The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

งานทั้งหมดรวมปก 3-5-2020

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Peerapol Petchkum, 2020-03-04 13:21:49

งานทั้งหมดรวมปก 3-5-2020

งานทั้งหมดรวมปก 3-5-2020

ภาพยนตรส์ ัน้ แบบทางเลอื ก “เรอื่ งจดุ เรม่ิ ต้นของการทำลายและการสิ้นสุด”
ด้วยโปรแกรม Camtasia 9

Interactive movie “The beginning of destruction and the end”

นายพรี พล เพช็ รค้มุ รหัสนกั เรียน 6022040094
นายภัทรพล อาจสิงห์ รหัสนกั เรียน 6022040095
นายภูบดินทร์ จนั ทะคร รหัสนักเรยี น 6022040096

โครงการนเี้ ปน็ ส่วนหน่งึ ของรายวิชาโครงการ รหัสวิชา (2204-8501)
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2562
สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ
วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง

ภาพยนตรส์ ัน้ แบบทางเลอื ก “เรอื่ งจดุ เรม่ิ ต้นของการทำลายและการสิ้นสุด”
ด้วยโปรแกรม Camtasia 9

Interactive movie “The beginning of destruction and the end”

นายพรี พล เพช็ รค้มุ รหัสนกั เรียน 6022040094
นายภัทรพล อาจสิงห์ รหัสนกั เรียน 6022040095
นายภูบดินทร์ จนั ทะคร รหัสนักเรยี น 6022040096

โครงการนเี้ ปน็ ส่วนหน่งึ ของรายวิชาโครงการ รหัสวิชา (2204-8501)
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2562
สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ
วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง



โครงการ ภาพยนตส์ ั้นแบบทางเลอื ก “เรอื่ งจุดเร่มิ ตน้ ของการทำลายและการสิ้นสดุ ”
สาขาวิชา
ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ Interactive movie “The beginning of destruction and the end”

อาจารยท์ ป่ี รึกษา คอมพิวเตอร์ธรุ กิจ
ปกี ารศกึ ษา
1. นายพีรพล เพช็ รคุม้ รหัสนกั เรียน 6022040094

2. นายภทั รพล อาจสงิ ห์ รหสั นักเรียน 6022040094

3. นายภบู ดนิ ทร์ จนั ทะคร รหสั นกั เรียน 6022040094

นางสาวอจั ฉราภรณ์ เกล้ียงพร้อม

นางสาวครองขวัญ บวั ยอม

2562

บทคดั ย่อ

การจดั ทำโครงการครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพอ่ื สร้างภาพยนตส์ ั้นแบบทางเลือก “เรื่องจุดเร่ิมต้นของ
การทำลายและการส้ินสุด” ด้วย โปรแกรม Camtasia 9 และ ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน
ประกาศนียบตั รวิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง ท่ีมีต่อภาพยนตรส์ ั้นแบบ
ทางเลือก “เรื่องจุดเริ่มต้นของการทำลายและการสิ้นสุด” น้ันได้ทำ การคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างแบบ
เจาะจง คือ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยอง
จำนวน 32 คนโดยใช้เกณฑ์ของ Krejcie & Morgan และ เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการประเมินภาพยนตร์สั้น
แบบทางเลือก “เรื่องจุดเริ่มต้นและการส้ินสุด”คือ แบบสอบถาม ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน
ประกาศนียบตั รวิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง ทมี่ ีต่อภาพยนตรส์ ั้นแบบ
ทางเลือก“เรื่องจุดเริ่มต้นของการทำลายและการสิ้นสุด”ซ่ึงสถิติที่ใช้คือ สูตรค่าสถิติร้อยละ
(Percentage) สูตรการหาค่าเฉลีย่ (x̄) สตู รการหาคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D Standard Deviation)

ผลท่ีได้รับจากแบบสอบถามความพึงพอใจ ท่ีมีต่อโครงการภาพยนตร์ส้ันแบบทางเลือก “เรื่อง
จุดเร่ิมต้นและการสิ้นสุด” อยู่ในระดับมาก (x̄=3.76, S.D. = 0.74) แบ่งเป็นท้ังหมด 3 ด้านดังน้ี
ด้านเนื้อเร่ืองอยู่ในระดับมาก (x̄=3.85, S.D. = 0.64) ความพึงพอใจด้านกราฟฟิกอยู่ในระดับมาก
(x̄=4.02, S.D. = 0.73) และความพึงพอใจด้านเสียงอยู่ในระดับปานกลาง (x̄=3.09, S.D. = 0.99)
ตามลำดบั

คำสำคัญ : ขยะตกค้าง/ ขยะอินทรีย์/ ขยะรีไซเคิล/ ผู้รับชม/ ภาพยนตร์สั้น/ จุดเร่ิมต้นของ
การทำลาย และการสิ้นสดุ / ภาพยนตร์ส้ันแบบทางเลอื ก



กิตติกรรมประกาศ

โครงการนี้สำเร็จไดด้ ้วยดีเนื่องจากไดร้ บั ความอนเุ คราะห์ ความช่วยเหลือ และความเมตตาจาก
นางสาวอัจฉราภรณ์ เกลี้ยงพร้อม อาจารย์ผู้สอนโครงการ และนางสาวครองขวัญ บัวยอม อาจารย์ที่
ปรึกษาโครงการ ท่ีให้คำแนะนำ แนวคิดตลอดช่วยแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ มาโดยตลอดจนโครงการ
เล่มนี้เสร็จสมบูรณ์ ผู้จดั ทำจึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ขอกราบขอบพระคณุ พอ่ คณุ แม่ และ
ผู้ปกครอง ท่ีให้คำปรึกษาในเร่ืองต่างๆรวมท้ังเป็นกำลังใจดีเสมอมาขอบคุณเพ่ือนๆ ที่ช่วยให้
คำแนะนำดๆี เกี่ยวกับการเลือกใช้ คำ รวมถงึ เรอ่ื งต่างๆ ทเ่ี ก่ียวกับโครงการน้ี

สุดท้ายขอขอบใจ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ที่ได้ให้ความ
รว่ มมือในการทำแบบสอบถามจนทำให้โครงการสำเรจ็ ลุลว่ งไปได้

