The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

merged (pdf.io)

merged (pdf.io)

รายงานสรุปผลการดําเนนิ งาน

โครงการพฒั นาบุคลากรศูนยเ ทคโนโลยีทางการศึกษา
เพื่อเสริมสรางประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

หลักสูตร “บุคลากรยุคใหมร วมพลงั ทําดี รักษโลก”
ระหวางวันท่ี 18 - 20 กันยายน 2562

ศูนย์เทคโนโลยที างการศกึ ษา สาํ นักงาน กศน.

คํานํา

ตามท่ีปลัดกระทรวงศึกษาธิการไดอนุมัติใหศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา
สํานักงาน กศน. จัดโครงการพัฒนาบุคลากรศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษาเพ่ือเสริมสราง
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานหลักสูตร “บุคลากรยุคใหมรวมพลัง ทําดี รักษโลก” ระหวางวันที่
18 – 20 กันยายน 2562 ณ โรงแรมโรแมนติค รีสอรท แอนด สปา อําเภอปากชอง จังหวัด
นครราชสีมา เพื่อใหบุคลากรของศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษามีความพรอมในการปฏิบัติหนาที่
ราชการใหประสบความสําเร็จตามเปาหมายและตามนโยบายปฏิรูปการศึกษา สง เสริมคณุ ภาพชีวิตที่ดี
มีแรงจูงใจในการปฏิบัตริ าชการ เนอื่ งจากบุคลากรเปนทรัพยากรที่มีคุณคาที่สุดขององคกร เปนผูท่ีมี
บทบาทสาํ คัญในการขับเคลื่อนภารกิจไปสเู ปา หมาย สามารถปฏิบัติหนาท่ีไดอยางมืออาชีพ ใหโ อกาส
บคุ ลากรในองคกรไดแลกเปลี่ยนเรียนรูการดําเนินงานท่ีผานมาซึ่งกันและกัน และนํามาพัฒนาเพ่ือ
นาํ ไปสูแผนปฏิบัตกิ ารประจําป 2563 ท่ีสมบูรณ ตลอดจนศึกษาเรียนรูตามโครงการตามพระราชดําริ
รูจักการใชพลังงานทดแทนและทรัพยากรธรรมชาติอยางประหยัด วิธีการดํารงตนอยางพอเพียง
การมจี ิตสาธารณะ ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลท่ี 10 สามารถนํา
ความรูท่ีไดรับไปปรับใชในชีวิตสวนตัว และสรางสรรคผลงานไดมีประสิทธิภาพมากข้ึน
โดยมีผูเขารับการอบรมเปนขาราชการ ลูกจางประจํา พนักงานราชการ และลูกจางเหมาบริการ
รวมจํานวน 99 คน

สวนแผนงานและพัฒนาบุคลากร จึงไดจัดทําสรุปรายงานผลการดําเนินงาน
โครงการพัฒนาบุคลากรศนู ยเทคโนโลยีทางการศึกษาเพื่อเสริมสรางประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
หลักสตู ร “บุคลากรยุคใหมรวมพลงั ทาํ ดี รักษโ ลก” ประจําปง บประมาณ 2562 ขน้ึ

สารบัญ

เร่อื ง หนา

1. จาํ นวนบุคลากรศนู ยเ ทคโนโลยีทางการศกึ ษาทีเ่ ขารวมกิจกรรม 1
2. กิจกรรมฟงการบรรยายสรุปการผลิตกระแสไฟฟาดวยพลังนาํ้ และการใชไฟฟา
2
อยางประหยัดคุมคาตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 5
ณ หองประชุมโรงไฟฟาลําตะคองชลภาวัฒนา 6
3. กิจกรรมศึกษาดงู านแหลงเรยี นรดู านพลงั งานไฟฟาทดแทนและชมภาพยนตร 7 มติ ิ 8
ณ ศูนยก ารเรียนรู กฟผ.ลําตะคอง
4. กิจกรรมศกึ ษาดงู านเย่ียมชมการผลิตไฟฟา จากกงั หนั ลมและชมวิว 360 องศา 13
ณ กังหันลมเขายายเทีย่ ง กฟผ.ลาํ ตะคอง 19
5. กิจกรรมแลกเปลยี่ นเรียนรูระดมความคิดเพ่ือพัฒนาการปฏิบัติงาน 21
6. กิจกรรมการบรรยายพิเศษเรื่อง “บุคลากรยุคใหมร วมพลงั ทําดี รกั ษโลก” และ 23
“เสนทางความกา วหนาบุคลากร ศท.”
โดย ผูเ ชี่ยวชาญเฉพาะดานเผยแพรทางการศึกษาและคณะผบู ริหารที่เก่ียวของ 24
7. กิจกรรมกลมุ สัมพนั ธ “บุคลากรยุคใหมรวมพลัง ทําดี รกั ษโ ลก”
โดยวิทยากรกลุม นายศภุ กฤษณ มาลากุล และคณะ
- รวมมุทติ าจติ แดผูเกษียณอายุราชการ
8. กิจกรรมศึกษาดงู านนอมนาํ หลักศาสนามาขัดเกลาจิตใจ สักการะ
“พทุ ธอทุ ยานอาณาจักรหลวงปทู วดองคใ หญทส่ี ุดในโลก”
9. สรปุ ผลการประเมนิ การจดั กิจกรรมพฒั นาบุคลากรศนู ยเทคโนโลยีทางการศึกษา
เพ่ือเสรมิ สรางประสิทธภิ าพในการปฏิบัติงาน
หลกั สูตร “บุคลากรยุคใหมรวมพลัง ทําดี รักษโลก”

ภาคผนวก

1. โครงการพัฒนาบคุ ลากรศูนยเ ทคโนโลยีทางการศกึ ษาเพอ่ื เสริมสรา งประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัติงานหลกั สูตร “บุคลากรยคุ ใหมรวมพลัง ทําดี รักษโ ลก”

2. กาํ หนดการหลกั สตู ร “บุคลากรยุคใหมรวมพลงั ทําดี รักษโลก”
3. แบบสอบถามโครงการพัฒนาบุคลากรศูนยเทคโนโลยีทางการศกึ ษา

1

จาํ นวนบคุ ลากร
ศนู ยเ ทคโนโลยีทางการศกึ ษาทเี่ ขา รวมกิจกรรม

จํานวนบุคลากรศนู ยเทคโนโลยีทางการศกึ ษาทีเ่ ขารวมกิจกรรม ประกอบดวย

ขา ราชการ 63 คน

ลูกจา งประจํา 7 คน

พนกั งานราชการ 8 คน

ลูกจา งเหมา 21 คน

รวมทั้งสิ้น 99 คน

2

กิจกรรมฟงการบรรยายสรุปการผลิตกระแสไฟฟาดวยพลงั นํ้าและการใชไฟฟา
อยา งประหยัดคมุ คาตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ณ หอ งประชุมโรงไฟฟา ลําตะคองชลภาวฒั นา

3

เลาขานตํานานโรงไฟฟา
โครงการกอสรางเริ่มดําเนินการกอส รางเม่ือป พ.ศ. 2537 แลวเสร็จในป พ.ศ. 2547

โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ
พระราชทานชื่อโรงไฟฟาพลงั น้ําลําตะคองแบบสูบกลับวา “โรงไฟฟาลําตะคองชลภาวัฒนา” มคี วามหมายวา
โรงไฟฟาลําตะคองเปนท่ีพัฒนาแสงไฟดวยนํ้า ต้ังแตวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 และทรงพระกรุณา
โปรดเกลาฯ ให สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินแทนพระองคไ ปเปด
โรงไฟฟาลําตะคองชลภาวัฒนา ในวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2556 นับเปนโรงไฟฟาแหงสุดทายในรัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ที่ไดรับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกลาฯ
พระราชทานนามอนั เปนสิริมงคล

กาํ ลังการผลติ
โรงไฟฟา ลาํ ตะคองฯ ติดตั้งเคร่ืองกําเนิดไฟฟา ขนาด 250 เมกะวัตต จํานวน 2 เครอ่ื ง รวมกาํ ลงั ผลิต

ติดตัง้ 500 เมกะวตั ต ตอ มาไดต ดิ ต้ังเครื่องกําเนิดไฟฟา เพ่ิมเติมอีกจาํ นวน 2 เครื่อง ทําใหม ีกาํ ลงั ผลิตติดตง้ั
รวมทัง้ สิน้ 1,000 เมกะวัตต

โรงไฟฟาลําตะคองชลภาวัฒนา
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือเปนภูมภิ าคที่ใหญและมปี ระชากรมากท่สี ดุ ในประเทศไทย มีความตอ งการใช

ไฟฟา เพมิ่ มากขน้ึ ทกุ ๆ ป กฟผ. จงึ พิจารณานาํ เทคโนโลยีท่ีทนั สมัย คอื โรงไฟฟา พลงั น้ําแบบสบู กลบั มาสรา ง
โรงไฟฟาในภาคนี้เปนแหงแรกของประเทศไทย

โรงไฟฟา พลงั น้ําลาํ ตะคองฯ แบบสูบกลบั สรางอยูใกลกับเข่ือนลาํ ตะคอง หา งจากตัวเมืองนครราชสีมา
ประมาณ 70 กิโลเมตร ทํางานโดยการสบู นํา้ จากอางเก็บนํ้าเขือ่ นลาํ ตะคองของกรมชลประทานไปเก็บไวทีอ่ าง
พกั น้าํ บนเขายายเที่ยง ในชวงเวลาทีม่ ีความตองการใชไฟฟานอยหรอื ชวงกลางคืนถงึ เชา และเมื่อมีความ
ตองการใชไฟฟาสงู ในชว งกลางวันถึงคาํ่ จะปลอยนา้ํ เพือ่ ผลิตไฟฟา และปลอ ยลงอางเก็บนาํ้ เขอื่ นลําตะคอง
เหมือนเดมิ

อางพักน้าํ บนเขายายเท่ยี งสรา งแบบหนิ ถมดาดดวยยางมะตอย เพ่ือปอ งกันน้ําซึม เกบ็ กกั น้ําได 10.3
ลานลกู บาศกเมตร ตวั อาคารโรงไฟฟา ถูกสรางไวใตระดบั ผิวดินลกึ กวา 350 เมตร เพื่อเพม่ิ ระยะทางจากอาง
เกบ็ นาํ้ บนเขาถึงอาคารโรงไฟฟาใหนํ้าท่ีไหลลงมามีกําลังแรงข้นึ ทาํ ใหโรงไฟฟาลําตะคองชลภาวัฒนา
เปน โรงไฟฟา ใตด ินแหงแรกและแหง เดยี วในประเทศไทย ซ่ึงกอสรา งแลว เสร็จและนาํ ไฟฟาเขาสูระบบเม่ือป
พ.ศ. 2547

บทบาทของภาคเอกชนในการผลติ ไฟฟา
รัฐบาลไดม นี โยบายเพิ่มบทบาทของภาคเอกชนในการผลติ ไฟฟา เพอื่ เปดโอกาสให กฟผ.สามารถรวม

ลงทุนกบั ภาคเอกชนดาํ เนินธุรกิจที่เก่ียวเน่ืองกับ กฟผ.ได ซึง่ ในป 2535 ไดม กี ารจัดต้งั บริษัท ผลติ ไฟฟา จาํ กัด
(มหาชน) และกระจายหุนในตลาดหลกั ทรพั ย รวมทั้งซ้ือโรงไฟฟาระยองและขนอม ไปจาก กฟผ. และถือไดวา
เปนโรงไฟฟาเอกชนโรงแรกของประเทศไทย ในป 2543 ไดมีการจัดตั้งบริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลด้ิง จาํ กัด
(มหาชน) ซ่ึงไดซื้อโรงไฟฟาราชบุรีไปจาก กฟผ. บทบาท ของภาคเอกชนในการผลิตไฟฟาอีกดานหน่ึง คือ
เปนการลงทุนสรางโรงไฟฟาของเอกชนโดยตรง ท้ังในรูปแบบผูผลิตไฟฟาเอกชนขนาดใหญ (Independent
Power Producer) และผผู ลติ ไฟฟาเอกชนขนาดเล็ก (Small Power Producer) นอกจากน้ี ยงั มกี ารสง เสริม
ใหม กี ารใชพลงั งานนอกรูปแบบ อาทิ กากหรือเศษวัสดุที่เหลือใชจากการเกษตรอีกดวย ศนู ยก ารเชื่อมโยง

