชีวศึกษา
เปลี่ยนไปแล้ว เศรษฐกิจการแข่งขันก็เปลี่ยนไปแล้ว ในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
อย่างสิ้นเชิง และต้นทุนในการแข่งขันของโลก พ.ศ. 2560-2564 เพื่อยกระดับขีดความสามารถ
ในปัจจุบันนี้ คือ มนุษย์ มนุษย์ถือเป็นปัจจัยส�าคัญ ในการแข่งขันของ 3 จังหวัด คือ ฉะเชิงเทรา
ของการขับเคลื่อนและพัฒนาในทุกอุตสาหกรรม ชลบุรี และระยอง ไปสู่เป้าหมายในการเป็น
ดังนั้น เมื่อมนุษย์มีความส�าคัญ การเรียนการศึกษา เขตเศรษฐกิจชั้นน�าของอาเซียน ซึ่งพื้นที่นี้ได้
จึงส�าคัญยิ่ง มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงอย่าง
พื้นที่ EEC เป็นพื้นที่ที่มีเป้าหมายในการพัฒนา มีประสิทธิภาพ อ�านวยความสะดวกแก่นักลงทุน
ในทุกมิติ ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สนับสนุนอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชั้นสูงและการ
อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การเกษตร ฯลฯ และ ท่องเที่ยว
ทุกวันนี้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม จากนโยบายดังกล่าว กระทรวงศึกษาธิการ
มีบทบาทต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมอย่างที่ โดยส�านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน จ�าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสร้าง เห็นถึงความส�าคัญของการผลิต ส่งเสริม และ
มนุษย์พันธุ์ใหม่ เพื่อป้อนเข้าสู่ตลาดแรงงานยุคใหม่ พัฒนาก�าลังคน จึงได้จัดตั้งศูนย์ประสานงานการ
ของ EEC ดังนั้น การพัฒนาการศึกษาจึงต้องเน้นไป ผลิตและพัฒนาก�าลังคนอาชีวศึกษา เขตพัฒนา
ที่ความรู้ความสามารถเฉพาะด้านเพื่อรองรับการ พิเศษภาคตะวันออกขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ส�าคัญคือ
เปลี่ยนแปลงที่มีเทคโนโลยีเป็นตัวขับเคลื่อนใน n เพื่อส่งเสริมและพัฒนาก�าลังคนอาชีวศึกษา
ทุกด้าน และนักศึกษาที่พื้นที่ EEC ต้องการ ให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ
มากที่สุดคือด้านอาชีวะ เพื่อการพัฒนาเด็กเข้าสู่ ที่อยู่ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ตลาดแรงงานในพื้นที่ EEC

PRD Magazine 35

โลกแห่งศตวรรษที่ 21 THAILAND


จึงเป็นโลกยุคใหม่ 4.0

ที่การศึกษาในระบบเดิม ๆ


ต้องเปลี่ยนแปลง


การคิด การเชื่อมโยงข้อมูล

ในระบบ Big Data


จึงถูกน�ามาใช้











n เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะของผู้เรียน
ให้มีความรู้ ทักษะ มีนิสัยอุตสาหกรรม มีคุณธรรม
จริยธรรม และความสามารถในการปรับตัวต่อการ
เปลี่ยนแปลงที่สอดคล้องกับการประกอบอาชีพ
และการด�ารงชีวิตในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
n เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของคณาจารย์ ครู
บุคลากรทางการศึกษา และครูฝึกในสถานประกอบการ
รองรับการจัดการเรียนการสอน ให้สอดคล้องกับ
การพัฒนาภาคการผลิต และบริการ ในยุค
ประเทศไทย 4.0
ดังนั้น โลกแห่งศตวรรษที่ 21 จึงเป็นโลกยุคใหม่
ที่การศึกษาในระบบเดิม ๆ ต้องเปลี่ยนแปลง การคิด
การเชื่อมโยงข้อมูลในระบบ Big Data จึงถูกน�า
มาใช้ การศึกษาในภาคปฏิบัติของบุคลากรทาง
ด้านการศึกษา และสถาบันการศึกษาในพื้นที่ EEC
จึงต้องระดมความร่วมมือกัน เพื่อทิศทางการ
ศึกษาใหม่ โดยเชื่อมการศึกษาเข้ากับระบบการ
ผลิตยุคใหม่ สร้างหลักประกันการมีงานท�าให้
กับนักศึกษาทุกระดับ สร้างฐานความรู้ตั้งแต่ใน
ระดับโรงเรียน เพื่อการเดินหน้าสร้างอนาคตที่ดี
มีประสิทธิภาพ และตรงต่อความต้องการของตลาด
โดยเฉพาะความต้องการบุคลากรใน 10 อุตสาหกรรม
เป้าหมาย ซึ่งเป็นฐานเศรษฐกิจยุคใหม่ที่ประเทศ
ต้องการ
36 PRD Magazine