คณะผจู้ ัดทำ

สารบญั หนา้
เรื่อง
บทคดั ย่อ ก
กติ ติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญ (ตอ่ ) ง
สารบัญตาราง จ
สารบญั ภาพ ฉ
สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ช
บทท่ี 1 บทนำ
1
1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ 2
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ 2
1.3 ขอบเขตของโครงการ 3
1.4 ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับ 3
1.5 คำจำกัดความ
บทท่ี 2 เอกสารและทฤษฎีทีเ่ กี่ยวข้อง 4
2.1 แนวคดิ เก่ยี วกบั ภาพยนตร์ 13
2.2 แนวคดิ เกี่ยวกบั ภาพยนตร์สน้ั แบบทางเลอื ก 14
2.3 แนวคิดเกี่ยวกบั หลักการแยกขยะ 17
2.4 แนวคดิ เก่ยี วกบั โปรแกรมท่ใี ช้
บทท่ี 3 การดำเนนิ โครงการ 22
3.1 การศกึ ษาข้อมลู เบื้องตน้ 22
3.2 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง 24
3.3 ขนั้ ตอนการดำเนินงาน 28
3.4 เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 29
3.5 ขนั้ ตอนการดำเนนิ การและเก็บรวบรวมข้อมลู 30
3.6 พิจารณาจากคะแนนตามเกณฑ์ 31
3.7 สถติ ทิ ีใ่ ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล
บทท่ี 4 ผลการดำเนินโครงการ 33
4.1 ผลการดำเนินการ

สารบัญ (ตอ่ ) 40
41
บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ
5.1 สรุป อภิปรายผล
5.2 ข้อเสนอแนะ

บรรณานุกรม
ภาคผนวก

ก แบบเสนอขออนุมัตโิ ครงการ
ข ภาพขนั้ ตอนการจัดทำโครงการ
ค แบบสอบถามความพึงพอใจ
ง ประวตั ิผจู้ ดั ทำ

สารบัญตาราง หน้า
33
ตารางท่ี 34
4.1 แสดงจำนวนของผ้ตู อบแบบสอบถาม จำแนกตามเพศ 35
4.2 แสดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ 36
4.3 แสดงความพงึ พอใจด้านเน้ือเรื่อง 37
4.4 แสดงความพึงพอใจดา้ นกราฟฟิก 38
4.5 แสดงความพึงพอใจดา้ นเสียง
4.6 แสดงสถิติความพึงพอใจทงั้ หมด

สารบัญภาพ หนา้
5
ภาพที่ 5
2.1 แสดง Action movie (ภาพยนตร์แอคชนั่ ) 6
2.2 แสดง Adventure (ภาพยนตร์ผจญภัย) 6
2.3 แสดง War (ภาพยนตรส์ งคราม) 7
2.4 แสดง Drama Movies (ภาพยนตรด์ ราม่า) 7
2.5 แสดง Sci-Fi Movies (ภาพยนตร์วิทยาศาสตร)์ 8
2.6 แสดง Famaily (ภาพยนตรค์ รอบครัว) 8
2.7 แสดง Thriller Movies (ภาพยนตร์ระทกึ ขวญั ) 9
2.8 แสดง Crime (ภาพยนตร์อาชฐากรรม) 9
2.9 แสดง Documentaries (ภาพยนตร์สารคดี) 10
2.10 แสดง Animation (ภาพยนตร์การ์ตนู ) 10
2.11 แสดง Comedy (ภาพยนตร์ตลก) 11
2.12 แสดง Erotic (ภาพยนตร์ผู้ใหญ่) 11
2.13 แสดง Fantasy (ภาพยนตรผ์ สมจินตนาการ) 12
2.14 แสดง Musicals Movies (ภาพยนตรเ์ พลง) 12
2.15 แสดง Romance (ภาพยนตรโ์ รแมนติก) 13
2.16 แสดง Western (ภาพยนตร์ตะวนั ตก) 14
2.17 แสดงภาพยนตรส์ ้ัน (Short Film) 14
2.18 แสดงขยะย่อยสลายได้ (Compostable Waste) 15
2.19 แสดงขยะรไี ซเคลิ (Waste Reycling) 15
2.20 แสดงขยะทั่วไป (General Waste) 17
2.21 แสดงขยะมีพษิ (Toxic Waste) 17
2.22 แสดงหน้าตาของโปรแกรม Camtasia 9 18
2.23 แสดงหนา้ ตาของโปรแกรมข้างใน 18
2.24 แสดงเปดิ Camtasia.exe 18
2.25 แสดงตก๊ิ เคร่ืองหมายถกู จากนนั้ กด Install 20
2.26 แสดงรอโปรแกรมตดิ ต้ังจนเสร็จจากน้ันกด Finish 20
2.27 แสดงหน้าตาของโปรแกรม Adobe Premiere Pro 20
2.28 แสดงหน้าตาภายในโปรแกรม Adobe Premiere Pro
2.29 แสดงเปิด Premiere_Pro_Set-Up.exe

สารบัญภาพ (ต่อ)

2.30 แสดงทำการต้ังคา่ ตามที่ตนเองต้องการในเรือ่ งตา่ งๆ 21

2.31 แสดงกด Stars Installing เพ่ือติดต้ังโปรแกรม 21

2.32 แสดงรอโปรแกรมตดิ ตง้ั จนเสร็จ 21

3.1 แสดงตารางของ Krejcie & Morgan 23

3.2 แสดงตารางข้นั ตอนการทำงานภาพยนตรส์ ัน้ แบบทางเลอื ก 24

3.3 แสดงขน้ั ตอนการตัดต่อภาพยนตร์ส้ันแบบทางเลือก 25

3.4 แสดงขนั้ ตอนถา่ ยและจัดนักแสดง ภาพยนตรส์ นั้ แบบทางเลอื ก 25

3.5 แสดงข้ันตอนการถ่ายฉากวงิ่ ภาพยนตร์สั้นแบบทางเลือก 26

3.6 แสดงขนั้ ตอนถ่ายและจัดมุมกล้อง ภาพยนตรส์ น้ั แบบทางเลอื ก 26

3.7 แสดงขน้ั ตอนถ่ายเกบ็ โทนสแี สง ภาพยนตรส์ ั้นแบบทางเลือก 26

3.8 แสดงขน้ั ตอนตัดต่อคลิปวีดโี อใหม้ ีความยาวเหมาะสม ภาพยนตร์สั้นแบบทางเลือก 27

3.9 แสดงขน้ั ตอนตัดตอ่ ทางเลือก ภาพยนตร์สน้ั แบบทางเลอื ก 27

3.10 แสดงขน้ั ตอนตวั ลือกภาพยนตร์ส้ัน 27

3.11 แสดงขั้นตอนการเก็บเสยี งวิ่ง 28

3.12 แสดงชิ้นงานฉากด่ืมน้ำภาพยนตรส์ นั้ แบบทางเลอื ก 28

4.1 แผนภมู ิแสดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ 33

4.2 แผนภมู ิแสดงจำนวนของผูตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ 34