4

เครือขายไฟฟาในอาเซียน ยุทธศาตรพลังงานของประเทศจากการพัฒนากิจการไฟฟาของประเทศไทย
จนมีระบบท่ีม่ันคงมีประสิทธิภาพอันเปนที่ยอมรับและเช่ือถือในระดับสากล ประกอบกับโดยลักษณะ
ภูมิศาสตรนั้น ประเทศไทยต้ังอยูเปนศูนยกลางของกลุมประเทศอาเซียนที่เอื้ออํานวยตอโอกาสของการเปน
ศูนยกลางในการเช่ือมโยงเครือขายระบบไฟฟาในภูมภิ าคอาเซียนไดเปนอยางดี อันจะกอใหเกิดความรวมมือ
ในการพัฒนาระบบไฟฟาของอาเซียนเพ่ือแบงปนการใชท รัพยากรพลังงานในการผลิตไฟฟารวมกันและสราง
ระบบสงไฟฟาเชื่อมโยงถึงกันในกลุมประเทศอาเซียนอันจะนํามาสูความแข็งแกรงและความสามารถใน
การแขงขันของกลุมประเทศอาเซียนยิ่งขึ้นรัฐบาลไดเล็งเห็นความสําคัญดังกลาว จึงไดกําหนดแนวทาง
การพัฒนาดงั กลา วไวเปนยุทธศาสตรพลงั งานของประเทศ

พลังงานทดแทน.....ความมงุ ม่นั เพื่อยั่งยืน
การผลิตไฟฟาในปจจุบันนี้สวนใหญใชเช้ือเพลิงฟอสซิล อาทิ นํ้ามัน กาซธรรมชาติ ถานหิน เปนตน

ซ่ึงเชื้อเพลิงดังกลาวมีปริมาณจํากัดและมีแตจะหมดไปจากโลก การแสวงหาวิธีการผลิตไฟฟาโดยใชพลังงาน
ทดแทนหรอื พลังงานทางเลอื กจึงเปนแนวทางที่ประเทศไทยไดทาํ การศึกษาอยางจริงจังมาโดยตลอดพรอม ๆ
กับการพัฒนากิจการไฟฟาในประเทศไทย กฟผ. ไดศ กึ ษาคน ควาพลังงานทดแทนท่ีมีแนวโนมของความเปนไป
ไดในประเทศไทยหลายชนิด อาทิ พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย พลังงานความรอนจากใตดิน มาทดลอง
ผลติ ไฟฟา อีกทง้ั ยงั ไดศกึ ษาคนควาพลงั งานทดแทนของตา งประเทศเพอื่ นํามาประยุกตใชในประเทศไทย

จากการศึกษามาเปนระยะเวลานานทําใหเกิดโรงไฟฟาพลังงานทดแทนตนแบบ เชน โรงไฟฟาเซล
แสงอาทิตยตนแบบคลองชอ งกล่ํา จังหวัดสระแกว โรงไฟฟาเซลแสงอาทิตยตนแบบและโรงไฟฟาพลังงานลม
ตนแบบ ทีแ่ หลมพรหมเทพ จงั หวัดภเู กต็ โรงไฟฟา พลงั ความรอนใตพิภพตน แบบท่ี อ.ฝาง จังหวัดเชยี งใหม จน
มาสูการกอสรางโรงไฟฟา เซลแสงอาทิตยเพื่อผลติ ไฟฟา จายเขาสูระบบในเชิงพาณิชยแหงแรกของประเทศไทย
คอื โรงไฟฟาเซลแสงอาทติ ยผาบอง จังหวดั แมฮ อ งสอน ขนาด 500 กิโลวัตต แลวเสรจ็ ในป 2547

กิจการไฟฟา ไทย...กับการพัตนาอยางย่ังยืน
การพัฒนาไฟฟาของประเทศไทยนอกเหนือจากการตระหนักถึงการสนองความตองการใชไฟฟา

ใหเพียงพอแลว ยังใหความสําคัญตอการจัดการดานสิ่งแวดลอม ท้ังกอนการกอสรางโครงการ ระหวางการ
กอสรางและเมื่อโรงไฟฟาเดินเครื่องจายไฟฟาแลว ก็ยังคงมกี ระบวนการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม
ตามที่กฎหมายกําหนด นอกจากนี้ การพัฒนากิจการไฟฟาไทยยังใหความสําคัญตอการดําเนินงานดาน
การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานสากลมาใชเพอื่ ยกระดับการใหบรกิ ารและการจัดการดานส่ิงแวดลอมที่เปนไป
ตามมาตรฐานสากล อาทิ ISO 9000 ISO 14001 และมอก.18000 แนวทางในการพัฒนาไฟฟาของประเทศ
ไทย เนนการพัฒนาอยางย่ังยืน มุงประสิทธิภาพสูงสุดท้ังดานการจัดหาพลังงานไฟฟา และการจัดการดาน
การใชไฟฟา สรา งการมสี วนรวมกับประชาชนในการดาํ เนนิ งานโดยมีเปาหมายหลักคือ การประหยดั ทรพั ยากร
พลังงานและการลดผลกระทบส่ิงแวดลอม อันเปนท่ียอมรับกันอยางกวางขวางท่ัวโลกวาเปนแนวทางท่ี
เหมาะสมที่สุดอันจะสงผลใหก ารพฒั นาพลงั ไฟฟาเพ่ือคุณภาพชีวิตท่ีดีของประชากรโลกอยางยัง่ ยืนในสภาวะ
สมดุลของธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม

5

กิจกรรมศกึ ษาดูงานแหลงเรยี นรูดานพลงั งานไฟฟาทดแทนและชมภาพยนตร 7 มิติ
ณ ศูนยก ารเรียนรู กฟผ.ลําตะคอง

6

กจิ กรรมศกึ ษาดูงานเยี่ยมชมการผลิตไฟฟาจากกังหันลม
และชมวิว 360 องศา ณ กงั หันลมเขายายเท่ียง กฟผ.ลาํ ตะคอง

7

กงั หนั ลมลําตะคอง
การผลิตไฟฟาจากกังหนั ลมลําตะคอง เปนโครงการหน่ึงที่ กฟผ. มุงม่ันท่ีจะผลิตไฟฟาจากพลังงาน

หมนุ เวยี น ตามแผนพฒั นากาํ ลังผลติ ไฟฟาของประเทศไทย พ.ศ. 2547 – 2555 (PDP 2004) จากการเก็บสถิติ
ความเร็วลมของ กฟผ. เพ่ือตรวจวัดศักยภาพพลังงานลมสาํ หรับผลิตไฟฟาท่ัวประเทศมาต้ังแตป พ.ศ. 2547
พบวา บริเวณอางพักนํ้าตอนบนของโรงไฟฟาลําตะคองชลภาวัฒนา มีศักยภาพดีท่ีสุดแหงหน่ึง มีลมพัดถึง
2 ชวง คือชวงฤดูลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (ระหวางเดือนพฤศจิกายน ถึงปลายเดือนมีนาคม) และลม
มรสุมตะวนั ตกเฉยี งใต (ระหวางเดือนพฤษภาคม ถงึ กลางเดือนตลุ าคม) มีความเร็วลมเฉลย่ี ทงั้ ปประมาณ 5 - 6
เมตรตอวินาที เหมาะสมทีจ่ ะพฒั นาสรา งกังหนั ลมเพ่ือใชผลติ ไฟฟา

กฟผ. จึงไดดําเนินโครงการติดต้ังกังหันลมจํานวน 2 ชุด ขนาดกําลังผลิตชุดละ 1,250 กิโลวัตต
รวมกําลังผลิต 2,500 กิโลวัตต และดําเนินการติดตั้งกังหันลมเพ่ิมอีก 12 ตน ตน ละ 2,000 กิโลวัตต ทําใหมี
กําลงั ผลติ ติดตัง้ รวมทั้งส้ิน 26,500 กโิ ลวตั ต

8

กิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนรูระดมความคดิ เพอื่ พฒั นาการปฏิบตั ิงาน

9

สรุปผลการระดมความคดิ ของบุคลากรศูนยเทคโนโลยีทางการศกึ ษาเพื่อพฒั นาการปฏบิ ัติงาน

1. กลมุ อํานวยการ ปญหา ขอเสนอแนะในการแกไ ข
หรือการพฒั นา
การปฏิบัตงิ าน - โครงสรางในสวนไมโต อตั รากาํ ลังคน
ไมเพียงพอ - ขออัตรากําลังจากจา งเหมาเปนพนักงาน
1. ดา นโครงสรางองคก รอัตรากําลัง - การยบุ ตาํ แหนง ลูกจางประจํา, ราชการ
การพัฒนากําลังคน ขา ราชการเกษียณอายุราชการ - เง่ือนไขใหไดม าซึ่งตําแหนง พนักงาน
- คอมพิวเตอร เคร่ืองพิมพ เกาและ ราชการ
2. ดา นเครอ่ื งมืออุปกรณเทคโนโลยี ชํารุด - ขอรับการจัดสรรงบประมาณซ้ือ/ซอ ม
- ครุภณั ฑสาํ นักงาน โตะ เกาอ้ี เกาและ
3. ดา นการปฏิบัติงาน ชาํ รดุ - ตรวจสอบทานเพือ่ ใหถ ูกตอ งตรงกัน
4. ดา นการบรหิ ารจัดการองคกร - การตรวจสอบทานผลการใชงบของ ดานเอกสารการใชงานจรงิ
5. ดา นสภาพแวดลอมในการทาํ งาน แตล ะประเภท -
- - ปรบั ปรงุ แผนผังตําแหนงโตะ ทํางาน
6. ดา นงบประมาณ - แผนผงั โตะ ทาํ งาน - ปรบั ปรงุ หองเกบ็ พสั ดุช้ัน 1 ซอ มทาสี
7. ดา นสวัสดกิ ารขวัญกําลังใจในการ - หอ งพัสดุช้ัน 1 มีเชอื้ ราข้ึน -
ปฏิบตั ิงาน - -
-

2. กลุมโทรทัศนเ พื่อการศึกษา ปญหา ขอ เสนอแนะในการแกไ ข
หรอื การพฒั นา
การปฏบิ ัตงิ าน - คนไมค รบตามอัตรา
1. ดา นโครงสรา งองคก รอัตรากําลัง - คนขาดโอกาสท่ีจะมารวมงาน - ทดแทนตาํ แหนง ท่ีหายไป
การพัฒนากาํ ลงั คน - ใหคนท่ีมีความต้ังใจ มีพื้นฐานทาง
2. ดา นเคร่อื งมอื อุปกรณเทคโนโลยี - เครอ่ื งมืออปุ กรณป จจบุ ันไมท ัน โทรทศั นไดเขามามีโอกาสรว มงาน
เทคโนโลยี (เนื่องจากระบบราชการ) - สนบั สนนุ ใหมีการเชา อปุ กรณห รือ
3. ดา นการปฏิบตั ิงาน - อายุการใชงานของอุปกรณ กําหนดอายุระยะการปรับเปลย่ี นครุภณั ฑ
4. ดา นการบริหารจดั การองคกร - ผปู ฏิบตั ิงานที่ไดรบั งานไมตรงกับ
ความสามารถ - ใหไ ดร บั การทาํ งานตอเน่ือง
5. ดา นสภาพแวดลอมในการทํางาน - ไดรบั การมอบหมายงานทไี่ มตรงกับ
6. ดา นงบประมาณ ความรบั ผดิ ชอบ เชน ใชเปนสถานที่ - พิจารณาเพือ่ ใหเหมาะสมในการใช
7. ดา นสวัสดิการขวัญกาํ ลังใจในการ ออกขอสอบ เปนตน งานที่ไดรับอาจ สถานที่
ปฏบิ ัตงิ าน ไมตอ เนื่อง
- ขาดพื้นท่ีเพ่อื การออกกําลังกายและ - ใหม สี ถานท่ีในการออกกาํ ลงั กาย
นันทนาการ มมุ นันทนาการ
- อัตราคาใชจา ยไมไดถูกปรบั ให - หารือกรมบัญชีกลางเพ่ือออกระเบียบ
เหมาะสมกบั สภาพความเปนจริง ใหสอดคลองกับความเปนจรงิ
- - ผลักดัน ทดแทนคนในสายงาน