Travel & Food
เรื่อง-ภาพ : จารุวรรณ เกตุบางจาก


“ท่องเที่ยวสุขใจ


เศรษฐกิจพอเพียง



ที่ชุมชนบ้านบัว”





































































PRD Magazine 37

หากพูดถึงสถานที่ท่องเที่ยวแบบสบาย ๆ
สไตล์ธรรมชาติ ได้สัมผัสวิถีชุมชนเกษตร
พอเพียงที่อิงกับธรรมชาติของจังหวัดภาค
เหนือตอนบนนั้น เรามีสถานที่ท่องเที่ยวแนะน�า
คือ จังหวัดพะเยา แม้จะเป็นเพียงจังหวัดเล็ก ๆ
มีประชากรจ�านวนไม่มากนัก แต่จังหวัดพะเยา
มีสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติจากวิถีของ
ชุมชน นั่นคือ “ชุมชนบ้านบัว” เป็นแลนด์มาร์ค
แห่งใหม่ที่โดดเด่น รวมถึงเป็นชุมชนต้นแบบ

เศรษฐกิจพอเพียง ที่มาพร้อมกับกิจกรรม
ที่น่าสนใจ อีกทั้งยังเป็นศูนย์การเรียนรู้ที่ให้
นักศึกษาจากนอกพื้นที่ต่าง ๆ ได้เข้ามาค้นคว้า
หาความรู้ รวมทั้งนักศึกษาจากมหาวิทยาลัย
พะเยาได้เข้ามาศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมในรายวิชา
ต่าง ๆ รวมถึงนักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมชม
อีกด้วย















































38 PRD Magazine

บ้านบัว หมู่ 4 ต.บ้านตุ่น อ.เมือง จ.พะเยา ในอดีตประสบปัญหาการท�าอาชีพการเกษตร เช่น ต่อมาชุมชนบ้านบัว
ท�านา ท�าสวน ปลูกหญ้า เลี้ยงสัตว์ และอาชีพหัตกรรมจักสาน มีการใช้สารเคมีในการก�าจัดศัตรูพืชมาก ได้พัฒนาจนเป็น
จึงก่อให้เกิดมีสารพิษสะสมอยู่ในร่างกาย คนในชุมชนจึงปรึกษาหารือกัน และท�าเวทีประชาคมหมู่บ้าน
พร้อมกับน้อมน�าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ศูนย์การเรียนรู้และ
บรมนาถบพิตร มาปรับใช้ แต่เนื่องจากยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องวิชาการ จึงประสานกับหน่วยงาน สถานที่ท่องเที่ยว
ภาครัฐเพื่อช่วยสอน และยังประสานกับสถาบันการศึกษามาร่วมท�าวิจัย ต่อมาชุมชนบ้านบัวได้พัฒนา
จนเป็นศูนย์การเรียนรู้และสถานที่ท่องเที่ยวแห่งใหม่ของจังหวัดพะเยา มีผู้คนเข้ามาเยี่ยมชมไม่ขาดสาย แห่งใหม่ของ
จนประสบความส�าเร็จ อีกทั้งชุมชนบ้านบัวยังมีผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่นและน่าสนใจ เป็นชุมชนต้นแบบ
ที่น�าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง รัชกาลที่ 9 มาปฏิบัติ อาทิ จังหวัดพะเยา
มีผู้คนเข้ามา