4.3 แผนภูมิแสดงความพึงพอใจดา้ นเนื้อเร่ือง 35

4.4 แผนภมู ิแสดงความพึงพอใจดา้ นกราฟฟิก 36

4.5 แผนภูมิแสดงความพึงพอใจดา้ นเสียง 37

4.6 แผนภูมิแสดงสถิตขิ องโครงการภาพยนตร์ส้นั แบบทางเลือก 39

ข.1 แสดงเกบ็ ผลความพึงพอใจ 51

ข.2 แสดงเก็บผลความพงึ พอใจ 51

ข.3 แสดงเก็บผลความพงึ พอใจ 52

ข.4 แสดงเกบ็ ผลความพงึ พอใจ 52

ข.5 แสดงเกบ็ ผลความพึงพอใจ 53

ข.6 แสดงเก็บผลความพงึ พอใจ 53

ข.7 แสดงเกบ็ ผลความพงึ พอใจ 54

ข.8 แสดงเกบ็ ผลความพึงพอใจ 54

ข.9 แสดงเกบ็ ผลความพึงพอใจ 55

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ความเป็นมาและความสำคญั ของโครงการ
ในสังคมปัจจุบันพบปัญหาเรื่องจัดการขยะ ถือเป็นหนึ่งปัญหาระดับโลก ยิ่งมนุษย์มี

พัฒนาการด้านความเจริญทางวัตถุมากขึ้น ขยะจากความเจริญก็เพ่ิมมากข้ึนเช่นกัน จากข้อมูลในปี
2559 พบว่ามีขยะตกค้างในไทยจำนวนมาก หากนำมากองรวมกัน จะมีขนาดเท่าตึกใบหยก 147 ตึก
โดยขยะส่วนมากประมาณ 64% เป็นขยะอินทรีย์ เช่น กิ่งไม้ เศษอาหาร และอีก 30% เป็นขยะ
รีไซเคิล ส่วนอีก 3% พบว่าเป็นขยะของเสียอนั ตราย (https://medium.com) สาเหตทุ ี่มขี ยะตกคา้ ง
ในประเทศมากขนาดนี้ เกดิ จากการทีท่ ้ิงขยะไมเ่ ป็นที่และการไม่แยกขยะ การที่เราทิ้งขยะทุกประเภท
รวมกันโดยไม่แยกนั้น ทำให้ขยะที่สามารถนำมาใช้ใหม่ (Reuse) และขยะท่ีสามารถนำไปรีไซเคิล
(Recycle) ได้ ถูกท้ิงรวมไปกับขยะเปียกทั้งหลาย อาจจะไม่ได้ถูกนำมาใช้ประโยชน์ได้อีก และขยะท่ี
อันตรายมากท่ีสุดก็คือขยะประเภทสารพิษ เช่น บรรจุภัณฑ์สารเคมี กระป๋องยาฉีดกันยุง หลอดไฟ
ถ่านไฟฉาย เป็นต้น ซึง่ มีสารเคมเี คลือบไว้ เหล่าน้ีล้วนเป็นอันตรายตอ่ สงิ่ แวดล้อม ถ้าเอาไปทง้ิ รวมกับ
ขยะอ่ืน ๆ โดยท่ีไม่แยก สารเคมีจะไหลลงสู่พื้นดิน ถ้าขยะถูกเผาจะเป็นก๊าซพิษลอยข้ึนไปในอากาศ
หรือถ้าถูกฝัง กระบวนการย่อยสลายจะทำให้เกิดก๊าซพิษลอยข้ึนไปในอากาศ ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อ
สง่ิ แวดล้อมและเปน็ สาเหตุหนง่ึ ของภาวะโลกร้อนด้วย (https://medium.com)

จากความเปน็ มาข้างต้น จะเห็นถงึ ความสำคัญของการท้ิงขยะและการแยกให้ถูกต้อง วิธที ี่จะ
ชว่ ยให้มนุษย์ทราบและมพี ฤติกรรมการท้ิงขยะอยา่ งถูกตอ้ ง คอื การจัดทำส่ือภาพยนตร์ หรือ อนิเมชั่น
แต่เนื่องจากภาพยนต์สั้นโดยทั่วไปที่มีการรณรงค์มักไม่ได้รับความสนใจเท่าที่ควร ดังนั้นคณะผู้จัดทำ
จึงได้ศึกษาและพบว่ามีการจัดทำภาพยนต์แบบ มีทางเลือก ซ่ึงผู้รับชมสามารถเลือกได้ว่าเน้ือเรื่องใน
ภาพยนตร์ส้ันจะดำเนินไปทางไหน นอกจากน้ีภาพยนตร์สั้นแบบทางเลือกสามารถเข้าถึงผู้ชมได้ง่าย
และทำให้ผูช้ มไดเ้ ลือกตัดสนิ แนวทางของภาพยนตร์ได้อีกวา่ จะเลือกไปในทางท่ีดีหรือในทางท่ีไม่ดไี ด้

ดังนั้นทางคณะผู้จัดทำจึงมีแนวคิดที่จะจัดทำ ภาพยนตร์สั้นแบบทางเลือก“เรื่องจุดเร่ิมต้น
ของการทำลายและการส้ินสุด” โดยคณะผู้จัดทำจะนำการแยกขยะมาสร้างเป็นภาพยนตร์สั้นแบบ
ทางเลือก โดยใช้โปรแกรม Camtasia 9 เพื่อเป็นสื่อกลางให้ผู้รับชมเข้าถึงได้ง่าย และยังสามารถดึง
ความสนใจของผ้รู บั ชมได้เน่ืองจากตวั โปรแกรมสามารถปฏสิ มั พนั ธ์กบั ผู้ชมที่กำลงั รบั ชมอยู่ได้

2

1.2 วตั ถุประสงค์ของโครงการ
1.2.1 เพื่อสร้างภาพยนต์สั้นแบบทางเลือก “เรื่องจุดเร่ิมต้นของการทำลายและการส้ินสุด

โดยใช้โปรแกรม” Camtasia 9
1.2.2 เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาชีพคอมพิวเตอร์

ธุรกิจ วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อภาพยนตร์สั้นแบบทางเลือก “เรื่องจุดเริ่มต้นของการทำลายและ
การสิ้นสดุ โดยใชโ้ ปรแกรม” Camtasia 9

1.2.3 เพื่อเผยแพร่ภาพยนตร์สั้นแบบทางเลือก “เร่ืองจุดเร่ิมต้นของการทำลายและการ
สิ้นสุด”โดยใช้โปรแกรม Camtasia 9 ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชีพ ชมรมวิชาชีพ
คอมพวิ เตอร์ธุรกจิ

1.3 ขอบเขตของโครงการ
1.3.1 ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง
1.3.1.1 ประชากร คือ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง จำนวน 35 คน
1.3.1.2 กลุ่มตัวอย่าง คอื นกั เรยี นประกาศนียบัตรวชิ าชีพ สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ

วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง จำนวน 32 คน
1.3.1.3 ด้านฮารด์ แวร์
1) กล้อง
2) ไมโครโฟน
3) อุปกรณ์ประกอบฉาก
4) Laptop
Intel core i3 6006u
Ram 8 GB
GT940MX
HDD 500 GB
SSD M.2 Kingston A400 120 GB
1.3.1.4 ดา้ นซอฟต์แวร์
1) โปรแกรม Camtasia 9 สามารถปฏสิ มั พนั ธก์ ับผู้รบั ชมได้
2) โปรแกรม Adobe Premiere Pro
3) ความยาวของภาพยนตส์ ั้นประมาณ 8 -10 นาที
4) สามารถปฏสิ ัมพนั ธก์ ับผ้รู ับชมได้

3

1.3.2 เครื่องมือท่ีใช้ในการประเมินผล คือ ภาพยนตร์สั้นแบบทางเลือก “เรื่องจุดเร่ิมต้นและ
การส้ินสุด” และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพสาขาคอมพิวเตอร์
ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อภาพยนตร์ส้ันแบบทางเลือก “เรื่องจุดเริม่ ต้นของการทำง่ายและ
การส้ินสดุ ” โดยใชโ้ ปรแกรม Camtasia 9

1.4 ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ
1.4.1 ได้ภาพยนตร์ส้ันแบบทางเลือก “เร่ืองจุดเร่ิมต้นของการทำลายและการส้ินสุด” โดย

โปรแกรม Camtasia 9
1.4.2 ได้รับความพึงพอใจจากนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

วิทยาลัยเทคนิคระยอง ท่ีมีต่อ ภาพยนตร์ส้ันแบบทางเลือก “เร่ืองจุดเริ่มต้นของการทำลายและการ
สน้ิ สุด” อยู่ในระดบั มาก

1.4.3 ได้เผยแพร่ภาพยนตร์ส้ันแบบทางเลือก“เร่ืองจุดเริ่มต้นของการทำลายและการสิ้นสุด”
โดยใชโ้ ปรแกรม Camtasia 9 ผา่ นโครงการประกวดโครงการวชิ าชพี ชมรมวิชาชีพคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ

1.5 คำจำกดั ความ
1.5.1 ขยะตกค้าง หมายถึง ขยะมูลฝอย (Waste) สิ่งของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตและ

อุปโภคซึ่งเส่อื มสภาพจนใชก้ ารไมไ่ ดห้ รอื ไมต่ ้องการใช้แลว้
1.5.2 ขยะอินทรีย์ หมายถึง ขยะท่ีเน่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว สามารถนำไปหมักทำปุ๋ยได้

เชน่ เศษผัก เปลอื กผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้เศษเนอ้ื สัตว์ เปน็ ต้น
1.5.3 ขยะรีไซเคลิ หมายถึง ขยะ ของเสีย หรอื วัสดเุ หลือใช้ ซงึ่ สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์

ใหม่ได้
1.5.4 ผู้รบั ชม หมายถงึ นักเรยี นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที ี่ สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ
1.5.5 ภาพยนตรส์ น้ั หรอื เปน็ ประเภทของภาพยนตรอ์ ย่างหน่ึงท่ีเหมือนกับภาพยนตร์ท่วั ไป ท่ี

เล่าเร่ืองด้วยภาพและเสียงเฉกเช่นภาพยนตร์ความยาวปกติเพียงแต่ มีความยาวเต็มทไ่ี ม่เกิน 40 นาที
1.5.6 จุดเร่ิมต้นของการทำลาย หมายถงึ การเร่ิมฉากภาพยนตร์สัน้ แบบทางเลอื ก
1.5.7 การส้นิ สดุ หมายถึง ฉากจบภาพยนตรส์ ้ันแบบทางเลือก
1.5.8 ภาพยนตร์ส้ันแบบทางเลอื ก หมายถึง ภาพยนตร์ส้ันทีส่ ามารถปฏิสมั พนั ธก์ ับผ้รู บั ชมได้

บทที่ 2
เอกสารและทฤษฎีทเ่ี กีย่ วข้อง

เพ่ือเป็นแนวทางในการจดั ทำโครงการคร้งั นี้ คณะผจู้ ดั ทำไดศ้ ึกษาเอกสารและทฤษฎที ี่
เกยี่ วข้องตา่ ง ๆ ดงั น้ี

2.1 แนวคิดเกี่ยวกับภาพยนตร์
2.2 แนวคดิ เกี่ยวกบั ภาพยนตรส์ ้นั แบบทางเลือก
2.3 แนวคดิ เกี่ยวกับหลักการแยกขยะ
2.4 แนวคดิ เกย่ี วกบั โปรแกรมทใ่ี ช้

2.1 แนวคดิ เกย่ี วกับภาพยนตร์
2.1.1 ภาพยนตร์ คือ กระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนำออกฉายให้เห็นภาพเคลื่อนไหว

