The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มาตราฐานสถานศึกษาพัฒนาเด็กปฐมวัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by naritsara.60121725, 2020-07-30 10:37:24

มาตราฐานสถานศึกษาพัฒนาเด็กปฐมวัย

มาตราฐานสถานศึกษาพัฒนาเด็กปฐมวัย

รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ไดใ้ หค้ วามสาคัญกับการ
พฒั นาเด็กปฐมวัย ไวห้ ลายมาตรา คอื

มาตรา ๕๔ วรรคสอง กาหนดว่า “...รัฐตอ้ งดาเนินการใหเ้ ด็กเล็กไดร้ ับการดแู ลและพัฒนา
กอ่ นเขา้ รบั การศึกษา เพือ่ พฒั นารา่ งกาย จิตใจ วินยั อารมณ์ สงั คม และสติปัญญาใหส้ มกบั วัย โดย
สง่ เสรมิ ใหอ้ งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินและภาคเอกชนเขา้ มสี ่วนร่วมในการดาเนนิ การดว้ ย”

มาตรา ๒๕๘ ใหด้ าเนินการปฏิรปู ประเทศใหเ้ กิดผล จ. ดา้ นการศึกษา (๑) ใหส้ ามารถเริ่ม
ดาเนินการให้เด็กเล็กไดร้ ับการดแู ลและพัฒนาก่อนเขา้ รับการศึกษา ตามมาตรา ๕๔ วรรคสอง
เพื่อใหเ้ ด็กเล็ก ไดร้ ับการพฒั นาร่างกาย จิตใจ วินยั อารมณ์ สงั คม และสติปัญญาใหส้ มกบั วัยโดยไม่
เก็บค่าใชจ้ ่าย

พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแกไ้ ขเพิ่มเติมฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ.
๒๕๔๕) และ ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๓) มาตรา ๑๘ (๑) กาหนดใหก้ ารจัดการศึกษาปฐมวัยจัดใน
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ไดแ้ ก่ ศนู ย์เด็กเล็ก ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็ก ศนู ย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑข์ อง
สถาบันศาสนา ศนู ย์บริการช่วยเหลือระยะ แรกเร่ิมของเด็กพิการและเด็กซึ่งมีความตอ้ งการพิเศษ
หรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่เรียกช่ืออย่างอ่ืน และมาตรา ๑๓ (๑) ใหบ้ ิดา มารดา หรือผปู้ กครอง
มีสิทธิไดร้ ับสทิ ธปิ ระโยชนใ์ นการสนบั สนนุ จากรัฐ ใหม้ ีความรู้ ความสามารถในการอบรมเล้ียงดู และ
การใหก้ ารศึกษาแก่บตุ รหรือบคุ คลซึ่งอย่ใู นความดแู ล

แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙ ในยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ การพฒั นาศกั ยภาพคน
ทกุ ช่วงวัยและ การสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ เป้ าหมายขอ้ ๓.๓ สถานศึกษาทกุ ระดับการศึกษา
สามารถจัดกิจกรรม/ กระบวนการเรียนรตู้ ามหลักสตู รอย่างมีคณุ ภาพและมาตรฐาน มีตวั ชี้วัดที่
สาคัญ เชน่ ศนู ยเ์ ด็กเล็ก/ สถานศึกษา ระดบั ก่อนประถมศึกษาท่ีจัดกิจกรรมการเรียนรไู้ ดค้ ณุ ภาพ
และมาตรฐานเพ่ิมขึ้น สถานศึกษา/สถานพัฒนาเด็ก ปฐมวัยจัดกิจกรรมท่ีสอดคลอ้ งกับหลักสตู ร
ปฐมวัย และสมรรถนะของเด็กท่ีเชื่อมโยงกับมาตรฐานคณุ ภาพเด็ก ปฐมวัยของอาเซียนเพิ่มข้ึน
สถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีจัดการศึกษาตามหลักสตู รท่ีม่งุ พัฒนา ผเู้ รียนใหม้ ี
คณุ ลกั ษณะและทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑ เพิ่มขน้ึ
โดยแนวทางการพฒั นาส่งเสริมใหเ้ ด็กเล็ก (๐ - ๒ ปี ) ไดร้ ับการดแู ลและพฒั นาทส่ี มวัยรอบดา้ นอย่าง
มี คณุ ภาพและต่อเนื่อง มีการปรับระบบการบริหารจัดการการดแู ลและพัฒนาเด็กเล็ก (๐ - ๒ ปี )
และการศึกษาปฐมวัย (๓ - ๕ ปี ) ใหม้ ีคณุ ภาพและมาตรฐาน รวมทั้งพัฒนาหลักสตู รและค่มู ือการ
เตรียมความพรอ้ มพ่อแม่ และการเลี้ยงดแู ละพัฒนาเด็กเล็กใหม้ ีพัฒนาการตามวัย และพัฒนา
หลกั สตู รการศึกษาระดบั ปฐมวัย สมรรถนะ เด็กปฐมวัยท่ีสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานอาเซียนและระดบั
สากล เพ่ือการพฒั นาคณุ ภาพและพฒั นาการรอบดา้ น สมวยั ของเด็กปฐมวยั