เยี่ยมชมไม่ขาดสาย

จนประสบความส�าเร็จ






















การจักสานเข่งจากไม้ไผ่
ผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่นของ
ชุมชนบ้านบัว เป็นอาชีพหลัก
สร้างรายได้ให้กับครอบครัว
อีกทั้งยังเป็นสินค้า OTOP ของ
ต�าบลบ้านตุ่น วางจ�าหน่าย
ในหลายพื้นที่ทั้งในจังหวัดและ
ต่างจังหวัด

PRD Magazine 39

กลุ่มเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมือง

อีกกลุ่มอาชีพหนึ่งที่มีคณะกรรมการด�าเนินงาน และมีสมาชิกกว่า 40 คน ปัจจุบัน
มีทุนหมุนเวียนเพื่อให้สมาชิกกู้ เพื่อไปเลี้ยงโค ซึ่งแต่ละเดือนจะมีการออมเงินจากสมาชิก
เดือนละ 20 บาท รวมเงินในกลุ่มประมาณ 500,000 บาท


กลุ่มหญ้าแพงโกล่า
กลุ่มอาชีพที่ท�ารายได้ใหักับชุมชนปีหนึ่ง ๆ ประมาณ 40,000 - 50,000 บาท
ซึ่งเป็นหญ้าที่ใช้เลี้ยงโคขุนของบ้านบัว และน�าออกจ�าหน่ายทั้งในหมู่บ้านและ
นอกหมู่บ้าน





























40 PRD Magazine

พลังงานทดแทนชีวมวล

พลังงานทดแทนชีวมวล คือ สารอินทรีย์ทั่วไปจากธรรมชาติที่จะสะสม
พลังงานเก็บไว้ แล้วน�าพลังงานที่เก็บสะสมไว้มาใช้ประโยชน์ เช่น เตาอิวาเตะ เป็นเตาเผาถ่านที่ใช้
เศษยาง เศษไม้ เศษวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตรหรือจากอุตสาหกรรม อิฐทนไฟ และปูนซีเมนต์ทนไฟ
เช่น ขี้เลื่อย ฟาง แกลบ ชานอ้อย เป็นต้น
เป็นวัตถุดิบสร้างเตา ข้อดีของเตานี้

เตาอิวาเตะ คือ มีการควบคุมอุณหภูมิในเตา
การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างฉลาดและรอบคอบ
ที่สามารถช่วยลดภาวะโลกร้อน เตาอิวาเตะ เป็นเตาเผาถ่านที่ใช้ เผาถ่านได้เป็นอย่างดี
อิฐทนไฟ และปูนซีเมนต์ทนไฟเป็นวัตถุดิบสร้างเตา ข้อดีของเตานี้
คือ มีการควบคุมอุณหภูมิในเตาเผาถ่านได้เป็นอย่างดี

นอกจากนี้ ยังมีผลิตภัณฑ์ที่ท�าชื่อเสียง และสร้างรายได้ ให้กับ
ชุมชนอีกหลายอย่าง เช่น ผลิตภัณฑ์ผักตบชวา เป็นการส่งเสริมรายได้
ให้กับกลุ่มสตรีบ้านบัวในช่วงที่ว่างจากการท�านา และมาท�าอาชีพเสริม
ในการจักสานผักตบชวา ปัจจุบันกลุ่มมีสมาชิก ประมาณ 40 คน
มีการออมเงินในระยะยาว คือ 5 ปี และมีเงินทุนหมุนเวียนภายในกลุ่ม
ให้สมาชิกในกลุ่มกู้ยืมไปลงทุนในการประกอบอาชีพ และผลิตภัณฑ์
ข้าวอินทรีย์บ้านบัว ชุมชนบ้านบัว ปลูกข้าวอินทรีย์ ปลอดสารเคมี
ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ ข้าวอินทรีย์ของบ้านบัวหอมอร่อย และปลอดสารพิษ
มีคุณภาพต่อร่างกาย ปัจจุบันได้ส่งจ�าหน่ายไปทั่วประเทศ





