ภาพท่ีปรากฏบนฟิล์มภาพยนตร์หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทำแล้วเป็นเพียงภาพนิง่ จำนวนมาก ท่ี
มีอิริยาบถหรือแสดงอาการเคล่ือนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยต่อเน่ืองกันเป็นช่วงๆ ตามเร่ืองราวท่ี
ได้รับการถ่ายทำและตัดต่อมา ซ่ึงอาจเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนจริง หรือเป็นการแสดงให้
เหมือนจริง หรืออาจเป็นการแสดงและสร้างภาพจากจินตนาการของผู้สร้างก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นชนิด
ฟิล์มเนกาทีฟ (negative) หรือฟิล์มโพซิทีฟ (positive) ซ่ึงได้ถูกถ่าย อัด หรือกระทำด้วยวิธีใด ๆ ให้
ปรากฏรูปหรอื เสียงหรือทั้งรูปและเสียง เป็นเรื่องหรือเหตุการณ์ หรือข้อความอันจักถ่ายทอดรูปหรือ
เสียง หรือท้ังรูปและเสียงได้ด้วยเครื่องฉายภาพยนตร์หรือเครื่องอย่างอื่นทำนองเดียวกัน แล ะ
หมายความตลอดถึงฟิล์มซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏสี เพื่ออัดลงในฟิล์มชนิด
ดังกล่าว เป็นสาขาท่ีสร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะในรูปของภาพเคล่ือนไหว และเป็นส่วนหน่ึงของ
อุตสาหกรรมบนั เทิง (https://th.wikipedia.org/wiki)

2.1.2 ประเภทภาพยนตร์ ในทางทฤษฎีภาพยนตร์ ภาพยนตร์ถูกจัดแบ่งออกเป็นแนว ๆ โดย
แนวภาพยนตร์หน่ึงแนวมีความหมายถึงภาพยนตร์ที่สร้างขึ้นมาจากองค์ประกอบของเรื่องราวท่ี
คล้าย ๆ กนั (https://th.wikipedia.org/wiki)

5

2.1.2.1 Action movie (ภาพยนตร์แอคชั่น) Action หมายถงึ ภาพยนตรแ์ บบบู๊ แอ็กช่ัน
ยิง ต่อสู้ ระทกึ ใจ เหมาะสำหรับคนชอบความแขง็ แรงและศิลปะการต่อสู้ ในภาพยนตรแ์ นวนี้จะมีฉาก
ยิง ระเบิด เผาสิ่งต่างๆ ท่ีเราอาจจะหาดูได้ยาก ฉะน้ันคนท่ีชอบหนังประเภทนี้ไม่ใช่เพราะชอบความ
รุนแรง แตจ่ ะหมายถึงคนที่ชอบทจี่ ะสัมผัสกับส่ิงทห่ี าดูไม่ได้ในชีวิตประจำวนั และชอบความตนื่ เต้นอยู่
ด้วย ปจั จุบันภาพยนตรป์ ระเภทน้ี มีออกมาฉายกนั มากไม่เคยขาดและได้รบั การตอบกลับอยา่ งดี แตก่ ็
ต้องมีเน้ือหาสาระและมุมมองของการออกแบบฉากได้อย่างลงตัวและสมจริงด้วย อย่างองค์บากทั้ง
ส อ ง ภ า ค ก็ ข า ย ค ว า ม แ อ๊ ค ชั่ น เ ป็ น จุ ด ส ำ คั ญ แ ล ะ อื่ น ๆ อี ก ม า ก ม า ย (:
https://classroomacl.weebly.com)

ภาพที่ 2.1 แสดง Action movie (ภาพยนตร์แอคชั่น)
2.1.2.2 Adventure (ภาพยนตร์ผจญภยั ) Adventure หมายถึงภาพยนตร์ แนวผจญภัย
เข้าป่าฝ่าดง เจอปัญหาอุปสรรคมากมาย และต้องมีการแก้ไข ปัญหาสถานการณ์ หนังแบบน้ีก็
เหมาะสมหรับผู้ชมท่ีช่ืนชอบการผจญภัย เช่น เข้าไปในป่าที่ยังไม่รู้จักว่ามีอะไรบ้างท่ีรอการเข้าไป
ค้นหาจากเรา (https://classroomacl.weebly.com)

ภาพที่ 2.2 แสดง Adventure (ภาพยนตรผ์ จญภยั )

6
2.1.2.3 War (ภาพยนตร์สงคราม) War หนังสงคราม ท่ีมีการอ้างอิงเหตุการณ์สงครามที่
เคยเกิดข้ึนในอดีต เน้นจุดๆ หนึ่งในสงครามน้ันๆ ก็อาจจะนำไปใช้สอนเด็กนักเรียนได้ แต่ก็อาจจะไม่
เหมาะในบางเร่ือง เช่น ความรุนแรงหรือความป่าเถ่ือนอะไรประมาณน้ี ผมสังเกตว่าถ้าคนที่ไม่ใช่คอ
หนังสงครามจริงๆ เขาอาจจะไม่อยากดูเลยด้วยซ้ำ แต่คนท่ีชอบดูก็จัดได้ว่าคลั่งหนังสงครามไปเลย
ส่ ว น ท่ี เ ห ลื อ ก็ เ ป็ น ก า ร ช อ บ ดู เ ป็ น ช่ ว ง ๆ ร ะ ย ะ เ ว ล า ใ ด เ ว ล า ห น่ึ ง
(https://classroomacl.weebly.com)

ภาพท่ี 2.3 แสดง War (ภาพยนตรส์ งคราม)
2.1.2.4 Drama Movies (ภาพยนตร์ดราม่า) Drama ภาพยนตร์ชีวิต ท่ีจะได้ความรู้สึก
ซ้ึงเศร้า เคล้าน้ำตา ทำให้นึกถึงชีวิตคนจริงๆ บางเร่ืองดูแล้วเครียด บางเรื่องก็เศร้ามากๆ แต่พอหนัง
จบก็โลง่ หัว (https://classroomacl.weebly.com)

ภาพที่ 2.4 แสดง Drama Movies (ภาพยนตรด์ ราม่า)

7
2.1.2.5 Sci-Fi Movies (ภาพยนตร์วิทยาศาสตร์) Sci-Fi ภาพยนตร์ที่มีเนื้อหาอ้างอิง
วิทยาศาสตร์ แต่ทำออกมาให้น่าสนใจอาจจะผสมจินตนาการเข้าไปด้วย แต่หลายคนบอกว่าไม่ชอบ
เพราะดูไม่รู้เรื่อง ซึ่งก็เป็นความจริงเพราะบางเร่ืองก็ต้องอาศัยความรู้พ้ืนฐานเป็นเดิมพันบ้าง แต่ถ้า
หากชมบ่อยๆ ก็จะเริ่มรู้เรื่องและกลายเป็นคนชอบหนังประเภทน้ีก็ได้ หนังแนวนี้สามารถต่อ
จินตนาการใหเ้ ราได้ เผลอๆ คนท่ีดูอาจจะคิดอะไรดีๆ ออกมาสรา้ งประโยชน์ใหก้ ับคนรอบข้างได้ และ
แ น ว คิ ด ข อ ง ห นั ง แ น ว นี้ ก็ เป็ น แ ร ง ก ร ะ ตุ้ น ให้ นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ พ ย า ย า ม ท ำ ให้ ไ ด้ แ บ บ ใน ห นั ง
(https://classroomacl.weebly.com)