(ร่าง) แผนปฏิบตั ิการดา้ นการพฒั นาเด็กปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔ ไดก้ าาหนด
นโยบาย ดา้ นเด็กปฐมวัย ไวด้ งั น้ี

๑. เด็กปฐมวัยทกุ คนตอ้ งไดร้ ับการพฒั นาอย่างรอบดา้ น อย่างมีคณุ ภาพ ตามศักยภาพ ตาม
วัยและ ตอ่ เนอ่ื ง

๒. การพฒั นาเด็กตามขอ้ ๑ ตอ้ งจดั ใหเ้ ป็ นระบบและมีความสัมพนั ธร์ ะหว่างกนั โดยบรู ณาการ
ชัดเจนระหว่างหน่วยงานราชการ และที่ไม่ใช่ราชการ ระหว่างวิชาชีพท่ีสัมพันธ์กับการพัฒนาเด็ก
ปฐมวัย และ ระหว่างระดับต่าง ๆ ของการบริหารราชการแผ่นเดินจากระดับชาติ ส่วนกลาง ส่วน
ภมู ภิ าค และส่วนทอ้ งถิ่น

๓. รัฐและทกุ ภาคส่วนตอ้ งร่วมกันระดมทรัพยากรใหเ้ พียงพอแก่การพฒั นาเด็กปฐมวัยตาม
นโยบาย ขอ้ ๑

นอกจากนี้ ไดใ้ หค้ วามสาคัญกบั การพัฒนาคณุ ภาพเด็กปฐมวัย โดยกาหนดไวใ้ นยทุ ธศาสตร์
ที่ ๓ การพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการใหบ้ ริการที่พัฒนาเด็กปฐมวัย เป้ าประสงค์ที่ ๑ สถาน
พัฒนาเด็กปฐมวัย ทกุ แห่งไดร้ ับการพัฒนาใหม้ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
แห่งชาติ และเป้ าประสงคท์ ี่ ๒ คณุ ภาพของระบบบริการและระบบการพัฒนาเด็กปฐมวัยไดร้ ับการ
ปรบั ปรงุ ใหเ้ ป็ นไปตามมาตรฐานสถานพฒั นา เด็กปฐมวัยแหง่ ชาติ

เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพการบรกิ ารดแู ลพฒั นา และจดั การศึกษาและการดาเนนิ งานสถานพฒั นา
เด็กปฐมวยั ทกุ สงั กดั ที่ดแู ลเด็กในเวลากลางวัน ชว่ งอายตุ งั้ แตแ่ รกเกดิ ถึง อายุ ๖ ปี บรบิ รู ณ์ หรอื
กอ่ นเขา้ เรียนชน้ั ประถมศึกษาปี ที่ ๑ ทสี่ ามารถนาไปใชป้ ระเมินการดาเนนิ งานของสถานพฒั นาเด็ก
ปฐมวยั ในทกุ สงั กดั เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพการจดั บริการและความตอ่ เนอ่ื งของการพฒั นาเด็กปฐมวยั

สถานพฒั นาเด็กปฐมวัย หมายถึง สถานท่ีรับดแู ล พฒั นา จดั ประสบการณเ์ รยี นรแู้ ละ
การศึกษา สาหรบั เด็กปฐมวยั ครอบคลมุ ตง้ั แตท่ ารกแรกเกดิ ถึง ๖ ปี หรอื กอ่ นเขา้ เรียนประถมศึกษา
ปี ที่ ๑ ท่ีใชช้ อื่ หลากหลายรวมทกุ สงั กดั ในประเทศไทย ไดแ้ ก่