10

3. กลุมวทิ ยุเพ่อื การศึกษา ปญ หา ขอ เสนอแนะในการแกไ ข
- ขาดอัตรากาํ ลัง 4 คน หรอื การพัฒนา
การปฏิบัติงาน
1. ดา นโครงสรา งองคกรอัตรากาํ ลัง - อปุ กรณบ างอยา งเริ่มเส่อื มสภาพการ - ขอเพ่ิมอัตราใหครบ
การพฒั นากาํ ลงั คน ใชงาน - ขอปรบั เพิ่มโครงสรา งเปน 5 ฝาย คอื
ฝายผลิตตามหลักสตู ร ผลติ ตามอัธยาศยั
2. ดา นเคร่อื งมอื อุปกรณเทคโนโลยี - ขาดบุคลากรในการปฏิบัตงิ านอยา ง ฝายออกอากาศ ฝา ยขา ววิทยุ และฝาย
มาก เครือขายสมั พันธ
3. ดา นการปฏิบตั ิงาน - ขาดบุคลากรที่มคี วามรูทกั ษะในการ - จํานวนบุคลากรตามโครงสรา งท่ีตองการ
4. ดา นการบริหารจัดการองคกร ปฏบิ ตั งิ าน คอื 20 คน
5. ดา นสภาพแวดลอมในการทาํ งาน - สภาพแวดลอมของหนว ยงาน - เตรียมการปรบั เปลี่ยนเครือ่ งมือ
6. ดา นงบประมาณ - งบประมาณไมเพียงพอ ที่ไดรับมา เน่อื งจากอปุ กรณบ างอยา งไมมกี ารผลิต
นอ ยกวาปริมาณงาน แลว เชน CD เพือ่ ใหท ันตอ การ
7. ดา นสวัสดกิ ารขวัญกาํ ลังใจในการ - ปจ จุบันไมมีจากหนวยงานกลาง เปลี่ยนแปลงทันสมัยใหม
ปฏิบัตงิ าน - ใหจัดสรรอตั รากาํ ลงั โดยดว น

- ตอ งพฒั นาบคุ ลากรใหมีความรูความ
ชํานาญในการปฏบิ ัติงานใหม ปี ระสิทธภิ าพ
- ปรบั ปรงุ ทัศนียภาพและวัสดุสาํ นักงาน
- จัดสรรงบประมาณใหเพียงพอ และทํา
ความตกลงกบั กรมบัญชีกลางใหเ ปน
ปจจบุ ัน
- ควรจะมสี วสั ดิการใหผูปฏิบตั ิงาน

4. กลุมเทคนิคและวิศวกรรม ปญ หา ขอเสนอแนะในการแกไ ข
หรือการพัฒนา
การปฏบิ ัตงิ าน - ไมสามารถเตบิ โตในสายงานได
- ขาดการฝกอบรมและพฒั นาคนให -
1. ดา นโครงสรางองคกรอัตรากาํ ลัง กา วทนั เทคโนโลยีท่เี ปล่ียนไป
การพฒั นากาํ ลงั คน - อุปกรณบ างสว นหมดอายุการใชงาน - ควรมีแผนงบประมาณและกรอบเวลาใน
และลาหลังหลังจากไดรบั การจัดสรร การใชงานอปุ กรณและกาํ หนดแผนการ
2. ดา นเคร่อื งมอื อุปกรณเทคโนโลยี เพียงไมก่ีป (ตกรุน) จัดสรรงบประมาณใหตามอายุการใชง าน
- อตั รากําลงั ไมเพียงพอตอ การทาํ งาน
3. ดา นการปฏิบตั งิ าน - ไมมีความกา วหนาในการปฏิบตั งิ าน -
- เรียกบรรจุแลวยา ยหรือลาออก
4. ดานการบรหิ ารจดั การองคกร บอย ๆ ทําใหข าดบุคลากรตอเนอ่ื ง -
5. ดา นสภาพแวดลอมในการทาํ งาน - - ลูกจา งควรไดรับการบรรจุแตง ตั้งเปน
- หองพักของเจา หนาทไี่ มเ พยี งพอ พนักงานราชการหลังจากปฏิบตั งิ าน
6. ดา นงบประมาณ (ชางภาพไมมีโตะทาํ งาน) มาแลวไมนอยกวา 3 ป เพราะไดร ับการ
7. ดา นสวัสดกิ ารขวัญกําลังใจในการ - ฝก ฝนใหชํานาญแลว
ปฏบิ ัติงาน - จัดหอ งออกกําลงั กาย
- มีสวัสดิการ (ประกันสงั คม)
- ขาดขวัญกําลงั ใจในการปฏิบัติงาน

11

5. กลุมแผนงาน ส่ือคนพิการ และสื่อดิจิทัลเพ่ือการศึกษา

การปฏิบัติงาน ปญ หา ขอเสนอแนะในการแกไ ข
หรือการพัฒนา
1. ดา นโครงสรางองคกรอัตรากําลัง - อตั รากาํ ลงั และโครงสรา ง
การพัฒนากาํ ลงั คน ไมสอดคลองกัน คนไมตรงกบั งาน - ขออัตรากําลังใหค รบทุกตาํ แหนง
บางงานไมมีคนรบั ผิดชอบ - ขอความชัดเจนดา นโครงสรางและ
อัตรากําลงั

2. ดา นเครอ่ื งมืออุปกรณเทคโนโลยี - อปุ กรณเ สอ่ื มสภาพลา สมัย - จัดหาและจัดสรรงบประมาณใหเพียงพอ
- อปุ กรณขาดแคลน

3. ดา นการปฏิบตั งิ าน - งานซบั ซอนกันไมม ีความชัดเจน - ทาํ งานใหตรงตามภารกิจและหนาที่
- การมอบหมายงานไมตรงตามหนาที่
4. ดา นการบรหิ ารจดั การองคกร - การสั่งงานไมตรงตามภารกจิ งาน - สรางความชัดเจนในการทาํ งาน
- บริหารงานใหช ดั เจนข้ึน
5. ดา นสภาพแวดลอ มในการทาํ งาน - -
6. ดา นงบประมาณ - ระเบียบไมส อดคลอ งกบั การทํางาน - นําเสนอผบู รหิ ารใหงบสอดคลอ งกบั
(งบลงทุน,งบใชส อย) การทํางาน
7. ดา นสวัสดกิ ารขวัญกําลังใจในการ - การเลอ่ื นตาํ แหนงสายงาน ทาํ งานมี - ผบู ริหารประเมินดว ยความเปนธรรม
ปฏบิ ตั งิ าน ความชาํ นาญดา นหนึ่งไปทํางานอีกงาน
อืน่

จากตารางท่ี 1 -5 การระดมความคิดของบุคลากรศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษาเพื่อพัฒนาการ
ปฏิบัตงิ าน ไดแบงกลุมระดมความคิดเปน 5 กลุม คือ กลุมอํานวยการ กลุมโทรทัศนเพ่ือการศึกษา กลุมวิทยุ
เพื่อการศึกษา กลุมเทคนิคและวิศวกรรม และกลุมแผนงาน ส่ือคนพิการ ส่ือดิจิทัลเพื่อการศึกษา สามารถ
สังเคราะหตารางประเด็นปญหาท่ีเกิดขึ้นในการปฏิบัติงานและขอเสนอแนะแนวทางในการแกไขปญหาใน
ภาพรวมของศนู ยเทคโนโลยที างการศึกษา ไดด งั น้ี

1. ดานโครงสรางองคกรอัตรากําลังการพัฒนากําลังคน
ปญหาอุปสรรคท่ีเกิดข้ึนในการปฏิบัตงิ าน คือ โครงสรางในสวนไมสามารถเตบิ โตในสายงานได อัตรา
กําลังคนไมเพียงพอ การยุบตาํ แหนงลูกจางประจํา,ขาราชการเกษียณอายุราชการ ทําใหคนไมครบตามอัตรา
คนขาดโอกาสท่ีจะมารวมงาน บุคลากรขาดการฝกอบรมและพัฒนาคนใหกาวทันเทคโนโลยีท่ีเปล่ียนไป
อตั รากําลงั และโครงสรา งไมสอดคลอ งกัน และบางงานไมม คี นรับผิดชอบ
ขอเสนอแนะแนวทางในการแกไขปญหา คือ การขออัตรากําลังจากจางเหมาเปนพนักงานราชการ
เงอ่ื นไขซ่ึงใหไดมาของตําแหนงพนกั งานราชการทดแทนตําแหนง ที่หายไป ใหบคุ ลากรท่ีมีความต้งั ใจ มีพ้ืนฐาน
ทางโทรทศั นไดเขามามีโอกาสรวมงาน ขอปรับเพ่ิมโครงสรางเปน 5 ฝาย คือ ฝายผลิตตามหลกั สูตร ผลิตตาม
อัธยาศยั ฝา ยออกอากาศ ฝายขา ววิทยุ และฝายเครอื ขา ยสัมพนั ธ จํานวนบคุ ลากรตามโครงสรางท่ีตองการคือ
20 คน ขอเพิม่ อตั รากาํ ลงั ใหค รบทุกตําแหนง ท่วี าง มีความชดั เจนดา นโครงสรางและอัตรากาํ ลงั
2. ดานเคร่ืองมืออปุ กรณเทคโนโลยี
ปญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน คือ คอมพิวเตอร เคร่ืองพิมพ เกาและชํารุด ครุภัณฑ
สํานักงาน โตะเกาอี้ เกาและชํารุด เครื่องมืออุปกรณปจจุบันไมทนั เทคโนโลยี (เน่ืองจากระบบราชการ) อายุ
การใชงานของอุปกรณบางอยางเร่ิมเส่ือมสภาพการใชงาน อุปกรณบางสวนหมดอายุการใชงานและลาหลัง
หลังจากไดร ับการจัดสรรเพียงไมกปี่  (ตกรุน)

12

ขอเสนอแนะแนวทางในการแกไ ขปญหา คือ ขอรับการจัดสรรงบประมาณซ้อื /ซอม สนบั สนุนใหมีการ
เชาอุปกรณหรือกําหนดอายุระยะการปรับเปลี่ยนครุภัณฑ การเตรียมการปรับเปล่ียนเคร่ืองมือเน่ืองจาก
อุปกรณบางอยางไมมีการผลิตแลว เชน CD เพื่อใหทันตอการเปล่ียนแปลงทันสมัยใหม ควรมีแผนงบประมาณ
และกรอบเวลาในการใชงานอปุ กรณและกําหนดแผนการจัดสรรงบประมาณใหตามอายุการใชงาน จัดหาและ
จดั สรรงบประมาณใหเพียงพอ