ภาพที่ 2.5 แสดง Sci-Fi Movies (ภาพยนตรว์ ิทยาศาสตร)์
2.1.2.6 Family (ภาพยนตร์ครอบครวั ) Family เป็นภาพยนตร์ท่ีคนทุกคนในครอบครัว
ดูได้ ส่วนใหญ่เป็นภาพยนตร์ที่มีเน้อื หาเกย่ี วกับความผกู พัน ของคนในครอบครัว ส่วนใหญ่ก็จะแฝงแง่
คิ ด เอ า ไว้ แ ล ะ เดิ น เร่ื อ ง แ บ บ เรี ย บ ง่ า ย เน้ น ค ว า ม รั ก กั น ข อ ง ค น ใน ค ร อ บ ค รั ว
(https://classroomacl.weebly.com)

ภาพท่ี 2.6 แสดง Family (ภาพยนตรค์ รอบครัว)

8
2.1.2.7 Thriller Movies (ภาพยนตร์ระทึกขวัญ) Thriller ภาพยนตร์แนวสืบสวน
สอบสวน ทีม่ ีการผกู เรื่องเพ่ือให้ผู้ชมลุ้นไปดว้ ยว่าผลสุดท้ายจะออกมาในแนวใด เหมาะกับผูท้ ี่ชอบการ
สืบ นักสืบน้อยท้ังหลาย มันมีเสน่ห์ตรงทำให้ผู้ชมต้องติดตามตลอดท้ังเรอ่ื ง ดังน้ันหากเร่ืองไหนทำให้
เกิ ด ป ม ช้ า ก็ ท ำ ให้ ห นั งน่ า เบื่ อ แ ล ะ ต อ น จ บ แ ล ะ แ น ว เรื่ อ งต้ อ งมี ค ว า ม แ ป ล ก ให ม่
(https://classroomacl.weebly.com)

ภาพท่ี 2.7 แสดง Thriller Movies (ภาพยนตร์ระทกึ ขวัญ)
2.1.2.8 Crime (ภาพยนตร์อาชญากรรม) Crime ภาพยนตร์อาชญากรรม แนวการ
แกไ้ ข ต่อสู้กับคดีต่างๆ ของตำรวจ (https://classroomacl.weebly.com)

ภาพท่ี 2.8 แสดง Crime (ภาพยนตร์อาชญากรรม)

9
2.1.2.9 Documentaries (ภาพยนตรส์ ารคดี) Documentary ภาพยนตรแ์ นวสารคดที ่ี
ดูไปด้วย ได้สาระไปดว้ ย (https://classroomacl.weebly.com)

ภาพท่ี 2.9 แสดง Documentaries (ภาพยนตรส์ ารคด)ี
2.1.2.10 Animation (ภาพยนตร์การ์ตูน) Animation หมายถึงภาพยนตร์การ์ตูน ซ่ึง
ปัจจุบันกำลังมาแรง เช่น finding nemo เป็นต้น ปัจจุบันมีการผลิตออกมาได้น่าดูและแนบเนียนข้ึน
ประเทศไทยเองก็มีออกมาหลายเรื่องและได้รับการต้อนรับมากโดยเฉพาะเด็กๆ ที่ขาดกันไม่ได้
(https://classroomacl.weebly.com)

ภาพที่ 2.10 แสดง Animation (ภาพยนตร์การ์ตนู )

10
2.1.2.11 Comedy (ภาพยนตร์ตลก) Comedy ภาพยนตร์ตลก เบาสมอง เหมาะกับ
คนทต่ี ้องการดูเพอื่ การพกั ผ่อน ไมต่ อ้ งคิดอะไรมาก (https://classroomacl.weebly.com)

ภาพที่ 2.11 แสดง Comedy (ภาพยนตร์ตลก)
2.1.2.12 Erotic (ภาพยนตร์ผู้ใหญ่) Erotic เป็นภาพยนตรท์ ่ีไม่เหมาะกับผู้ท่ีมีอายุไม่ถึง
18 ปี เพราะเป็นเรื่องเก่ียวกับเพศ ในประเทศไทยไม่มีเพราะทำออกมาก็ไม่ผ่านการเซ็นเซอร์
(https://classroomacl.weebly.com)

ภาพท่ี 2.12 แสดง Erotic (ภาพยนตรผ์ ู้ใหญ)่

11
2.1.2.13 Fantasy (ภาพยนตร์ผสมจินตนาการ) Fantasy ภาพยนตร์ที่มีการผสม
จิ น ต น า ก า ร แ บ บ ท่ี เ ร า ๆ ไ ม่ ค่ อ ย เ ห็ น ใ น ชี วิ ต จ ะ เรี ย ก ว่ า เห นื อ จ ริ ง ก็ ไ ด้
(https://classroomacl.weebly.com)

ภาพท่ี 2.13 แสดง Fantasy (ภาพยนตร์ผสมจินตนาการ)
2.1.2.14 Musicals Movies (ภาพยนตร์เพลง) Musical ภาพยนตร์เพลง เช่น ชิคาโก
ประเทศไทยยังไม่มีให้เห็นเป็นเรื่องเป็นราวสักเรื่อง แต่ก็ยากที่จะทำให้มีรายได้เพราะความนิยมของ
คนแนวนี้ไมม่ าก (https://classroomacl.weebly.com)

ภาพท่ี 2.14 แสดง Musicals Movies (ภาพยนตร์เพลง)

12
2.1.2.15 Romance (ภาพยนตร์โรแมนติก) Romance ภาพยนตร์แนวรักโรแมนติก
เหมาะกับคู่หนุ่มสาวและผู้ท่ีกำลังมีความรักทั้งหลายหรือคนท่ีกำลังอยากจะรกั ใคร ชมไว้เป็นแนวทาง
ในการทำตนเมื่อมีคนรัก จะได้ความรู้สึกมากขึ้นหากเราเคยมีประสบการณ์และความรู้สึกเหมือนใน
ภาพยนตร์ จึงไม่แปลกใจที่หลายคนร้องไห้กับหนัง แต่อีกหลายคนอาจจะมองว่ามันซ้ึงตรงไหน
(https://classroomacl.weebly.com)