PRD Magazine 41

จากผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่น ตามปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง ชุมชนบ้านบัวประสบความส�าเร็จและ
ได้รับรางวัล ระดับประเทศจากการประกวดผลงาน
ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจากส�านักงาน
คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ ครั้งที่ 2 ด้านชุมชน
เศรษฐกิจพอเพียง
ปัจจุบัน “ชุมชนบ้านบัว” มีการสร้างสะพาน
ไม้ไผ่ ซึ่งเป็นแลนด์มาร์คแห่งใหม่ ด้วยความร่วมมือ
ของคนในชุมชน สร้างขึ้นกลางทุ่งนา มีความยาว
ประมาณ 200 เมตร เริ่มต้นจากปากทางเข้าหมู่บ้าน
ไปถึงกลางหมู่บ้าน เมื่อได้เดินบนสะพานไม้ไผ่
จะได้สัมผัสบรรยากาศท่ามกลางธรรมชาติ หอม
กลิ่นรวงข้าว และเห็นสัตว์ต่าง ๆ นานาในท้องทุ่ง
อันเขียวขจี อีกทั้งรู้จักแหล่งท่องเที่ยว แหล่งเรียนรู้
ของชุมชนบ้านบัวแบบเศรษฐกิจพอเพียง เรียนรู้
จากวิถีของชาวบ้านในการท�านาข้าวอินทรีย์ ที่พัก
แบบโฮมสเตย์ เพื่อรองรับนักท่องเที่ยว จึงขอเชิญ
ชวนผู้ที่สนใจ อยากสัมผัสชีวิตแบบชนบท หรือ
ต้องการเรียนรู้หลักเศรษฐกิจพอเพียง มาท่องเที่ยว
พักผ่อนที่ชุมชนบ้านบัว จังหวัดพะเยา ได้ทุกฤดูกาล












































42 PRD Magazine

Global Technology
เรื่อง : ณเรนธร จาดพันธุ์อินทร์
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศการประชาสัมพันธ์














































Internet of Things



หรือ IoT ค�านี้คืออะไร








Internet of Things (IoT) คือ การที่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ สามารถเชื่อมโยง
หรือส่งข้อมูลถึงกันได้ด้วยอินเทอร์เน็ต โดยไม่ต้องป้อนข้อมูล การเชื่อมโยงนี้ง่ายจนท�าให้เรา
สามารถสั่งการควบคุมการใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้
ไปจนถึงการเชื่อมโยงการใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
เข้ากับการใช้งานอื่น ๆ ได้โดยอุปกรณ์เหล่านั้นสามารถท�างานด้วยตัวมันเอง ซึ่งแตกต่างจาก
ในอดีตที่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นเพียงสื่อกลางในการส่งและแสดงข้อมูลเท่านั้น กล่าวได้ว่า
Internet of Things นี้ ได้แก่ การเชื่อมโยงของอุปกรณ์อัจฉริยะทั้งหลายผ่านอินเทอร์เน็ต

ที่เรานึกออก เช่น แอปพลิเคชัน แว่นตากูเกิลกลาส รองเท้าวิ่งที่สามารถเชื่อมต่อข้อมูลการวิ่ง
ทั้งความเร็ว ระยะทาง สถานที่ และสถิติได้โดยการใช้ Smartphone ในการตรวจดูข้อมูล