๑. กระทรวงมหาดไทย : ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น และโรงเรยี น
อนบุ าล

๒. กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย:์ สถานรับเล้ยี งเด็กเอกชน
๓. กรงุ เทพมหานคร : ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กก่อนวัยเรยี น (สานกั พฒั นาสงั คม) สถานรับเลี้ยงเด็ก
กลางวนั (สานกั อนามยั ) และโรงเรยี นอนบุ าล (สานกั การศึกษา)
๔. กระทรวงสาธารณสขุ : ศนู ยเ์ ด็กเล็กในโรงพยาบาล
๕. กระทรวงศึกษาธกิ าร : โรงเรยี นอนบุ าล (สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน)
และ โรงเรียนอนบุ าลเอกชน (สานกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน)
๖. หนว่ ยงานอนื่ ๆ เชน่ โรงเรยี นอนบุ าลสาธิตในมหาวิทยาลยั กระทรวงกลาโหม สานกั งาน
ตารวจแห่งชาติ มลู นธิ ิ และองคก์ รเอกชน

มาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั แหง่ ชาติ ประกอบดว้ ยมาตรฐาน ๓ ดา้ น ไดแ้ ก่
• มาตรฐานดา้ นท่ี ๑ การบริหารจดั การ จานวน ๕ ตวั บ่งช/้ี ๒๖ ขอ้
• มาตรฐานดา้ นที่ ๒ กระบวนการดแู ลจดั ประสบการณ์ เรียนรู้ และเล่น จานวน ๕ ตวั บ่งช/้ี
๒๐ ขอ้
• มาตรฐานดา้ นที่ ๓ คณุ ภาพเด็กปฐมวัย
- ๓ ก แรกเกดิ ถึง ๒ ปี (๒ ปี ๑๑ เดือน ๒๙ วัน) จานวน ๒ ตวั บ่งช้/ี ๗ ขอ้
- ๓ ข ๓ ปี ถึง ๖ ปี (กอ่ นเขา้ เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปี ที่ ๑) จานวน ๗ ตวั บ่งช/้ี ๒๒ ขอ้
สาระของมาตรฐานแตล่ ะดา้ น มดี งั น้ี

มาตรฐานดา้ นท่ี ๑ การบริหารจดั การสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั
ตวั บ่งช้ีที่ ๑.๑ การบรหิ ารจดั การอยา่ งเป็ นระบบ
ตวั บง่ ช้ยี ่อย ๑.๑.๑ บริหารจดั การสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยอย่างเป็ นระบบ

๑.๑.๒ บรหิ ารหลกั สตู รสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั
๑.๑.๓ บริหารจดั การขอ้ มลู อย่างเป็ นระบบ
ตวั บ่งช้ีที่ ๑.๒ การบรหิ ารจดั การบคุ ลากรทกุ ประเภทตามหนว่ ยงานที่สงั กดั
ตวั บ่งชยี้ ่อย ๑.๒.๑ บริหารจดั การบคุ ลากรอยา่ งเป็ นระบบ
๑.๒.๒ ผบู้ ริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย/หัวหนา้ ระดับปฐมวัย/ผดู้ าเนินกิจการ มี
คณุ วฒุ ิ/ คณุ สมบตั เิ หมาะสม และบรหิ ารงานอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
๑.๒.๓ คร/ู ผูด้ แู ลเด็กท่ีทาหนา้ ที่หลักในการดูแลและพัฒนาเด็กปฐมวัย มีวุฒิ
การศึกษา/ คณุ สมบตั ิเหมาะสม
๑.๒.๔ บริหารบคุ ลากรจัดอัตราส่วนของคร/ู ผดู้ แู ลเด็กอย่างเหมาะสมพอเพียงต่อ
จานวนเด็ก ในแตล่ ะกล่มุ อายุ