ภาพที่ 2.15 แสดง Romance (ภาพยนตร์โรแมนติก)
2.1.2.16 Western (ภาพยนตร์ตะวันตก) Western หนังคาวบอยตะวันตก ปัจจุบัน
อาจจะดูไม่ค่อยได้รับความนิยมเท่าไรเพราะความแปลกใหม่ในการนำเสนอหายากข้ึนและเสี่ยงมากท่ี
จะทำออกมา (https://classroomacl.weebly.com)

ภาพท่ี 2.16 แสดง Western (ภาพยนตรต์ ะวนั ตก)

13

2.2 แนวคิดเกี่ยวกบั ภาพยนตส์ ั้นแบบทางเลือก
2.2.1 Short film interactive video คือ ภาพยนตร์สั้นที่สามารถปฏิสัมพันธ์กับผู้ที่

รบั ชมอยู่ได้ โดยเลอื กไดต้ ามความตอ้ งการของผู้รบั ชมว่าจะใหภ้ าพยนตร์หนังสน้ั เป็นไปในทางไหน
2.2.2 ภาพยนตร์สั้น หรือ หนังส้ัน เป็นประเภทของภาพยนตร์อย่างหนึ่งท่ีเหมือนกับ

ภาพยนตรท์ ั่วไป ท่ีเล่าเรื่องด้วยภาพและเสียงเฉกเช่นภาพยนตร์ความยาวปกติ เพียงแต่ว่าเปน็ การเล่า
เรอื่ งประเด็นสั้น ๆ หรือประเด็นเดียวให้ได้ใจความ มาตรฐานของภาพยนตร์ส้ัน คือ มีความยาวเต็มท่ี
ไม่เกนิ 40 นาที สำหรับในประเทศไทย ภาพยนตรส์ ้ันเรื่องแรกเกิดข้ึนในสมัยของรัชกาลที่ 5 เมื่อครั้ง
เสด็จประพาสยุโรป ความยาว 1 นาทีโดยช่างภาพของบริษัทลูมิแอร์ (Lumiere) ของฝร่ังเศส ผู้ผลิต
และพัฒนากล้องถ่ายภาพยนตร์สำคัญรายหน่ึงของโลก ปัจจุบัน ภาพยนตร์สั้นได้รับความสนใจและ
ตน่ื ตัวอยา่ งมาก มีผู้สร้าง ผู้ผลติ หลายรายมากขึ้น และในการแจกรางวัลออสการ์ คร้ังที่ 80 ในปี ค.ศ.
2012 ท่ีเป็นการแจกรางวัลให้แก่ภาพยนตร์ในปี ค.ศ. 2011 ก็เป็นคร้ังแรกด้วยท่ีมีการแจกรางวัล
ใหแ้ กภ่ าพยนตร์ประเภทนี้ด้วย โดยแบ่งออกเป็น 2 รางวัล คือ ภาพยนตรส์ ั้น (Live Action) และแอนิ
เมชั่นส้ัน (Animated) (https://th.wikipedia.org/wiki)

ภาพที่ 2.17 แสดงภาพยนตร์สนั้ (Short film)
2.2.3 Interactive Video คือ ส่ือการเรียนรู้แต่เดิมมักอย่ใู นรปู แบบวิดีโอเป็นสว่ นใหญ่
แต่ปัจจุบันด้วยเทคโนโลยีท่ีเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว เราสามารถพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบ
วดิ โี อ ใหส้ ามารถปฏสิ มั พันธ์กบั ผเู้ รียนได้ (https://www.youtube.com)
2.2.4 ประโยชน์ของภาพยนตร์สั้นแบบทางเลือก

2.2.4.1 ผรู้ ับชมสามารถปฏสิ ัมพนั ธก์ ับภาพยนตรส์ น้ั แบบทางเลือกได้
2.2.4.2 ผู้รับชมสามารถเลือกความหลากหลายและฉากจบของภาพยนตร์ส้ัน
แบบทางเลอื กได้
2.2.4.3 มีความแปลกใหม่และหนา้ ดึงดูดกว่าภาพยนตร์สนั้ ธรรมดา
2.2.4.4 ทำใหผ้ ู้ชมไดร้ บั ความรู้หลายรูปแบบ

14
2.3 แนวคดิ เกี่ยวกับหลกั การแยกขยะ

2.3.1 การแยกขยะมีจุดมุ่งหมายเพ่ือลดขยะที่ต้องนำไปกำจัดจริงๆ ให้เหลือน้อยที่สุด
เช่น ขยะแห้งบางชนิดที่สามารถแปรสภาพนำมากลับมาใช้ได้อีก ได้แก่ ขวดแก้ว โลหะ พลาสติก ,
ขยะเปียกสามารถนำมาหมักทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ , ขยะอันตราย เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋องฉีด
สเปรย์ ตอ้ งมวี ธิ กี ำจดั ทปี่ ลอดภยั (https://today.line.me)

2.3.2 ประเภทการแยกขยะ
2.3.2.1 ขยะย่อยสลายได้ เช่น เศษอาหารและพืชผัก ท่ีเหลือจากการ

รับประทานและการประกอบอาหาร สามารถนำไปหมักทำปุ๋ยได้ จากปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมดมี
ประมาณ 46% ขยะประเภทน้ีใหแ้ ยกใสถ่ งั สเี ขยี ว เพื่อจะนำไปทำปยุ๋ หมกั (https://today.line.me)

ภาพท่ี 2.18 แสดงขยะย่อยสลายได้ (Compostable waste)
2.3.2.2 ขยะรีไซเคิล หรือขยะที่สามารถนำไปขายได้ เช่น ขวด แก้วพลาสติก
เศษแก้ว กระป๋องน้ำอัดลม กระป๋องน้ำผลไม้ ขวดแก้ว เศษกระดาษ กล่องเครื่องด่ืม ถุงพลาสติก ซ่ึง
จากปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมด มีอยู่ประมาณ 42% ขยะประเภทนี้ให้แยกใส่ถังสีเหลือง เพื่อจะถูก
นำไปรีไซเคิลและนำกลับมาใชป้ ระโยชนไ์ ดใ้ หม่ (https://today.line.me)

ภาพที่ 2.19 แสดงขยะรีไซเคิล (Waste recycling)