3. ดานการปฏบิ ตั ิงาน
ปญหาอุปสรรคท่ีเกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน คือ การตรวจสอบทานผลการใชงบของแตละประเภท
ผูปฏิบัติงานท่ีไดรับงานไมมีความเปนงานในอาชีพ ขาดบุคลากรในการปฏิบัติงานอยางมาก อัตรากําลัง
ไมเพียงพอตอการทาํ งาน การเรียกบรรจุแลวยายหรือลาออกบอย ๆ ทําใหขาดบุคลากรตอเนื่อง งานซับซอ น
กนั ไมม ีความชดั เจน และการมอบหมายงานไมตรงตามหนา ท่ี
ขอเสนอแนะแนวทางในการแกไขปญหา คือ ตรวจสอบทานเพื่อใหถูกตองตรงกันดานเอกสาร
การใชงานจรงิ ใหไดร บั การทาํ งานตอเน่ือง ใหจ ดั สรรอตั รากําลงั โดยดว น ทาํ งานใหต รงตามภารกิจและหนา ที่
4. ดานการบริหารจดั การองคกร
ปญหาอุปสรรคท่ีเกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน คอื ไดรับการมอบหมายงานท่ีไมตรงกับความรบั ผิดชอบ
เชน ใชเปนสถานที่ออกขอสอบ เปนตน งานที่ไดรับอาจไมตอเน่ือง ขาดบุคลากรที่มีความรูทักษะใน
การปฏิบัติงาน การส่งั งานไมต รงตามภารกิจงาน
ขอเสนอแนะแนวทางในการแกไขปญหา คือ การพิจารณาความเหมาะสมในการใชสถานท่ีเพ่ือออก
ขอ สอบ ตองพฒั นาบุคลากรใหมีความรูความชํานาญในการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพและสรา งความชัดเจน
ในการทํางาน บรหิ ารงานใหชดั เจนขึน้
5. ดานสภาพแวดลอมในการทํางาน
ปญหาอุปสรรคที่เกิดข้ึนในการปฏิบัติงาน คือ การจัดวางแผนผงั โตะทํางาน หองพัสดุช้นั 1 มีเชื้อรา
ขึ้น ขาดพ้ืนที่เพื่อการออกกําลังกายและนันทนาการสภาพแวดลอมของหนวยงาน หองพักของเจาหนาท่ี
ไมเ พียงพอ ชางภาพไมมีโตะ ทาํ งาน
ขอเสนอแนะแนวทางในการแกไขปญหา คือ ตองปรับปรุงแผนผังตําแหนงโตะทํางาน ปรับปรุงหอง
เก็บพัสดุช้ัน 1 ซอมทาสี ใหมีสถานท่ีในการออกกําลังกาย มุมนันทนาการ ปรับปรุงทัศนียภาพและวัสดุ
สาํ นักงาน
6. ดานงบประมาณ
ปญหาอุปสรรคที่เกิดข้ึนในการปฏิบัตงิ าน คือ อัตราคาใชจ ายไมไ ดถูกปรบั ใหเหมาะสมกบั สภาพความ
เปนจริง งบประมาณไมเพียงพอ ที่ไดรับมานอยกวาปริมาณงาน ระเบียบการเบิกจายไมสอดคลองกับ
การทาํ งาน (งบลงทนุ ,งบใชสอย)
ขอเสนอแนะแนวทางในการแกไขปญหา คือ หารือและทําความตกลงกับกรมบัญชีกลางเพื่อออก
ระเบยี บการเบกิ จายในอัตราท่ีเหมาะสมกับสภาพปจจบุ ัน เชน งบลงทนุ การพัฒนาเว็บไซต และการเบิกจาย
คาผลิตรายการวิทยแุ ละรายการโทรทัศน ขอรบั จดั สรรงบประมาณใหเพยี งพอ
7. ดานสวสั ดิการขวัญกําลังใจในการปฏิบัตงิ าน
ปญหาอุปสรรคท่ีเกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน คือ ปจจุบันไมมีสวัสดิการขวัญกําลังใจจากหนวยงานตน
สังกัด จัดหองออกกําลังกาย ไมมีสวัสดิการ (ประกันสังคม) การเลอื่ นตําแหนงสายงานทํางานมีความชํานาญ
ดานหนงึ่ ไปทาํ งานอกี งานอื่น
ขอเสนอแนะแนวทางในการแกไขปญหา คือ ควรจัดสวสั ดกิ ารใหผปู ฏิบตั ิงานในรูปแบบตา ง ๆ ลูกจาง
ควรไดรับการบรรจุแตงต้ังเปนพนักงานราชการหลังจากปฏิบัติงานมาแลวไมนอยกวา 3 ป เพราะไดรับการ
ฝก ฝนใหช ํานาญแลว ผูบรหิ ารประเมนิ ดวยความเปนธรรม

13

กจิ กรรมการบรรยายพิเศษเรื่อง “บุคลากรยุคใหมรวมพลัง ทาํ ดี รักษโ ลก”
และ“เสนทางความกา วหนาบุคลากร ศท.”
โดย...

นายสราวุธ กองสุทธใิ จ ผู้เชยี วชาญเฉพาะด้านเผยแพร่ทางการศกึ ษา
นายมนตรี คุ้มเกตุ นักวิชาการศึกษาชาํ นาญการพิเศษ
นายอาทติ ย์ เรืองยศ นักจัดการงานทวั ไปชาํ นาญการ

14

เสนทางความเจรญิ กาวหนาในอาชีพการงาน
ของบคุ ลากรศนู ยเทคโนโลยีทางการศึกษา

...................................
1. โครงสรางองคก ร

โครงสรา งตามกฎหมาย ตามคําส่งั สป.ศธ ที่ 180/2557 แบงออกเปน 7 สวน 1 กลุมงาน ไดแก
1. สว นอํานวยการ
2. สถานีวิทยุโทรทศั นเพ่อื การศกึ ษา
3. สถานวี ิทยุกระจายเสียงเพ่ือการศกึ ษา
4. สวนผลิตรายการโทรทัศนเ พ่ือการศกึ ษา (รงั สติ )
5. สวนเทคนิคและซอ มบํารงุ
6. สว นวศิ วกรรมและพฒั นานวตั กรรมการศกึ ษา
7. สวนส่ือการศึกษาเพื่อคนพกิ าร
8. กลมุ แผนงานและพฒั นาบคุ ลากร
แตเพ่ือความคลองตัวในการปฏบิ ัตงิ านศูนยเทคโนโลยีทางการศกึ ษาไดจ ัดโครงสรา งขององคกรใหมเปน
การภายในและถอื ปฏบิ ัติตั้งแตป  2555 โดยแบงออกเปน 14 สวน 2 สถานี ดังน้ี
1. สวนอาํ นวยการ
2. สว นแผนงานและพฒั นาบคุ ลากร
3. สวนรายการโทรทัศนเพ่ือการศึกษาตามหลักสูตร
4. สว นรายการโทรทัศนเ พ่ือการศกึ ษาตามอัธยาศัย
5. สว นขา วโทรทัศน
6. ศูนยผลิตรายการโทรทัศนแ ละวดิ โี อเทปเพื่อการศกึ ษา (รงั สิต)
7. สวนบริหารงานสถานีวิทยุโทรทศั นเพือ่ การศึกษา
8. สว นรายการและออกอากาศทางวิทยุ
9. สวนขา ววิทยุเพื่อการศึกษา
10. สวนเทคนิคโทรทศั น
11. สวนเทคนิควิทยุ
12. สวนวิศวกรรมและซอมบํารุง
13. สวนสอ่ื การศึกษาเพอ่ื คนพิการ
14. สวนสอื่ ดิจทิ ลั เพ่ือการศกึ ษา
15. สถานีวิทยโุ ทรทศั นเพ่ือการศกึ ษา
16. สถานีวิทยกุ ระจายเสยี งเพื่อการศึกษา
หากมกี ารปรบั ปรงุ โครงสรา งองคก รใหม กลุมการเจาหนา ที่แจงวาตองใชห ลักเกณฑดังน้ี
1. แตละกอง ศนู ย ควรจะมกี ารแบงงานภายในไดไ มเกนิ 10 กลมุ งาน/สว น
2. กลุมงานภายในจะตองมขี าราชการปฏิบตั ิงาน ไมน อยกวา 4 คน หากมีพนกั งานราชการใหนบั พนักงาน
ราชการ 2 คน เปนขา ราชการ 1 คน

2. จํานวนบคุ ลากรทป่ี ฏิบตั ิงานในปจจุบัน
2.1 ขาราชการ 105 คน (อัตราตําแหนง 129 ตาํ แหนง)
2.2 พนักงานราชการ 11 คน
2.3 ลกู จางประจํา 13 คน
2.4 พนกั งานจางเหมาบริการ 37 คน

15

3. บุคลากรเกษยี ณอายุราชการ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 และบุคลากรโอนยาย ลาออก

3.1 ขา ราชการ 6 คน

3.1.1 นายมนตรี คุมเกตุ นักวิชาการศึกษาชาํ นาญการพเิ ศษ

3.1.2 นางสาวลัดดา เจรญิ ชาศรี นกั วิชาการศกึ ษาชาํ นาญการพิเศษ

3.1.3 นางสาวศริ ิวรรณ สนุ ทรศัพท นักวิชาการศกึ ษาชํานาญการพเิ ศษ

3.1.4 นางสาวสภุ ัทรา ลภะวงศ นักวิชาการศกึ ษาชํานาญการพเิ ศษ

3.1.5 นางรตั นา จริ สชั ฌกร นักวชิ าการศกึ ษาชาํ นาญการพิเศษ

3.16 นางกาญจนา ประทุมรตั น เจาพนักงานธุรการชํานาญงาน

3.2 ลกู จางประจาํ 2 คน

3.2.1 นายไพฑรู ย สีนาคลวน หัวหนา พนักงานขบั รถยนต ส ๔

3.2.2 นายสภุ าพ พันธุเมน พนักงานบริการ ส ๓

3.3 การโอนยา ย ลาออก

3.3.1 อยูในระหวางการรอคําสั่ง 1 ตาํ แหนง ไดแก นางสาวจีรภา ศรีผยู

ตําแหนง นักวิชาการเงนิ และบัญชีปฏบิ ตั กิ าร

3.3.2 ลาออกจากราชการ 1 ตําแหนง ไดแก นายคณวัชร ระยายาว

ตําแหนง นายชางไฟฟาปฏิบัตงิ าน

4. ตําแหนงวาง

4.1 สวนรายการโทรทศั นเพ่ือการศึกษาตามหลกั สูตร วา ง 3 ตําแหนง

- นักวิชาการศึกษาชํานาญการพิเศษ วาง 3 ตําแหนง (ประพันธ,สมนกึ ,รวิภา)

4.2 สวนบริหารงานสถานวี ทิ ยุโทรทัศน วา ง 1 ตําแหนง

- นกั วิชาการศกึ ษาชาํ นาญการพิเศษ วา ง 1 ตําแหนง (สุดาพร)

4.3 ศนู ยผลติ รายการโทรทัศนเ พื่อการศกึ ษา (รงั สิต) วาง 5 ตําแหนง

- นกั วิชาการศึกษาชํานาญพิเศษ วา ง 1 ตําแหนง (รตั นา)

- นกั จัดการงานท่ัวไปปฏบิ ตั ิการ วา ง 1 ตาํ แหนง (นริศา)

- วิศวกรไฟฟาปฏิบัตกิ าร วา ง 1 ตําแหนง

- นายชางไฟฟา ปฏิบัตงิ าน วาง 1 ตําแหนง

- นกั วชิ าการศกึ ษาปฏิบัตกิ าร วา ง 1 ตาํ แหนง (ธีรภทั ร)

4.4 สวนสอื่ การศกึ ษาเพอ่ื คนพิการ วา ง 1 ตาํ แหนง

- นักวิชาการศกึ ษาปฏิบตั ิการ วาง 1 ตาํ แหนง (วรชาติ)

4.5 สวนส่ือดิจิทลั เพื่อการศกึ ษา วาง 2 ตําแหนง
- นักวิชาการศกึ ษาชํานาญการพิเศษ วา ง 2 ตําแหนง (ศริ ิวรรณ,สภุ ทั รา)