เด็ก (อาย)ุ อัตราส่วนคร/ู ผ้ดู แู ล : จ า น ว น เ ด็ ก ใ น ก ล่ มุ

เด็ก (คน) กิจกรรม
กล่มุ ละไมเ่ กิน ๖ คน
ตา่ กว่า ๑ ปี ๑: ๓

ตา่ กวา่ ๒ ปี ๑: ๕ กล่มุ ละไมเ่ กิน ๑๐ คน

ตา่ กว่า ๓ ปี ๑: ๑๐ กล่มุ ละไมเ่ กิน ๒๐ คน

๓ ปี - กอ่ นเขา้ ป.๑ ๑: ๑๕ กล่มุ ละไมเ่ กิน ๓๐ คน

ตวั บ่งช้ีที่ ๑.๓ การบรหิ ารจดั การสภาพแวดลอ้ มเพือ่ ความปลอดภยั
ตวั บง่ ชย้ี ่อย ๑.๓.๑ บรหิ ารจดั การดา้ นสภาพแวดลอ้ มเพอ่ื ความปลอดภยั อย่างเป็ นระบบ

๑.๓.๒ โครงสรา้ งและตวั อาคารมนั่ คง ตงั้ อย่ใู นบริเวณและสภาพแวดลอ้ มที่ปลอดภยั
๑.๓.๓ จัดการความปลอดภัยของพื้นท่ีเล่น/สนามเด็กเล่น และสภาพแวดลอ้ ม
ภายนอกอาคาร
๑.๓.๔ จัดการสภาพแวดลอ้ มภายในอาคาร ครภุ ัณฑ์ อปุ กรณ์ เคร่ืองใชใ้ หป้ ลอดภัย
เหมาะสม กบั การใชง้ านและเพยี งพอ

๑.๓.๕ จดั ใหม้ ขี องเลน่ ทป่ี ลอดภัยไดม้ าตรฐาน มจี านวนเพยี งพอ สะอาด เหมาะสมกับ
ระดบั พฒั นาการของเด็ก

๑.๓.๖ ส่งเสริมใหเ้ ด็กปฐมวยั เดินทางอย่างปลอดภยั
๑.๓.๗ จัดใหม้ ีระบบป้ องกันภัยจากบคุ คลท้ังภายในและภายนอกสถานพัฒนาเด็ก
ปฐมวัย
๑.๓.๘ จดั ใหม้ รี ะบบรับเหตฉุ กุ เฉนิ ป้ องกนั อัคคีภยั /ภยั พบิ ัติตามความเสยี่ งของพืน้ ที่
ตวั บ่งช้ีที่ ๑.๔ การจดั การเพอ่ื ส่งเสริมสขุ ภาพและการเรยี นรู้
ตวั บง่ ชย้ี อ่ ย ๑.๔.๑ มีการจัดการเพื่อส่งเสริมสขุ ภาพ เฝ้ าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก และดแู ล
การเจ็บป่ วยเบือ้ งตน้
๑.๔.๒ มีแผนและดาเนินการตรวจสขุ อนามัยประจาวัน ตรวจสขุ ภาพประจาปี และ
ป้ องกนั ควบคมุ โรคตดิ ตอ่
๑.๔.๓ อาคารตอ้ งมีพื้นที่ใชส้ อยเป็ นสดั ส่วนตามกิจวัตรประจาวันของเด็กทเ่ี หมาะสม
ตามชว่ งวยั และการใชป้ ระโยชน์
๑.๔.๔ จดั ใหม้ พี ้นื ท่/ี มมุ ประสบการณ์ และแหล่งเรยี นรใู้ นหอ้ งเรียนและนอกหอ้ งเรยี น
๑.๔.๕ จดั บริเวณหอ้ งนา้ หอ้ งสว้ ม ท่ีแปรงฟัน/ลา้ งมือใหเ้ พียงพอ สะอาด ปลอดภยั
และเหมาะสมกบั การใชง้ านของเด็ก
๑.๔.๖ จัดการระบบสขุ าภิบาลท่ีมีประสิทธิภาพ ครอบคลมุ สถานท่ีปรงุ ประกอบ
อาหาร นา้ ดื่มนา้ ใช้ กาจดั ขยะ สงิ่ ปฏิกลู และพาหะนาโรค
๑.๔.๗ จดั อปุ กรณภ์ าชนะและเครอ่ื งใชส้ ่วนตวั ใหเ้ พียงพอกบั การใชง้ านของเด็กทกุ คน
และดแู ลความสะอาดและปลอดภยั อย่างสมา่ เสมอ
ตวั บ่งช้ีที่ ๑.๕ การสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของครอบครัวและชมุ ชน
ตวั บ่งชี้ย่อย ๑.๕.๑ มีการสื่อสารเพื่อสรา้ งความสัมพันธ์และความเขา้ ใจอันดีระหว่างพ่อแม่/
ผปู้ กครอง กบั สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเก่ียวกบั ตวั เด็กและการด าเนินงานของสถานพัฒนา
เด็กปฐมวยั
๑.๕.๒ การจดั กิจกรรมทพ่ี ่อแม/่ ผปู้ กครอง/ครอบครวั และชมุ ชน มีสว่ นร่วม
๑.๕.๓ ดาเนินงานใหส้ ถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเป็ นแหล่งเรียนรแู้ ก่ชมุ ชนในเร่ืองการ
พฒั นาเด็กปฐมวยั
๑.๕.๔ มคี ณะกรรมการสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั

มาตรฐานดา้ นท่ี ๒ คร/ู ผดู้ แู ลเด็กใหก้ ารดแู ล และจดั ประสบการณก์ ารเรียนรแู้ ละการเล่น
เพ่ือพฒั นาเด็ก ปฐมวยั
ตวั บ่งช้ีที่ ๒.๑ การดแู ลและพฒั นาเด็กอย่างรอบดา้ น
ตวั บง่ ชีย้ ่อย ๒.๑.๑ มีแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรทู้ ี่สอดคลอ้ งกับหลักสตู รการศึกษา

ปฐมวัย มกี ารดาเนนิ งานและประเมินผล
๒.๑.๒ จดั พ้นื ท/ี่ มมุ ประสบการณก์ ารเรียนรแู้ ละการเลน่ ท่ีเหมาะสมอยา่ งหลากหลาย
๒.๑.๓ จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการทกุ ดา้ นอย่างบรู ณาการตามธรรมชาติของ

เด็กที่เรยี นรู้ ดว้ ยประสาทสมั ผสั ลงมอื ทา ปฏิสมั พนั ธ์ และการเลน่
๒.๑.๔ เลือกใชส้ ่ือ/อปุ กรณ์ เทคโนโลยี เครื่องเล่นและจัดสภาพแวดลอ้ มภายใน-

ภายนอก แหล่งเรียนรู้ ทเ่ี พยี งพอ เหมาะสม ปลอดภยั

๒.๑.๕ เฝ้ าระวังติดตามพัฒนาการเด็กรายบุคคลเป็ นระยะ เพ่ือใชผ้ ลในการจัด
กจิ กรรม พฒั นาเด็กทกุ คนใหเ้ ต็มตามศกั ยภาพ

ตวั บ่งช้ีท่ี ๒.๒ การส่งเสรมิ พฒั นาการดา้ นรา่ งกายและดแู ลสขุ ภาพ
ตวั บ่งชยี้ อ่ ย ๒.๒.๑ ใหเ้ ด็กอายุ ๖ เดือนข้ึนไป รับประทานอาหารที่ครบถว้ นในปริมาณท่ีเพียงพอ

และ สง่ เสริมพฤตกิ รรมการกนิ ที่เหมาะสม
๒.๒.๒ จัดกิจกรรมใหเ้ ด็กไดล้ งมือปฏิบัติอย่างถกู ตอ้ งเหมาะสมในการดแู ลสขุ ภาพ

ความปลอดภยั ในชีวติ ประจาวัน
๒.๒.๓ ตรวจสขุ ภาพอนามยั ของเด็กประจาวัน ความสะอาดของร่างกาย ฟันและชอ่ ง

ปาก เพอ่ื คดั กรองโรคและการบาดเจ็บ
๒.๒.๔ เฝ้ าระวังติดตามการเจริญเติบโตของเด็กเป็ นรายบุคคล บันทึกผลภาวะ

โภชนาการ อย่างตอ่ เนอื่ ง ๒.๒.๕ จดั ใหม้ กี ารตรวจสขุ ภาพร่างกาย ฟันและชอ่ งปาก สายตา หู
ตามกาหนด
ตวั บ่งช้ีท่ี ๒.๓ การส่งเสรมิ พฒั นาการดา้ นสติปัญญา ภาษาและการสื่อสาร
ตวั บ่งชี้ย่อย ๒.๓.๑ จดั กิจกรรมส่งเสริมใหเ้ ด็กไดส้ ังเกต สัมผสั ลองทา คิดตงั้ คาถาม สืบเสาะหา
ความรู้ แกป้ ัญหา จนิ ตนาการ คดิ สรา้ งสรรคโ์ ดยยอมรบั ความคิดและผลงานท่ีแตกตา่ งของ
เด็ก