PRD Magazine 43

ประโยชน์และข้อจ�ากัด
เทคโนโลยี Internet of Things มีประโยชน์ในหลายด้าน
ทั้งเรื่องการเก็บข้อมูลที่แม่นย�าและเป็นปัจจุบัน ช่วยลดต้นทุน
แถมยังช่วยเพิ่มผลผลิตของพนักงานหรือผู้ใช้งานได้ แม้ว่าแนวโน้ม
ของ IoT มีแต่จะเพิ่มขึ้นด้วยคุณประโยชน์ตามที่ได้กล่าวมาแล้ว
แต่ประโยชน์ใด ๆ นั้นก็มาพร้อมกับความเสี่ยง เพราะความท้าทาย
ในการรักษาความปลอดภัยของเครือข่ายใหม่ที่เกิดขึ้นนั้น จะผลักดัน
ให้ผู้เชี่ยวชาญมีการรับมือทางด้านความปลอดภัยมากขึ้น ในทาง
ตรงกันข้ามแฮกเกอร์หรือผู้ไม่หวังดีก็ท�างานหนักเพื่อที่จะเข้าควบคุม
โจมตีเครือข่าย หรือเรียกค่าไถ่ในช่องโหว่ที่ IoT มีอยู่

































































44 PRD Magazine

ภาคธุรกิจและองค์กรจะตามคลื่นแห่งการเปลี่ยนแปลงนี้ได้ดีก็ต่อเมื่อ

มีระบบรองรับที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ ยิ่งถ้าประเทศไทยมี 5G


เข้ามาใช้ร่วมด้วย และสุดท้ายน�าไปสู่ประโยชน์ที่ผู้บริโภคและผู้ให้บริการ

จากข้อมูลที่ขับเคลื่อนด้วย Internet of Things ถือเป็นตัวก�าหนด

การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจในอนาคตได้



































ฉะนั้นผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยทาง IoT จึงจ�าเป็นต้องพัฒนามาตรการ
และระบบรักษาความปลอดภัยไอทีควบคู่กันไป เพื่อให้ธุรกิจและการใช้งาน IoT
สามารถขับเคลื่อนต่อไปได้ เห็นอย่างนี้แล้วในอีกด้านหนึ่ง เราลองคิดเล่น ๆ ว่ายิ่งเกิด
การเชื่อมต่อมากขึ้นเท่าไหร่ ก็ก่อให้เกิดสภาวะที่ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมที่จะ
ส่งผลให้มีโอกาสเติบโตทางเศรษฐกิจมากขึ้น ภาคธุรกิจและองค์กรจะตามคลื่นแห่ง
การเปลี่ยนแปลงนี้ได้ดีก็ต่อเมื่อมีระบบรองรับที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ ยิ่งถ้า
ประเทศไทยมี 5G เข้ามาใช้ร่วมด้วย และสุดท้ายน�าไปสู่ประโยชน์ที่ผู้บริโภคและ
ผู้ให้บริการจากข้อมูลที่ขับเคลื่อนด้วย Internet of Things ถือเป็นตัวก�าหนด
การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจในอนาคตได้ ในที่สุด Internet of Things ส่งผลต่อ
การค้าและการด�าเนินชีวิตทั่วโลก และจะกลายเป็นสิ่งที่ท�าให้เทคโนโลยีพัฒนา
ไปสู่อนาคต






ที่มา : https://www.aware.co.th ,
: https://www.iphonemod.net/what-is-iot-internet-of-things-true-iot.html
PRD Magazine 45

Knowledge
เรื่อง : วีระเชษฐ์ จรรยากูล
ส�านักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ









น�้าตาลไม่หวาน










เรื่องนี้เป็นตัวอย่างหนึ่ง นายน�้าเชื่อมมีหนังสือถึงส�านักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสระแก้ว เพื่อขอข้อมูล

ในการที่ประชาชนขอข้อมูลข่าวสาร การประกอบกิจการโรงงานผลิตน�้าตาลทรายจ�านวน 3 รายการ คือ 1) เอกสาร
เมื่อได้รับความเดือดร้อน การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน 2) เอกสาร ค�าขอรับใบอนุญาต (รง.3) ตั้งโรงงาน
ผลิตน�้าตาลของบริษัท หวาน ๆ จ�ากัด และ 3) ผลการรับฟังความคิดเห็น แต่ส�านักงาน
จากการประกอบอาชีพและ อุตสาหกรรมจังหวัดสระแก้วมีหนังสือแจ้งปฏิเสธว่า จะเปิดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม ของผู้อื่นโดยไม่ได้รับความยินยอมเป็นหนังสือให้ไม่ได้ นายน�้าเชื่อมจึงมีหนังสืออุทธรณ์