4.6 สวนแผนงานและพัฒนาบุคลากร วาง 3 ตาํ แหนง

- นกั วชิ าการศึกษาชํานาญการพิเศษ 1 ตาํ แหนง (มนตรี)
- นักวชิ าการศึกษาปฏิบัตกิ าร 2 ตาํ แหนง (บญุ ยงค,พจมาลย)

4.7 สวนรายการและออกอากาศทางวิทยุ วา ง 2 ตาํ แหนง

- นักวชิ าการศกึ ษาปฏบิ ตั ิการ 2 ตาํ แหนง (มยุรา,ทักษอร)

16

4.8 สวนอํานวยการ วา ง 3 ตาํ แหนง 3 ตาํ แหนง (สมถวลิ ,พวงเพชร,กาญจนา)
- เจาพนักงานธุรการ

4.9 สวนเทคนิควทิ ยุ วา ง 1 ตําแหนง 1 ตําแหนง (คณวัชร ระยายาว)
- นายชา งไฟฟาปฏบิ ัตงิ าน

4.10 สวนวิศวกรรมและซอมบํารุง วาง 2 ตําแหนง

- วิศวกรไฟฟา ส่ือสารชํานาญการพิเศษ 1 ตําแหนง (ภัทรพล)

- วิศวกรไฟฟาสื่อสารปฏบิ ัติการ 1 ตาํ แหนง

5. เสนทางการเจริญเติบโตในสายงาน พฤษภาคม 2562
5.1 การปรับระดับชํานาญการเปนชํานาญการพิเศษ พฤษภาคม 2562
5.1.1 สวนแผนงานและพัฒนบคุ ลากร กันยายน 2563
นายบุญยงค หงษจันทร สงใบสมัครชํานาญการพเิ ศษ
นางพจมาลย จักรเพชร สง ใบสมัครชาํ นาญการพิเศษ พฤษภาคม 2562
นายภูมิศกั ดิ์ ภูมิเขียว สงใบสมัครชาํ นาญการพเิ ศษ
5.1.2 สวนรายการและออกอากาศทางวิทยุ
นางสาวมยุรา เนนิ หาด สงใบสมัครชาํ นาญการพิเศษ

5.1.3 ศนู ยผ ลติ รายการโทรทัศนและวิดีโอเทปเพอื่ การศกึ ษา (รังสติ ) พฤษภาคม 2562
นางสาวธีรภัทร สดุ าทิศ สง ใบสมัครชาํ นาญการพิเศษ

5.1.4 สวนสื่อการศกึ ษาเพื่อคนพิการ พฤษภาคม 2562
นายวรชาติ วฒั นอมร สง ใบสมัครชํานาญการพิเศษ กรกฎาคม 2562
นายเอกชยั เจริญชยั มงคล ครบกําหนดสง ใบสมัครชํานาญการพิเศษ กรกฎาคม 2563
นายดิษฎาพันธ บตุ รกุล ครบกําหนดสง ใบสมัครชํานาญการพิเศษ

5.1.5 สว นอํานวยการ
นายอาทิตย เรอื งยศ ครบกําหนดสงใบสมัครชาํ นาญการพิเศษ ตลุ าคม 2561

5.1.6 สวนรายการโทรทศั นเพื่อการศกึ ษาตามหลักสตู ร
นางสาวธิภทั รา เพ็งจันทร ครบกําหนดสงใบสมัครชาํ นาญการพิเศษ มีนาคม 2564
นายจักกรชิ แกว กลา ครบกาํ หนดสง ใบสมัครชาํ นาญการพิเศษ กันยายน 2564

5.1.7 สว นบริหารงานสถานีวทิ ยุโทรทัศน
นายไตรภทั ร ย้ิมแกว ครบกําหนดสง ใบสมัครชํานาญการพิเศษ กนั ยายน 2564

6. การปรับระดับปฏิบตั กิ ารเปนชํานาญการ สิงหาคม 2561
6.1 สวนอํานวยการ มนี าคม 2564
6.1.1 นางสาววรรณา เอบสูงเนิน สง ใบสมัครชํานาญการ
6.1.2 นางสาวกลั ยวีร พรหมสิทธิ์ ครบกําหนดสงใบสมัครชาํ นาญการ

6.2 สวนวิศวกรรมและซอมบาํ รุง ครบกําหนดสงใบสมคั รชาํ นาญการ ตลุ าคม 2562
- นายธนา กลุ ัตถนาม
(ตองมีใบ กว.)

17

6.3 ศนู ยผลติ รายการโทรทศั นและวดิ ีโอเทปเพื่อการศึกษา (รังสติ ) มถิ นุ ายน 2559
6.3.1 นายภูมิดล นามตาแสง ครบกาํ หนดสง ใบสมัครชาํ นาญการ มกราคม 2559
(ตองมีใบ กว.)
6.3.1 นายสชุ ยั พฒั น หาญกิตตมิ งคล ครบกาํ หนดสงใบสมัครชาํ นาญการ

6.4 สวนรายการโทรทศั นเพอื่ การศึกษาตามหลักสตู ร

6.4.1 นายพิสฐิ แยมนุน ครบกําหนดสงใบสมัครชํานาญการ กุมภาพนั ธ 2563

6.4.2 นายปรมัยวัฒน เกงงาน ครบกาํ หนดสงใบสมัครชํานาญการ มนี าคม 2564

7. การเตรียมตัวเขาสตู ําแหนง ท่ีสงู ข้นึ

7.1 การเตรยี มวฒุ ิทางการศกึ ษา

7.1.1 การปรบั ระดับเปนชํานาญการ

- จบปรญิ ญาตรี 6 ป

- จบปริญญาโท 4 ป

- จบปริญญาเอก 2 ป

7.1.2 การปรับระดบั เปนชาํ นาญการพิเศษ

จะตอ งมีระยะเวลาดาํ รงตาํ แหนงชํานาญการหรือเทียบเทา ไมน อยกวา 4 ป

7.2 การเตรียมผลงานทางวชิ าการ

7.2.1 การจัดทาํ ผลงานเปน ชาํ นาญการ

1. จดั ทาํ แบบใบสมัคร

2. จดั ทําแบบประเมินคณุ ลกั ษณะของบคุ คล ใหผ บู ังคบั บัญชาซงึ่ ดาํ รงตาํ แหนง ผูอาํ นวยการ

หรอื เทยี บเทา เปนผปู ระเมนิ

3. จดั ทําผลงานไมนอ ยกวา 2 เร่อื ง โดยเปนผลการปฏบิ ัตงิ านยอนหลงั ไมเกนิ 3 ป ใน

ตําแหนงท่ตี นครอง ณ ปจจบุ ัน (สําเนาและฉบับจรงิ จํานวน 4 ชดุ )

4. จัดทําขอเสนอแนวความคิด/วิธีการเพ่ือพัฒนาหรือปรบั ปรงุ งานใหม ีประสทิ ธิภาพมากขึ้น

จาํ นวน 1 เร่อื ง (สาํ เนาและฉบับจรงิ จํานวน 4 ชดุ )

7.2.2 การจดั ทําผลงานเปนชาํ นาญการพิเศษ

1. จดั ทําแบบใบสมัคร

2. จดั ทาํ แบบประเมินคณุ ลักษณะของบคุ คล ใหผูบังคบั บัญชาซง่ึ ดาํ รงตาํ แหนงผูอาํ นวยการ

หรอื เทยี บเทา เปนผูประเมิน

3. จัดทาํ ผลงานไมน อยกวา 2 เรือ่ ง โดยเปนผลการปฏบิ ัตงิ านยอนหลังไมเ กนิ 3 ป ใน

ตาํ แหนงท่ตี นครอง ณ ปจจุบัน (สาํ เนาจํานวน 5 ชดุ รวมฉบบั จรงิ จาํ นวน 6 ชดุ )

4. จดั ทาํ ขอเสนอแนวความคดิ /วธิ ีการเพื่อพัฒนาหรอื ปรบั ปรงุ งานใหมปี ระสทิ ธิภาพมากขึน้

จํานวน 1 เรอ่ื ง (สําเนาจํานวน 5 ชดุ รวมฉบบั จริง จํานวน 6 ชุด)

7.2.3 การเปลี่ยนสายงานจากแทงท่ัวไป เปน แทง วชิ าการ ไดแก ระดับปฏบิ ัติงาน ระดับชํานาญงาน

(สายงานทั่วไป) มคี วามประสงคจะดําเนินการสอบใหม เปลยี่ นเปนระดบั ปฏิบัติการ (สายงานวิชาการ)

จะไดรบั เงนิ เดือนเทา เดมิ ท่ีได แตไมเกิน 43,600 บาท (ข้นั สูงสุดของระดับปฏบิ ัติการ

7.2.4 การปรบั ระดบั สงู ขึ้นของลูกจา งประจํา เปนไปตามหลกั เกณฑทส่ี ํานักงาน ก.พ. กําหนดไว

โดยจะตองมคี ุณสมบัติครบถว น 3 ดา น ไดแก คณุ วฒุ ิ ระยะเวลาการปฏบิ ตั ิหนาท่ี ความรูความสามารถในการ

ปฏบิ ัติงาน เชน พนักงานพมิ พ จะตองพิมพดีดไดต ามจาํ นวนหนา และระยะเวลาทกี่ ําหนด

18

7.3 การรวบรวมหลักฐานเพื่อทําเกือ้ กูล
7.3.1 การทําเกื้อกูลเพอื่ ปรับระดบั เปน ชาํ นาญการ

- จบปริญญาตรปี ฏบิ ัตงิ านในหนว ยงานปจจบุ ันไมครบ 6 ป
- จบปรญิ ญาโทปฏิบัติงานในหนวยงานปจจุบันไมค รบ 4 ป
- จบปริญญาเอกปฏบิ ตั ิงานในหนวยงานปจจุบันไมครบ 2 ป
จะตองทาํ เขียนแบบฟอรม เกื้อกูล โดยใหผบู ังคบั บัญชาที่เคยดาํ รงตาํ แหนงลงนามรับรอง
7.3.2 การทําเกื้อกูลเพือ่ ปรับระดบั เปน ชํานาญการพเิ ศษ
กรณผี ูส มัครไมเ คยดาํ รงตาํ แหนง ในสายงานทจ่ี ะสมัคร หรือเคยดาํ รงตาํ แหนง ทจ่ี ะสมัคร
คดั เลอื ก แตไ มครบ 1 ป เชน นาย ก. ดาํ รงตําแหนง นักวิเคราะหน โยบายและแผนชํานาญการ มาแลวไมน อย
กวา 4 ป แตตองการจะสมคั รคัดเลือกในตาํ แหนง นักวชิ าการศึกษาชาํ นาญการพิเศษ จะตองมีระยะเวลาในการ
ดาํ รงตาํ แหนงในสายงานนกั วิชาการศึกษา มาแลวไมน อยกวา 1 ป ถา ไมมีระยะเวลาดํารงตําแหนง หรือมี
ระยะเวลาดํารงตําแหนง แตไ มค รบ 1 ป จะตอ งทําเขียนแบบฟอรมเก้ือกูล โดยใหผูบ ังคบั บญั ชาทีเ่ คยดาํ รง
ตําแหนงลงนามรับรอง

8. เงินเดือนขน้ั สูงสดุ (เงินเดือนตนั )