๒.๓.๒ จดั กิจกรรมและประสบการณท์ างภาษาท่มี ีความหมายตอ่ เด็ก เพอื่ การสือ่ สาร
อยา่ งหลากหลาย ฝึ กฟัง พดู ถาม ตอบ เล่าและสนทนาตามลาดบั ขน้ั ตอนพฒั นาการ

๒.๓.๓ จัดกิจกรรมปลกู ฝังใหเ้ ด็กมีนิสัยรักการอ่านใหเ้ ด็กมีทักษะการดภู าพ ฟัง
เร่ืองราว พดู เล่า อ่าน วาด/เขียน เบื้องตน้ ตามลาดับพัฒนาการ โดยคร/ู ผดู้ แู ลเด็กเป็ น
ตวั อย่างของ การพดู และการอ่านท่ีถกู ตอ้ ง ๒.๓.๔ จัดใหเ้ ด็กมีประสบการณเ์ รียนรเู้ ก่ียวกับ
ตวั เด็ก บคุ คล ส่ิงต่าง ๆ สถานที่ และ ธรรมชาติรอบตวั ดว้ ยวิธีการที่เหมาะสมกับวัยและ
พฒั นาการ

๒.๓.๕ จัดกิจกรรมและประสบการณด์ า้ นคณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตรเ์ บ้ืองตน้ ตาม
วัย โดยเด็กเรียนรผู้ า่ นประสาทสมั ผสั และลงมือปฏบิ ัตดิ ว้ ยตนเอง
ตวั บ่งช้ีท่ี ๒.๔ การส่งเสริมพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ-สังคม ปลกู ฝังคณุ ธรรมและความเป็ น
พลเมืองดี
ตวั บ่งช้ียอ่ ย ๒.๔.๑ สรา้ งความสัมพันธ์ท่ีดีและมัน่ คง ระหว่างผใู้ หญ่กับเด็ก จัดกิจกรรมสรา้ ง
เสริม ความสมั พนั ธท์ ่ดี รี ะหว่างเด็กกบั เด็ก และการแกไ้ ขขอ้ ขดั แยง้ อยา่ งสรา้ งสรรค์

๒.๔.๒ จดั กิจกรรมสง่ เสริมใหเ้ ด็กมีความสขุ แจม่ ใส ร่าเรงิ ไดแ้ สดงออกดา้ นอารมณ์
ความรสู้ ึกท่ีดีต่อตนเอง โดยผ่านการเคล่ือนไหวร่างกาย ศิลปะ ดนตรี ตามความสนใจ และ
ถนดั

๒.๔.๓ จัดกิจกรรมและประสบการณ์ ปลกู ฝังคณุ ธรรมใหเ้ ด็กใฝ่ ดี มีวินัย ซ่ือสัตย์
รจู้ กั สิทธิ และหนา้ ท่รี บั ผิดชอบของพลเมืองดี รกั ครอบครัว โรงเรยี น ชมุ ชนและประเทศชาติ ดว้ ยวิธี
ทีเ่ หมาะสมกบั วัย และพฒั นาการ
ตวั บ่งช้ีที่ ๒.๕ การสง่ เสรมิ เด็กในระยะเปลย่ี นผา่ นใหป้ รบั ตวั ส่กู ารเชอ่ื มตอ่ ในขนั้ ถัดไป
ตวั บง่ ชีย้ ่อย ๒.๕.๑ จัดกิจกรรมกับผปู้ กครองใหเ้ ตรียมเด็กก่อนจากบา้ นเขา้ ส่สู ถานพัฒนาเด็ก

ปฐมวัย/ โรงเรยี น และจดั กิจกรรมชว่ งปฐมนเิ ทศใหเ้ ด็กค่อยปรบั ตวั ในบรรยากาศท่เี ป็ นมิตร

๒.๕.๒ จัดกิจกรรมส่งเสริมการปรับตวั ก่อนเขา้ รับการศึกษาในระดับท่ีสงู ข้ึนแต่ละ
ขน้ั จนถึง การเป็ นนกั เรียนระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปี ที่ ๑