ของชุมชนของตัวเอง ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
เรียกว่าใช้กฎหมาย

ให้เป็นประโยชน์








































46 PRD Magazine

คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูล
ข่าวสารพิจารณาเห็นว่า ข้อมูลข่าวสารในรายการ
โรงงานตั้งอยู่กลางชุมชนขนาดใหญ่ ที่ 1 และรายการที่ 3 เมื่อหน่วยงานแจ้งว่าไม่มี
ข้อมูลข่าวสารตามค�าขอ จึงไม่มีเอกสารให้พิจารณา
ตนเองได้รับผลกระทบต่ออาชีพเลี้ยงโคนม หากผู้อุทธรณ์ไม่เชื่อก็อาจใช้สิทธิร้องเรียนตาม

มาตรา 13 ประกอบมาตรา 33 ได้ ส่วนข้อมูล
ท�ามะม่วง ท�าล�าไยนอกฤดู ส่งออกประเทศจีน ข่าวสารรายการที่ 2 เอกสารค�าขอรับใบอนุญาต

มีผลกระทบต่อชุมชนใกล้เคียงด้านมลภาวะ (รง.3) ปัจจุบันโรงงานได้รับใบอนุญาตแล้ว จึงอาจมี
ผลกระทบต่อชุมชน ประชาชนจึงสมควรได้รับทราบ
และสิ่งแวดล้อม ข้อมูลข่าวสารเพื่อความเข้าใจและโต้แย้งแสดง
ความคิดเห็นพอสมควรแก่เหตุ และข้อมูลข่าวสาร
เกี่ยวกับรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
เป็นเรื่องที่ต้องเปิดเผยให้ประชาชนทราบตาม
ในการพิจารณาของคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร นายน�้าเชื่อม มาตรา 9 (8) อยู่แล้ว ส่วนข้อมูลรายการเครื่องจักร
ชี้แจงว่า ที่คัดค้านโรงงานดังกล่าว เนื่องจากโรงงานตั้งอยู่กลางชุมชนขนาดใหญ่ ตนเอง และอุปกรณ์ต่าง ๆ เป็นข้อมูลทั่วไปไม่มีผลต่อการ
ได้รับผลกระทบต่ออาชีพเลี้ยงโคนม ท�ามะม่วง ท�าล�าไยนอกฤดูส่งออกประเทศจีน แข่งขันทางธุรกิจ แต่ค�าขอรับใบอนุญาตมีลายมือ
มีผลกระทบต่อชุมชนใกล้เคียงด้านมลภาวะและสิ่งแวดล้อม และโรงงานแจ้งเริ่ม ชื่อของผู้ขออนุญาต เปิดเผยไปก็จะรุกล�้าสิทธิ
ประกอบกิจการทั้งที่ยังไม่มีการก่อสร้างหรือติดตั้งเครื่องจักร เพียงแค่ขนอุปกรณ์บางส่วน ส่วนบุคคลโดยไม่สมควรต้องปกปิดไว้ จึงวินิจฉัย
เข้าพื้นที่ มันน่าจะผิดขั้นตอน ส่วนของส�านักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสระแก้วชี้แจงว่า ให้ส�านักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสระแก้ว เปิดเผย
ข้อมูลข่าวสารรายการที่ 1 และรายการที่ 3 เอกสารการรับฟังความคิดเห็น และเอกสาร ข้อมูลข่าวสารค�าขอรับใบอนุญาต (รง.3) พร้อมทั้ง
ค�าขอรับใบอนุญาต ส�านักงานฯ ไม่ได้จัดท�าเนื่องจากการขอรับใบอนุญาตฯ ต้องท�า รับรองส�าเนาถูกต้องให้นายน�้าเชื่อม เว้นแต่ลายมือ
รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเสนอขอรับความเห็นชอบจากส�านักงานนโยบายและ ชื่อของผู้ขอรับใบอนุญาตให้ปกปิดไว้
แผนสิ่งแวดล้อม ส่วนข้อมูลข่าวสารรายการที่ 2 มีรายละเอียดด้านข้อมูลเครื่องจักร หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมาย
และบริษัท ฯ แจ้งไม่เปิดเผยข้อมูลให้ เนื่องจากรายการเครื่องจักรและอุปกรณ์ต่าง ๆ ฉบับนี้ หารือไปได้นะครับ ที่ส�านักงานคณะกรรมการ
เป็นลิขสิทธิ์ของผู้ออกแบบและผู้ขาย ประกอบกับเอกสารค�าขอรับใบอนุญาตกับรายงาน ข้อมูลข่าวสารของราชการ ส�านักงานปลัดส�านัก
ผลกระทบสิ่งแวดล้อมมีรายละเอียดไม่ตรงกัน แต่ได้แก้ไขและได้รับความเห็นชอบแล้ว นายกรัฐมนตรี 0 2283 4678 www.oic.go.th
ผู้อุทธรณ์อาจน�าไปเป็นประเด็นคัดค้าน จึงไม่ให้ข้อมูลในส่วนนี้ “เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น”

