8.1 ประเภทท่ัวไป

ปฏิบัติงาน เดิม 21,010 เล่ือนระดบั สงู ขนึ้ ถัดไป 38,750 บาท

ชํานาญงาน เดิม 38,750 เลือ่ นระดบั สูงข้นึ ถัดไป 54,820 บาท

อาวุโส เดิม 41,620 เล่ือนระดับสงู ขน้ึ ถัดไป 69,040 บาท

8.2 ประเภทวชิ าการ

ปฏบิ ัตกิ าร เดิม 26,900 เลอ่ื นระดบั สงู ขน้ึ ถัดไป 43,600 บาท

ชาํ นาญการ เดิม 43,600 เลอื่ นระดบั สูงขน้ึ ถัดไป 58,390 บาท

ชาํ นาญการพิเศษ เดมิ 58,390 เล่อื นระดับสูงขึ้นถดั ไป 69,040 บาท

เชยี่ วชาญ เดิม 69,040 เลื่อนระดบั สงู ข้นึ ถัดไป 74,320 บาท

(หนังสือสป.ศธ ท่ี ศธ 0201.4/13606 ลงวนั ที่ 24 พ.ย. 2559 เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการใหขาราชการ

พลเรือนสามัญไดร บั เงนิ เดือนสูงกวา ขั้นสงู ของตําแหนงท่ไี ดร บั แตงต้ัง)

8.3 พนักงานราชการ เงนิ เดอื นสงู สดุ 34,700 บาท (ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ

เร่ือง คาตอบแทนพนักงานราชการ (ฉบบั ท่ี 8) พ.ศ. 2558 ลงวันที่ 24 มี.ค. 2558)

8.4 ลกู จางประจาํ

พนกั งานบริการเอกสารทั่วไป ขัน้ สูงสุด 25,670 บาท

พนกั งานบริการ ข้นั สงู สุด 25,670 บาท

พนกั งานธรุ การ ส 3 ขนั้ สงู สดุ 41,610 บาท

พนักงานขบั รถยนต ส 2 ขนั้ สงู สดุ 34,110 บาท

พนกั งานพิมพ ส 4 ขนั้ สูงสุด 41,610 บาท

ชา งไม ส 3,ส 4 ขน้ั สูงสุด 34,110 บาท,ข้ันสูงสุด 41,610 บาท

19

กิจกรรมกลมุ สมั พันธ “บุคลากรยุคใหมร วมพลงั ทําดี รักษโ ลก”

วิทยากรกลุม สัมพันธ

นายศุภกฤษณ มาลากุล
นางสาวสมหญงิ เลิศพรกุลรตั น
นางสาวชวัลนุช บางย่ขี ัน
นางสาวปนัดดา ชุมช่นื

20

กจิ กรรมกลมุ สัมพันธ “บคุ ลากรยุคใหมรวมพลงั ทําดี รักษโ ลก” (ตอ )

21

รวมมุทิตาจติ แดผ เู กษียณอายุราชการ

22

รวมมุทติ าจิตแดผเู กษยี ณอายุราชการ (ตอ)

23

กิจกรรมศึกษาดูงานนอมนาํ หลักศาสนามาขัดเกลาจติ ใจ สักการะ
“พุทธอุทยานอาณาจักรหลวงปูทวดองคใหญที่สดุ ในโลก”

24

สรุปผลการประเมินการจัดกิจกรรมพัฒนาบุคลากร
ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา

เพอื่ เสรมิ สรางประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัติงาน หลักสูตร

“บคุ ลากรยคุ ใหมรวมพลัง ทาํ ดี รกั ษโ ลก”

ระหวางวันที่ 18 – 20 กันยายน 2562
ณ โรงแรมโรแมนติค รสี อรท แอนด สปา อาํ เภอปากชอ ง จังหวัดนครราชสีมา

1. สรุปผลการวิเคราะหขอ มลู ทวั่ ไปของผูเขารับการอบรม
ผูเขารับการอบรมจํานวน 99 คน ไดรับแบบสอบถามกลับคืนมาทั้งหมด 93 ฉบับ คิดเปนรอยละ

93.93 ของกลุมตัวอยางท้ังหมด ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไปของผูเขารับการอบรม ไดแก เพศ อายุ ระดับ
การศึกษา ผลการเรียน และตําแหนง เพื่อใหเกิดความเขา ใจในการสือ่ สารท่ีตรงกัน จึงไดกําหนดสญั ลกั ษณแ ละ
อกั ษรยอในการวิเคราะหข อมูลดงั นี้

n แทน จํานวนผตู อบแบบสอบถาม
x แทน คาเฉล่ยี
S.D. แทน คา ความเบย่ี งเบนมาตรฐาน

ตาราง 1 จาํ นวน และรอ ยละ ขอ มูลทั่วไปของผูเขารบั การอบรม

ขอ มูลทวั่ ไปของผูต อบแบบสอบถาม จํานวน (n = 99) รอยละ

1. เพศ 39 41.90
ชาย 54 58.10
หญิง
10 10.80
2. อายุ 34 36.60
20 – 30 ป 11 11.80
31 – 40 ป 38 40.90
41 – 50 ป
ต้งั แต 51 ป ข้นึ ไป 7 7.50
71 76.30
3. ระดับการศึกษา 15 16.10
ต่ํากวา ปรญิ ญาตรี
ปรญิ ญาตรี 61 65.60
สงู กวา ปรญิ ญาตรี 7 7.50
8 8.60
4. ตําแหนง 17 18..30
ขาราชการ 0 0.00
ลูกจางประจํา
พนกั งานราชการ
ลกู จางเหมาบรกิ าร
อื่น ๆ

25

สรปุ ผลจากตาราง 1 ขอมลู ทั่วไปของผูเขา รับการอบรม จํานวน 93 คน พบวา สวนใหญเปน เพศหญิง
จํานวน 54 คน คดิ เปนรอยละ 58.10 และเพศชาย จาํ นวน 39 คน คดิ เปนรอยละ 41.90

อายุ สว นใหญ อายุตง้ั แต 51 ป ขึ้นไป จาํ นวน 38 คน คิดเปนรอยละ 40.90 รองลงมา คือ อยูในชวง
31 – 40 ป จาํ นวน 34 คน คดิ เปน รอยละ 36.60 ชวงอายุ 41 - 50 ป จาํ นวน 11 คน คิดเปนรอยละ 11.80
ตามลาํ ดับ

ระดับการศึกษา สวนใหญจบปริญญาตรี จํานวน 71 คน คิดเปนรอยละ 76.30 รองลงมา คือ
สูงกวาปรญิ ญาตรี จาํ นวน 16 คน คิดเปนรอยละ 16.10 และตาํ่ กวา ปริญญาตรี จํานวน 7 คน คดิ เปนรอยละ
7.5 ตามลําดบั

ตําแหนง สวนใหญ เปนขาราชการ จํานวน 61 คน คิดเปนรอยละ 65.60 รองลงมา คือ ลูกจางเหมา
บริการ จํานวน 17 คน คิดเปนรอยละ 18.30 พนักงานราชการ จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 8.60 และ
ลกู จางประจาํ คิดเปนรอ ยละ 7.50 ตามลาํ ดับ

2. สรปุ ผลการวิเคราะหความพึงพอใจผเู ขา รับการอบรม
ผลการวิเคราะหการประเมนิ การจัดกิจกรรมของผูเขารับการอบรม มีเกณฑการประเมนิ ความพงึ พอใจ

ในการเขารวมการอบรมพัฒนาบุคลากรศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษาเพ่ือเสริมสรางประสิทธิภาพในการ
ปฏิบัติงานหลักสูตร “บุคลากรยุคใหมรวมพลัง ทําดี รักษโลก” แบบมาตราสวนประมาณคาวิเคราะห
โดยการหาคาเฉลี่ย ซ่ึงกําหนดคาเฉล่ีย และแปลความหมายของคาเฉลี่ยโดยอาศัยการปรับปรุงเกณฑของ
บญุ ชม ศรสี ะอาด (2535 : 100) ดงั นี้

คา เฉลี่ยอยูระหวาง 4.51 – 5.00 หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจมากทีส่ ดุ
คาเฉลี่ยอยูระหวาง 3.51 – 4.50 หมายถงึ ระดบั ความพึงพอใจมาก
คา เฉลย่ี อยูระหวาง 2.51 – 3.50 หมายถึง ระดับความพงึ พอใจปานกลาง
คา เฉล่ียอยูระหวาง 1.51 – 2.50 หมายถึง ระดับความพงึ พอใจนอย
คาเฉลย่ี อยูระหวาง 1.00 – 1.50 หมายถึง ระดับความพึงพอใจนอ ยท่ีสุด

ตาราง 2 คา เฉลยี่ และสว นเบยี่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผเู ขา รบั การอบรม

ดานการประชาสัมพนั ธ ระดับความคิดเห็น
x S.D. แปลผล
1. กาํ หนดการและระยะเวลาการจดั กิจกรรม 4.26 0.64 มาก
2. การจดั ยานพาหนะ 4.45 0.58 มาก
3. การจดั ที่พัก 4.67 0.47 มากทสี่ ุด
4. การอํานวยความสะดวกของเจาหนา ที่ 4.47 0.62 มาก
5. การจัดกิจกรรมศกึ ษาดูงานและทัศนศึกษา 4.47 0.69 มาก
6. การจัดกจิ กรรมสรา งความสามัคคใี นองคก ร 4.45 0.65 มาก
7. การจดั กจิ กรรมบรรยายภาควชิ าการเพ่อื พัฒนาประสทิ ธิภาพ 4.39 0.74 มาก
การปฏบิ ัตงิ าน
8. การจดั กิจกรรมนันทนาการภาคกลางคืน 4.45 0.65 มาก
9. การจดั อาหารและอาหารวาง 4.26 0.67 มาก
10. ความพึงพอใจในภาพรวมของการจัดกิจกรรมพฒั นาองคกร 4.54 0.54 มากทส่ี ุด
ภาพรวม 4.44 0.63 มาก

26

สรุปผลจากตาราง 2 ผลการวิเคราะหการประเมินการจัดกิจกรรมของผูเขารับการอบรมหลักสูตร
“บุคลากรยคุ ใหมรวมพลัง ทาํ ดี รกั ษโ ลก” พบวา โดยภาพรวม อยูในระดับมาก ( x = 4.44, S.D. = 0.63) และ
หากพิจารณาเปนรายขอ ลําดับแรก การจัดที่พัก อยูในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.67, S.D. = 0.47) รองลงมา
คือ ความพึงพอใจในภาพรวมของการจัดกิจกรรมพัฒนาองคกร อยูในระดับมากที่สุด ( x = 4.54, S.D. =
0.54) การอาํ นวยความสะดวกของเจาหนาที่และการจัดกิจกรรมศึกษาดงู านและทัศนศึกษา อยใู นระดับมาก
เทากัน ( x = 4.47, S.D. = 0.62, S.D. = 0.69) การจัดยานพาหนะ การจัดกิจกรรมสรางความสามัคคีใน
องคกร และการจัดกิจกรรมนันทนาการภาคกลางคืน อยูในระดับมาก เทากัน ( x = 4.45, S.D. = 0.58, S.D.
= 0.65, S.D. = 0.65) ตามลําดับ สวนลําดับสุดทาย กําหนดการและระยะเวลาการจัดกิจกรรมและการจัด
อาหารและอาหารวา ง อยใู นระดบั มาก ( x = 4.26, S.D. = 0.64, S.D. = 0.67)

ขอ คดิ เห็นและขอ เสนอแนะอ่ืน ๆ
1. ควรจดั กิจกรรมพฒั นาบคุ ลากรนอกสถานท่ีทกุ ป
2. ควรใหทุกคนที่เขา รวมกิจกรรมทกุ กจิ กรรมอยางพรอมเพรยี ง
3. ควรมกี ิจกรรมสองกระจกดูตนเองเพือ่ สะทอนการทาํ งาน ภาพลกั ษณของตนในสายตาเพ่อื นรวมงาน
4. ไดรบั ความรูและสนกุ กับทุกกจิ กรรม
5. จดั งานไดดมี าก

ภาคผนวก

โครงการพัฒนาบุคลากรศนู ยเ ทคโนโลยีทางการศึกษาเพ่ือเสริมสรางประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัตงิ าน
หลักสูตร “บุคลากรยคุ ใหมรวมพลงั ทําดี รักษโ ลก”
_________________