มาตรฐานดา้ นที่ ๓ คณุ ภาพของเด็กปฐมวยั
สาหรบั เด็กแรกเกดิ - อาย ุ ๒ ปี (๒ ปี ๑๑ เดือน ๒๙ วนั )
ตวั บ่งช้ีที่ ๓.๑ ก เด็กมีการเจริญเตบิ โตสมวัย
ตวั บง่ ชีย้ อ่ ย ๓.๑.๑ ก เด็กมนี า้ หนกั ตวั เหมาะสมกบั วยั และสงู ดีสมสว่ น ซึ่งมบี นั ทกึ เป็ นรายบคุ คล
ตวั บ่งช้ีที่ ๓.๒ ก เด็กมีพฒั นาการสมวัย
ตวั บ่งช้ยี ่อย ๓.๒.๑ ก เด็กมีพฒั นาการสมวัยโดยรวม ๕ ดา้ น

๓.๒.๒ ก รายดา้ น : เด็กมพี ฒั นาการกลา้ มเนอ้ื มดั ใหญ่ (Gross Motor)
๓.๒.๓ ก รายดา้ น : เด็กมีพฒั นาการดา้ นกลา้ มเนอ้ื มดั เล็กและสตปิ ัญญาสมวัย (Fine
Motor Adaptive)
๓.๒.๔ ก รายดา้ น : เด็กมีพัฒนาการด้านการรับร้แู ละเขา้ ใจภาษา ( Receptive
Language)
๓.๒.๕ ก รายดา้ น : เด็กมีพฒั นาการการใชภ้ าษาสมวยั (Expressive Language)
๓.๒.๖ ก รายดา้ น : เด็กมพี ฒั นาการการชว่ ยเหลือตนเองและการเขา้ สงั คม (Personal
Social) รา่ ง โปรดอย่าคดั ลอก รา่ ง โปรดอยา่ คัดลอกหรอื เผยแพร่ กหรอื เผยแพร่
สาหรบั เด็ก อายุ ๓ ปี - อายุ ๖ ปี (ก่อนเขา้ ประถมศึกษาปี ที่ ๑)
ตวั บ่งช้ีที่ ๓.๑ ข เด็กมีการเจริญเตบิ โตสมวยั และมสี ขุ นสิ ยั ท่ีเหมาะสม
ตวั บง่ ชย้ี ่อย ๓.๑.๑ ข เด็กมนี า้ หนกั ตวั เหมาะสมกบั วัยและสงู ดสี มสว่ น ซ่ึงมบี นั ทกึ เป็ นรายบคุ คล
๓.๑.๒ ข เด็กมีสขุ นสิ ยั ทีด่ ีในการดแู ลสขุ ภาพตนเองตามวยั
๓.๑.๓ ข เด็กมีสขุ ภาพชอ่ งปากดี ไมม่ ีฟันผุ
ตวั บ่งช้ีท่ี ๓.๒ ข เด็กมพี ฒั นาการสมวยั
ตวั บ่งชยี้ อ่ ย ๓.๒.๑ ข เด็กมพี ฒั นาการสมวัยโดยรวม ๕ ดา้ น
ตวั บ่งช้ีที่ ๓.๓ ข เด็กมีพฒั นาการดา้ นการเคลือ่ นไหว
ตวั บ่งชี้ย่อย ๓.๓.๑ ข เด็กมีพัฒนาการดา้ นการใชก้ ลา้ มเน้ือมัดใหญ่ สามารถเคลื่อนไหวและทรง
ตวั ไดต้ ามวัย
๓.๓.๒ ข เด็กมีพัฒนาการดา้ นการใชก้ ลา้ มเนอ้ื มดั เล็ก และการประสานงานระหว่าง
ตากบั มือ ตามวัย
ตวั บ่งช้ีท่ี ๓.๔ ข เด็กมพี ฒั นาการดา้ นอารมณจ์ ติ ใจ
ตวั บ่งช้ีย่อย ๓.๔.๑ ข เด็กแสดงออก ร่าเริง แจ่มใส รสู้ ึกมัน่ คงปลอดภัย แสดงความรสู้ ึกท่ีดีต่อ
ตนเองและ ผอู้ ่นื ไดส้ มวยั
๓.๔.๒ ข เด็กมีความสนใจและร่วมกิจกรรมต่าง ๆ อย่างสมวัย ซึ่งรวมการเล่น การ
ทางาน ศิลปะ ดนตรี กีฬา ๓.๔.๓ ข เด็กสามารถอดทน รอคอย ควบคมุ ตนเอง ยับยั้งชงั่ ใจ
ทาตามขอ้ ตกลง คานงึ ถึง ความรสู้ ึกของผอู้ ่ืน มีกาลเทศะ ปรับตวั เขา้ กบั สถานการณใ์ หมไ่ ด้
สมวยั
ตวั บ่งช้ีท่ี ๓.๕ ข เด็กมพี ฒั นาการดา้ นสติปัญญา เรียนรแู้ ละสรา้ งสรรค์
ตวั บง่ ช้ียอ่ ย ๓.๕.๑ ข เด็กบอกเกี่ยวกับตวั เด็ก บคุ คล สถานท่ีแวดลอ้ มธรรมชาติ และส่ิงต่าง ๆ
รอบตวั เด็ก ไดส้ มวัย