PRD Magazine 47

Question
เรื่อง : คุณเด่น

กระเป๋าผ้าลดโลกร้อน







เฉลยค�าถามวารสารฯ ฉบับเดือนมกราคม - มีนาคม 2562

การเป็นประธานอาเซียนของไทยในปี 2562 นี้ ไทยใช้หลักแนวคิด“Advancing
Partnership for Sustainability” หรือ “ร่วมมือ ร่วมใจ ก้าวไกล ยั่งยืน”
ผู้โชคดีที่ได้รับของรางวัล “กล่องกระจกใส่ของจุกจิก” มีรายชื่อดังต่อไปนี้
1. คุณกมนต์ภรณ์ ขาวรัตน์ กรุงเทพฯ
2. คุณเพชรสุดา สิทธิพล กรุงเทพฯ
3. คุณพัฒนเดช ยศกรกุล ขอนแก่น
4. คุณรดา บุญยะกาญจน์ ล�าพูน
กองบก. จะส่งของรางวัล ไปตามที่อยู่ที่ท่านให้ไว้ หรือท่านสามารถติดต่อขอรับรางวัล
ด้วยตนเองได้ที่ ส�านักพัฒนาการประชาสัมพันธ์ ชั้น 6 กรมประชาสัมพันธ์


ค�าถามฉบับเดือนเมษายน – มิถุนายน 2562
“เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก หรือ EEC ประกอบไปด้วยจังหวัดอะไรบ้าง”

วารสารกรมประชาสัมพันธ์ ร่วมรณรงค์ลดใช้ถุงพลาสติก โดยจะแจกของรางวัลเป็นกระเป๋าผ้า
ให้สมาชิก ผู้โชคดีน�าไปใช้ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมกันลดโลกร้อน รักษาสิ่งแวดล้อมที่ดี
เพื่อโลกที่น่าอยู่ของเรา โดยในปีนี้จะแจกตลอดทั้งปีงบประมาณ และแจกให้ถึง 4 รางวัล
ส่งค�าตอบพร้อมชื่อ ที่อยู่ และเบอร์โทรศัพท์มาที่ กองบก.วารสารกรมประชาสัมพันธ์ ชั้น 6
ส�านักพัฒนาการประชาสัมพันธ์ กรมประชาสัมพันธ์ เลขที่ 9 ซอยอารีย์สัมพันธ์ ถนนพระราม 6
แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 หรือ E-mail : [email protected]
ภายในวันที่ 15 กรกฎาคม 2562
































48 PRD Magazine


Click to View FlipBook Version