หลักการและเหตุผล
การพัฒนาและเสริมสรางศกั ยภาพทรัพยากรมนุษยมีเปาหมาย เปนการพัฒนาท่ีสาํ คัญ เพ่ือพัฒนาทุกมิติ

ในทุกชวงวัยใหเปนคนดี คนเกงและมคี ุณภาพ โดยมีความพรอมท้ังกาย ใจ สติปญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบดาน
มีสุขภาวะท่ีดีในทุกชวงวัย มีจิตสาธารณะ รับผดิ ชอบตอสังคมและผูอื่น มวี ินยั รักษาศีลธรรม และเปนพลเมืองดี
ของชาติ มหี ลักคิดท่ีถูกตอง มที กั ษะทจี่ าํ เปนในศตวรรษที่ ๒๑ มที กั ษะสื่อสารท่ีดี ตามนโยบายปฏิรปู การศึกษา
ยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษยของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
จากมุมมองดังกลาว เปนแรงผลักดันใหศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา สํานักงาน กศน. มีเจตนารมณใน
การเสริมสรางบุคลากร ใหมคี วามพรอมในการปฏิบัติหนาที่ราชการใหประสบความสําเร็จตามเปาหมายและตาม
นโยบายปฏิรูปการศกึ ษา สง เสรมิ คณุ ภาพชีวิตท่ดี ี มแี รงจงู ใจในการปฏิบตั ิราชการ เน่อื งจากบุคลากรเปนทรัพยากร
ท่ีมีคุณคา ที่สุดขององคกร เปนผูท ่ีมบี ทบาทสาํ คัญในการขับเคล่ือนภารกิจไปสูเปาหมาย สามารถปฏิบัติหนาที่ได
อยางมืออาชีพ เพ่ือใหโอกาสบุคลากรในองคกรไดแลกเปลี่ยนเรียนรูการดําเนินงานที่ผานมาซึ่งกันและกัน และ
นํามาพัฒนาเพื่อนําไปสูแผนปฏิบัติการประจําป ๒๕๖๓ ที่สมบูรณ ตลอดจนศึกษาเรียนรูตามโครงการตาม
พระราชดําริ รูจักการใชพลังงานทดแทนและทรัพยากรธรรมชาติอยางประหยัด วิธีการดํารงตนอยางพอเพียง
การมีจิตสาธารณะ ตามพระราชดาํ รัสของพระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัวรัชกาลที่ ๑๐ สามารถนําความรูที่ไดร ับ
ไปปรับใชในชีวิตสวนตัว และสรางสรรคผลงานไดมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนั้น ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา
จึงไดจัดโครงการพัฒนาบุคลากรศูนยเทคโนโลยีทางการศกึ ษาเพื่อเสริมสรางประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
หลกั สตู ร “บคุ ลากรยุคใหมรวมพลงั ทาํ ดี รกั ษโลก” ขึ้น

วตั ถุประสงค
๑. เพื่อสง เสรมิ ใหบุคลากรของศนู ยเทคโนโลยที างการศึกษาไดพฒั นาความรู ความเขาใจ องคค วามรู

เก่ียวกับการดําเนินงานท่ีเก่ียวของกับภารกิจของหนวยงาน เพ่ือนําวิธีการและขอคิดตาง ๆ มาพัฒนาการ
ทาํ งานเพื่อประสิทธิภาพขององคกร

๒. เพ่อื เพม่ิ พูนทนุ ความรหู รือทุนปญญาของบุคลากรเก่ยี วกับโครงการตามพระราชดาํ ริ เพ่ือการเรียนรู
วิธีการดํารงตนอยา งพอเพียง การใชพลงั งานทดแทนและทรัพยากรธรรมชาติอยางประหยัด มีจติ สาธารณะ
มีความคิดสรางสรรคท่ีจะพฒั นาและสรางสิ่งใหมๆใหเกิดประโยชนตอตนเองและองคกร

๓. เพื่อสงเสริมใหเกิดการแบงปนถายทอดความรู นําไปสูองคกรแหงการเรียนรูอยางตอเน่ือง
ในการระดมความคดิ เพ่อื ทําแผนปฏบิ ัตกิ ารประจําป ๒๕๖๓

๔. เพ่ือเสรมิ สรา งแรงจูงใจ ขวัญกําลังใจ และความสามัคคีรวมแรงรว มใจของบุคลากรศนู ยเทคโนโลยีทาง
การศึกษา

เปาหมาย
เชงิ ปริมาณ บคุ ลากรที่รว มโครงการจํานวน ๑๐๖ คน มีรายละเอียดดงั นี้
๑. ประธานพธิ ีเปด และผูติดตาม จาํ นวน ๓ คน
๒. บุคลากรของศูนยเทคโนโลยที างการศึกษา จํานวน ๙๙ คน
๓. วทิ ยากรกลุม จํานวน ๔ คน

เชิงคุณภาพ
๑. บุคลากรศนู ยเทคโนโลยีทางการศึกษา สามารถนําความรู ความเขา ใจ ที่ไดจากการศึกษาดูงาน

มาพฒั นาการทาํ งานใหสาํ เรจ็ ตามเปาหมายและวสิ ัยทัศนขององคก ร
๒. บุคลากรศนู ยเทคโนโลยีทางการศึกษา สามารถนําองคความรู ตามแนวทางการดําเนนิ โครงการตาม

พระราชดาํ ริมาประยุกตใชในการปฏิบัติงานและดาํ เนินชวี ติ อยา งพอเพียง รูจักการใชพลงั งานทดแทนและ
ทรัพยากรธรรมชาติอยางประหยัด มีจติ สาธารณะ มีความคิดสรางสรรคที่จะพัฒนาและสรางสิ่งใหม ๆ
ใหเกิดประโยชนตอตนเองและองคก ร

๓. บุคลากรเกิดการยอมรับความคิดใหมๆ รวมเรียนรู รวมวางแผนการปฏิบัติงานประจําป ๒๕๖๓
โดยใชหลักการทาํ งานเปน ทมี

๔. เกิดความสามคั คี มีขวัญกําลงั ใจในการปฏิบตั ิงาน สงผลใหเกดิ ผลสมั ฤทธิ์ตอการปฏิบัตงิ านของ
องคกร

วธิ ดี ําเนินการ
จดั กจิ กรรมภาควิชาการและการศึกษาดงู าน ดงั น้ี
๑. การจัดกิจกรรมศึกษาดงู านเพื่อนาํ ความรูจากการศึกษางานมา สรางสรรคท่ีจะผลิต พัฒนา

เผยแพรส ื่อเทคโนโลยีเพ่อื การศกึ ษาดานตาง ๆ รายละเอยี ดดงั น้ี
- ศึกษาดูงานการผลติ กระแสไฟฟาดว ยพลังน้ําแบบสูบกลบั และการใชไฟฟาอยางประหยัดคุมคา

ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ณ โรงไฟฟาลาํ ตะคองชลภาวฒั นา อาํ เภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา
- ศกึ ษาดูงานเปนแหลง เรยี นรดู า นพลงั งานไฟฟา การผลิตไฟฟา จากพลงั งานประเภทตาง ๆ ท้งั จาก

เชอื้ เพลิงฟอสซลิ และพลังงานหมนุ เวียน รวมถงึ นวัตกรรมการผลติ ไฟฟาท่ที ันสมัยดว ยระบบ Wind
Hydrogen Hybrid ณ ศนู ยการเรียนรู กฟผ.ลาํ ตะคอง อาํ เภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา

๒. การจัดกิจกรรมบรรยายภาควิชาการ
- บรรยายพิเศษเรื่อง “บุคลากรยุคใหมรวมพลัง ทาํ ดี รักษโลก” ในวันพฤหัสบดีที่ ๑๙ กันยายน
๒๕๖๒ เวลา ๐๘.๓๐ – ๐๙.๓๐ น. ณ หองประชุมโรงแรมโรแมนติค รสี อรท แอนด สปา อําเภอปากชอง จังหวัด
นครราชสีมา
๓. จดั กิจกรรมแบง กลุมสมั พันธ
- จัดกิจกรรมรว มคิดแลกเปล่ยี นเรยี นรูการดําเนินงานที่ผานมาซ่งึ กันและกนั นาํ องคกรสูค วามสําเรจ็
ตามภารกิจของหนวยงาน ในวนั พุธท่ี ๑๘ กนั ยายน ๒๕๖๒ เวลา ๑๙.๐๐ – ๒๑.๐๐ น. ณ หองประชมุ โรงแรม
โรแมนติค รีสอรท แอนด สปา อาํ เภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา
- จดั กิจกรรมแบงกลุมสัมพนั ธเพอื่ แลกเปลย่ี นเรียนรกู ารทาํ งาน รว มวางแผนการปฏบิ ัติงานและสรา ง
ความสมั พนั ธความรกั และความสามัคคีในองคกร ในวันพฤหัสบดที ่ี ๑๙ กันยายน ๒๕๖๒ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๘.๓๐
น. ณ หองประชุมโรงแรมโรแมนตคิ รีสอรท แอนด สปา อําเภอปากชอง จังหวดั นครราชสีมา

ระยะเวลาและสถานที่
ระหวางวันท่ี ๑๘ – ๒๐ กันยายน ๒๕๖๒ ณ อําเภอปากชอง จงั หวดั นครราชสมี า และสถานทศี่ ึกษา

ดูงานพื้นท่ี จงั หวดั นครราชสมี า

สอ่ื ประกอบการอบรม
๑. เอกสาร
๒. PowerPoint Presentation

งบประมาณ จํานวน ๕๕๑,๔๔๐ บาท (หาแสนหาหม่ืนหน่งึ พันสร่ี อยสสี่ บิ บาทถว น) มีรายละเอียดดังน้ี

๑. คาเชารถบสั ปรับอากาศคันละ ๓๐,๐๐๐ บาท x ๒ คนั = ๖๐,๐๐๐ บาท

๒. คา เชาท่ีพัก = ๑๘๑,๗๕๐ บาท

๒.๑ คาเชาทพี่ ักสําหรับประธานในพิธีเปด คืนละ ๑,๔๕๐ บาท x ๑ คนื x ๑ คน = ๑,๔๕๐ บาท

๒.๒ คา เชาที่พักสําหรับผูบ ริหาร คนื ละ ๑,๔๕๐ บาท x ๒ คืน x ๑ คน = ๒,๙๐๐ บาท

๒.๓ คา เชา ท่ีพักสาํ หรบั ผูเขา รับการอบรมคนื ละ ๙๐๐ บาท x ๒ คืน x ๗๖ คน = ๑๓๖,๘๐๐ บาท

๒.๔ คาเชา ที่พักสําหรบั ผูเขารบั การอบรมคนื ละ ๘๐๐ บาท x ๒ คืน x ๒๒ คน = ๓๕,๒๐๐ บาท

๒.๕ คา เชาท่ีพักสาํ หรบั วิทยากรกลุม และผตู ิดตามคนื ละ ๙๐๐ บาท x ๑ คนื x ๖ คน = ๕,๔๐๐ บาท

๓. คา อาหาร/อาหารวางและเครอ่ื งดื่ม = ๑๗๓,๕๕๐ บาท

๓.๑ อาหารวา งและเครื่องดื่มคนละ ๕๐บาท x ๒ มื้อ x ๑๐๖ คน = ๑๐,๖๐๐ บาท

๓.๒ อาหารกลางวนั

๓.๒.๑ วันท่ี ๑๘,๒๐ กนั ยายน ๒๕๖๒ มอื้ ละ ๓๐๐บาท x ๒ มื้อ x ๙๙ คน = ๕๙,๔๐๐ บาท

๓.๒.๒ วันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๒ มื้อละ ๓๐๐บาท x ๑ ม้ือ x ๑๐๖ คน = ๓๑,๘๐๐ บาท