๓.๕.๒ ข เด็กมีพื้นฐานดา้ นคณิตศาสตร์ สามารถสังเกต จาแนก และเปรียบเทียบ
จานวน มิติ สมั พนั ธ์ (พน้ื ท/ี่ ระยะ) เวลา ไดส้ มวัย

๓.๕.๓ ข เด็กสามารถคดิ อย่างมีเหตผุ ล แกป้ ัญหาไดส้ มวยั
๓.๕.๔ ข เด็กมจี ินตนาการ และความคดิ สรา้ งสรรค์ ท่แี สดงออกไดส้ มวัย
๓.๕.๕ ข เด็กมีความพยายาม มงุ่ มนั่ ตงั้ ใจ ท ากิจกรรมใหส้ าเร็จสมวยั
ตวั บ่งช้ีที่ ๓.๖ ข เด็กมพี ฒั นาการดา้ นภาษาและการส่ือสาร
ตวั บ่งช้ียอ่ ย ๓.๖.๑ ข เด็กสามารถฟัง พดู จบั ใจความ เลา่ สนทนา และสือ่ สารไดส้ มวยั
๓.๖.๒ ข เด็กมีทักษะในการดรู ปู ภาพ สัญลักษณ์ การใชห้ นงั สือ รจู้ ักตวั อักษร การ
คิดเขียนค า และการอ่านเบื้องตน้ ไดส้ มวัยและตามล าดับพฒั นาการ ร่าง โปรดอย่าคัดลอก
รา่ ง โปรดอยา่ คัดลอกหรือเผยแพร่หรอื เผยแพร่
๓.๖.๓ ข เด็กมที กั ษะการวาด การขดี เขยี นตามลาดบั ขนั้ ตอนพฒั นาการสมวยั นาไปสู่
การขดี เขยี นคาท่ีคนุ้ เคย และสนใจ
๓.๖.๔ ข เด็กมีทักษะในการส่ือสารอย่างเหมาะสมตามวัย โดยใชภ้ าษาไทยเป็ นหลัก
และมคี วามคนุ้ เคยกบั ภาษาอ่นื ดว้ ย
ตวั บ่งช้ีที่ ๓.๗ ข เด็กมีพฒั นาการดา้ นสงั คม คณุ ธรรม มวี นิ ยั และความเป็ นพลเมืองดี
ตวั บ่งช้ียอ่ ย ๓.๗.๑ ข เด็กมีปฏิสมั พนั ธก์ ับผอู้ ื่นไดอ้ ย่างสมวัย และแสดงออกถึงการยอมรับความ
แตกตา่ ง ระหว่างบคุ คล
๓.๗.๒ ข เด็กมคี วามเมตตา กรณุ า มีวนิ ยั ซื่อสตั ย์ รบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและส่วนรวม
และมี คา่ นยิ มทีพ่ ึงประสงคส์ มวัย
๓.๗.๓ ข เด็กสามารถเล่น และทางานร่วมกับผอู้ ่ืนเป็ นกล่มุ เป็ นไดท้ ้งั ผนู้ าและผตู้ าม
แกไ้ ข ขอ้ ขดั แยง้ อยา่ งสรา้ งสรรค์
๓.๗.๔ ข เด็กภาคภมู ิใจทเี่ ป็ นสมาชิกที่ดีในครอบครัว ชมุ ชน สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
และตระหนกั ถึงความเป็ นพลเมืองดขี องประเทศไทย และภมู ิภาคอาเซียน


Click to View FlipBook Version