๓.๓ อาหารเยน็

๓.๓.๑ วนั ท่ี ๑๘ กันยายน ๒๕๖๒ ม้ือละ ๓๕๐ บาท x ๑ ม้อื x ๙๙ คน = ๓๔,๖๕๐ บาท

๓.๓.๒ วันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๒ ม้อื ละ ๓๕๐ บาท x ๑ มื้อx ๑๐๖ คน = ๓๗,๑๐๐ บาท

๔. คาหอ งประชมุ = ๘,๐๐๐ บาท

๕. คา เบี้ยเลี้ยง = ๓๐,๘๔๐ บาท

๕.๑ คาเบยี้ เล้ียง ๓๖๐ บาท x ๑ คน (หักคาอาหาร ๕ ม้ือๆละ ๘๐ บาท) = ๓๖๐ บาท

๕.๒ คาเบ้ียเลี้ยง ๓๒๐ บาท x ๗๖ คน (หักคา อาหาร ๕ มื้อๆละ ๘๐ บาท) = ๒๔,๓๒๐ บาท

๕.๓ คา เบีย้ เลี้ยง ๒๘๐ บาท x ๒๒ คน (หักคา อาหาร ๕ มื้อๆละ ๗๐ บาท) = ๖,๑๖๐ บาท

๖. คาพาหนะ ๖๐๐ บาท x ๑๐๖ คน = ๖๓,๖๐๐ บาท

๗. คาพาหนะ/คานํ้ามนั เช้ือเพลิงสําหรับวิทยากร = ๒,๕๐๐ บาท

๘. คา น้ํามนั เช้ือเพลิงรถยนตราชการและคาธรรมเนยี มผานทางพิเศษ = ๕,๕๐๐ บาท

๙. คา ของสมนาคุณในการดูงาน ๑,๕๐๐ บาท x ๒ ชดุ = ๓,๐๐๐ บาท

๑๐. คาตอบแทนวิทยากรประจํากลมุ จํานวน ๒ กลุม ๘ ชว่ั โมงๆละ ๑,๒๐๐ บาท = ๑๙,๒๐๐ บาท

๑๑. คาวสั ดุ เครื่องเขียนและอปุ กรณ = ๓,๐๐๐ บาท

๑๒. คาจางลาง อัด ขยายภาพ = ๕๐๐ บาท

รวมท้ังส้ิน = ๕๕๑,๔๔๐ บาท

หมายเหตุ : ขอถวั จา ยทกุ รายการตามท่จี ายจริง
: มีความจําเปน ตอ งเบกิ คานาํ้ มนั เชอื้ เพลิงสาํ หรับวิทยากรเน่อื งจากมสี ัมภาระและขนอุปกรณ

เพอ่ื ใชใ นการจัดกจิ กรรมแบง กลมุ สัมพันธ
: วทิ ยากรไมใชข าราชการและบุคลากรของ สํานักงาน กศน.

การประเมินผล
๑. จากการเขารว มกิจกรรมของบุคลากร
๒. จากการสาํ รวจความพงึ พอใจของผเู ขารับการฝกอบรม

ผรู บั ผิดชอบโครงการ
สว นแผนงานและพฒั นาบุคลากร ศูนยเทคโนโลยที างการศกึ ษา สาํ นักงาน กศน.

ผลท่ีคาดวาจะไดรบั
บุคลากรศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา สามารถนําความรู ความเขาใจ ท่ีไดจากการศึกษาดูงาน

มาพัฒนาการทํางานใหสําเร็จตามเปาหมายและวิสัยทัศนขององคกร สามารถนําองคความรู ตามแนวทาง
การดําเนินโครงการตามพระราชดําริมาประยุกตใชในการปฏิบัติงานดําเนินชีวิตอยางพอเพียง รูจักการใช
พลงั งานทดแทนและทรัพยากรธรรมชาติอยางประหยัด มีจิตสาธารณะ มีความคิดสรางสรรคที่จะพัฒนาและ
สรางสิ่งใหมๆใหเกิดประโยชนตอตนเองและองคกร รวมเรียนรู รวมวางแผนการปฏิบัติงานประจําป ๒๕๖๓
โดยใชหลักการทํางานเปนทีม เกิดความสามัคคี มีขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงาน สงผลใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอ
การปฏบิ ตั ิงานขององคกรสรางจติ สาํ นึกที่ดีสง ผลตอผลสัมฤทธิก์ ารปฏบิ ัติงานขององคกร

-------------------------------------------------

กาํ หนดการ
โครงการพัฒนาบุคลากรศนู ยเทคโนโลยที างการศึกษาเพ่อื เสริมสรางประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิ าน

หลักสูตร “บุคลากรยุคใหมรวมพลัง ทําดี รักษโลก”
ระหวางวันท่ี 18 - 20 กนั ยายน พ.ศ. 2562

ณ โรงแรมโรแมนติค รสี อรท แอนด สปา อาํ เภอปากชอง จงั หวดั นครราชสีมา
_______________________________

วันพุธท่ี 18 กันยายน 2562 พรอมกัน ณ จดุ นดั หมาย ลอหมุนออกเดินทางจาก ศท.
07.30 น. เดินทางสโู รงไฟฟาลาํ ตะคองชลภาวัฒนา อ.ปากชอง จ.นครราชสมี า
07.30 – 11.30 น. รับประทานอาหารกลางวนั ณ รานครัวตาตีบ รา นอาหารโรงไฟฟาลําตะคองชลภาวฒั นา
11.30 – 12.30 น. รบั ฟงบรรยายสรุปการผลิตกระแสไฟฟา ดวยพลังนํ้าและการใชไ ฟฟาอยางประหยัดคุม คา ตามหลัก
12.30 – 13.30 น.
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ณ หองประชมุ โรงไฟฟาลําตะคองชลภาวัฒนา
14.00 – 16.00 น. ศกึ ษาแหลงเรียนรูดา นพลังงานไฟฟา ทดแทนและชมภาพยนตร 7 มติ ิ ณ ศูนยการเรยี นรกู ฟผ.ลาํ ตะคอง
16.00 – 17.00 น. เยี่ยมชมการผลิตไฟฟา จากกังหันลมและชมววิ 360 องศา ณ กังหันลมเขายายเที่ยง กฟผ.ลําตะคอง
17.00 – 18.00 น.
18.00 – 19.00 น. เดนิ ทางไปยัง เขาใหญ อ.ปากชอ ง จ.นครราชสมี า
19.00 – 19.30 น. รับประทานอาหารเยน็
19.30 – 21.00 น.
ลงทะเบยี นเขาหองพกั ณ โรงแรมโรแมนติค รีสอรท แอนด สปา อ.ปากชอง จ.นครราชสมี า
21.00 น. ลงทะเบียน/ชี้แจงวัตถุประสงคโครงการ
กิจกรรมรว มคิดแลกเปล่ียนเรียนรูการดาํ เนินงานทผี่ านมาซ่ึงกันและกันนําองคกรสคู วามสําเรจ็

พักผอนตามอธั ยาศยั ราตรีสวสั ด์ิ

วันพฤหัสบดีท่ี 19 กันยายน 2562

07.00 – 08.30 น. รับประทานอาหารเชา

08.30 – 09.30 น. พธิ เี ปด / บรรยายพิเศษเร่อื ง “บุคลากรยุคใหมร วมพลัง ทาํ ดี รักษโลก” โดยเลขาธิการ กศน.

09.30 – 12.00 น. กิจกรรมแบงกลมุ สัมพันธ “บุคลากรยคุ ใหมรวมพลัง ทําดี รักษโลก”

(วทิ ยากรกลมุ โดย นายศุภกฤษณ มาลากุล นางสาวสมหญิง เลศิ พรกุลรัตน)

12.00 – 13.00 น. พักรบั ประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 18.30 น. กิจกรรมแบงกลุมสัมพันธ “บุคลากรยุคใหมร วมพลัง ทาํ ดี รักษโลก”

(วิทยากรกลมุ โดย นางสาวชวัลนุช บางยีข่ ัน นางสาวปนัดดา ชุมชน่ื )

18.30 – 22.00 น. รับประทานอาหารเยน็ / กิจกรรมนันทนาการ

22.00 น. พักผอ นตามอัธยาศัย

วันศุกรท ี่ 20 กันยายน 2562
07.00 – 09.00 น. รบั ประทานอาหารเชา /เก็บสมั ภาระกลบั
09.00 – 12.00 น. สรปุ รายงานผลกิจกรรมกลุมการแลกเปลี่ยนเรยี นรกู ารทาํ งานเพ่ือพฒั นาประสิทธิภาพการทํางาน
12.00 – 13.00 น. พักรบั ประทานอาหารกลางวนั
13.00 – 14.00 น. นอ มนําหลักศาสนามาขัดเกลาจติ ใจ สักการะ “พทุ ธอุทยานอาณาจักรหลวงปทู วดองคใ หญท ่ีสุดในโลก”
14.00 – 16.30 น. เย่ียมชมเชงิ อนรุ ักษธรรมชาติศูนยว ิจัยขาวโพดและขาวฟา งแหงชาติ (ไรสวุ รรณ)
16.30 – 18.30 น. เดินทางกลบั กรุงเทพฯ

หมายเหตุ : ตารางนี้อาจปรับเปล่ียนตามความเหมาะสม
รบั ประทานอาหารวางและเครื่องดม่ื เวลา 10.00 – 10.15 , 15.30 – 15.45 น.

แบบสอบถามการประเมนิ การจดั กจิ กรรม
พฒั นาบคุ ลากรศูนยเทคโนโลยีทางการศกึ ษาเพ่อื เสริมสรางประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

หลักสตู ร “บุคลากรยุคใหมรวมพลงั ทําดี รักษโ ลก”
ณ โรงแรมโรแมนติค รสี อรท แอนด สปา อําเภอปากชอ ง จังหวัดนครราชสีมา

ระหวางวันที่ 18 – 20 กันยายน 2562

คาํ ชี้แจง: โปรดเตมิ เครอ่ื งหมาย  และกรอกขอความใหสมบรู ณ

ตอนที่ 1 ขอ มลู ท่ัวไป

1. เพศ  ชาย  หญงิ

2. อายุ  20-30 ป 31 – 40 ป  41 – 50 ป  51 ปข ึ้นไป

3. การศกึ ษา  ตํ่ากวาปรญิ ญาตรี  ปริญญาตรี  สงู กวาปริญญาตรี

4. ตําแหนง  ขาราชการ  ลูกจา งประจาํ  พนกั งานราชการ

 ลกู จางเหมาบรกิ าร  อ่ืน ๆ โปรดระบุ ………………………………….

คาํ ช้ีแจง โปรดเขยี นเครอื่ งหมาย  ลงในชอ งท่ีตรงกบั ความพงึ พอใจของทานเพียงระดบั เดียว
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจในการเขา รว มโครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อเสริมสรางประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ิงาน

การดําเนินงาน / กจิ กรรม มากทีส่ ดุ ระดบั ความคิดเห็น นอ ย
ทส่ี ุด
มาก ปาน นอ ย
กลาง

1. กําหนดการและระยะเวลาการจดั กิจกรรม
2. การจัดยานพาหนะ
3. การจัดท่พี ัก
4. การอํานวยความสะดวกของเจา หนา ที่
5. การจัดกิจกรรมศึกษาดงู านและทศั นศกึ ษา
6. การจัดกิจกรรมสรางความสามคั คีในองคกร
7. การจดั กิจกรรมบรรยายภาควิชาการเพ่อื พฒั นาประสทิ ธิภาพ

การปฏิบัตงิ าน
8. การจัดกิจกรรมนันทนาการภาคกลางคืน
9. การจัดอาหารและอาหารวาง
1100. ความพึงพอใจในภาพรวมของการจัดกิจกรรมพัฒนาองคก ร

ขอ คดิ เห็นและขอเสนอแนะอืน่ ๆ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ขอขอบคุณทกุ ทา นทีใ่ หค วามรวมมือในการตอบแบบสอบถาม


Click to View FlipBook Version