15
2.3.1.3 ขยะทั่วไป เป็นขยะที่ย่อยสลายยากและไม่คุ้มค่าในการนำไปรีไซเคิล
เช่นพลาสติกใส่อาหาร หลอด ซองขนม ซองลูกอม ซองบะหม่ี ทิชชู กล่องอาหาร แก้วกระดาษเคลอื บ
ใส้ เคร่ืองด่ืม มามา่ คัพ จากปรมิ าณขยะมูลฝอยทั้งหมด ประมาณ 9% ขยะประเภทนี้ใหแ้ ยกใสถ่ ังสีน้ำ
เงนิ เพ่ือจะถูกนำไปฝังกลบรอการย่อยสลาย (https://today.line.me)

ภาพท่ี 2.20 แสดงขยะท่วั ไป (General waste)
2.3.1.4 ขยะมีพิษ ที่ต้องเก็บรวบรวมแล้วนำไปกำจดั อยา่ งถกู วธิ ี เช่น กระป๋อง
ยาฆ่าแมลง หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย ซึ่งจากปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมด มีอยู่ประมาณ 3 % ขยะ
ประเภทนใ้ี ห้แยกใส่ถังสแี ดง เพ่อื จะนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี (https://today.line.me)

ภาพที่ 2.21 แสดงขยะมีพิษ (Toxic waste)
2.3.3 วิธกี ารลดและจดั การขยะกอ่ นนำไปทงิ้

2.3.3.1 การลดการใช้ หรือการลดขยะจากแหล่งท่ีเกิด โดยพยายาม
หลีกเลี่ยงหรือลดการเกิดขยะหรือมลพิษที่เกิดข้ึน เช่น การใช้ถุงผ้าแทนการใช้ถุงพลาสติก ลดการใช้
หลอดดดู โดยการกนิ นำ้ เปลา่ จากแก้ว (https://today.line.me)

16

2.3.3.2 การนำผลิตภัณฑ์มาใช้ซ้ำ เป็นการนำวัสดุของใช้กลับมาใช้ในรูป
แบบเดิมหรอื นำมาซอ่ มแซมใช้ หรอื นำมาใช้ทำประโยชนอ์ ื่น ๆ โดยแบ่งได้เป็น 2 ขัน้ ตอนคือ

1) ขนั้ ตอนการผลติ สินคา้ พยายามทำให้เกิดเศษวสั ดุหรือของเสีย
น้อยท่ีสดุ (https://today.line.me)

2) ข้ันตอนการนำของใช้มาใช้ซ้ำ เป็นการยืดอายุการใช้งานก่อน
จะนำไปท้ิง เชน่ การนำขวดพลาสตกิ มาบรรจุนำ้ , การใช้กระดาษ 2 หนา้ (https://today.line.me)

2.3.3.3 การนำกลับมาผลิตใหม่ เปน็ การแยกวัสดุทไ่ี ม่สามารถนำกลบั มาใชซ้ ้ำ
ได้ออกจากขยะและรวบรวมใช้เป็ นวัตถุดิบในการผลิตสินค้าข้ึนใหม่หรือเรียกว่า รีไซเคิล
(https://today.line.me)

2.3.3.4 การหลีกเล่ียงการใช้วัสดุกำจัดยาก เช่น กล่องโฟม การใช้จานหรือ
แก้วกระดาษ ยาฆา่ แมลง ควรใช้สมนุ ไพรเป็นสารกำจัด (https://today.line.me)

2.3.3.5 การซ่อมแซมนำกลับมาใช้ใหม่ เป็นการซ่อมแซมวัสดุท่ีใช้แล้ว ที่
สามารถซ่อมแซมน ำกลับ มาใช้ให ม่ได้ เช่น การซ่อม แซมเส้ื อผ้า อุป กรณ์ ไฟ ฟ้ าช ำรุด
(https://today.line.me)

2.3.4 จดั การขยะ โดยอาศัยหลกั 5 R
2.3.4.1 Reduce การลดปริมาณขยะ โดยลดการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีบรรจุภัณฑ์

ส้นิ เปลอื ง (https://today.line.me)
2.3.3.2 Reuse การนำมาใช้ซ้ำ เช่น ขวดแก้ว กล่องกระดาษ กระดาษพิมพ์

หนา้ หลงั (https://today.line.me)
2.3.3.3 Repair การซ่อมแซมแก้ไขสิ่งของต่างๆ ให้สามารถใช้งานต่อได้

(https://today.line.me)
2.3.3.4 Reject ก า ร ห ลี ก เ ล่ี ย ง ใ ช้ สิ่ ง ท่ี ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ม ล พิ ษ

(https://today.line.me)
2.3.3.5 Recycle การแปรสภาพและหมุนเวยี นนำกลับมาใชไ้ ด้ใหม่ โดยนำไป

ผา่ น กระบวนการผลิตใหม่อกี คร้ัง
2.3.5 ข้อดแี ละข้อเสียของการแยกขยะ
2.3.5.1 ข้อดีของการแยกขยะ
1) ชว่ ยลดปรมิ าณขยะลง
2) ประหยัดงบประมาณทีใ่ ช้เพอ่ื การกำจัดขยะ
3) ช่วยลดการสน้ิ เปลืองพลงั งานและทรัพยากร
4) ช่วยรักษาสิง่ แวดล้อมเกิดมลพษิ ตอ่ โลกนอ้ ยลง

17
2.3.5.2 ข้อเสยี ของการไม่แยกขยะ

1) ขยะจะถูกยอ่ ยสลายในเวลานาน
2) ใช้งบประมาณโดยส้ินเปลือง
3) ใช้ทรพั ยากรและพลงั งานโดนสิน้ เปลืองหรือมากจนเกนิ ไป
4) จะเปน็ การเพมิ่ มลพษิ ตอ่ โลกมากข้ึน
2.4 แนวคดิ เกย่ี วกบั โปรแกรมท่ีใช้
2.4.1 โปรแกรม Camtasia Studio 9 คือ โปรแกรมสำหรับผลิตส่ือการเรียนการสอนที่
ดี และมีประสิทธิภาพโปรแกรมหนึ่ง ประกอบด้วยเคร่ืองมือในการทำงานต่างๆ อย่างครบถ้วน เช่น
บันทึกภาพ และเสียงบนจอภาพ ดูวีดิโอ จัดการและสร้างไฟล์วิดิโอ สามารถตัดต่อ และสามารถ
บันทึกเป็นไฟล์รูปแบบต่างๆได้ เช่น Window Media Player, Real Player, Quick Time และ
Animation Gif ต า ม ต้ อ ง ก า ร แ ล ะ จั ด ก า ร ด้ า น เ สี ย ง ข อ ง ไ ฟ ล์ วี ดิ โ อ
(https://home.kku.ac.th/acamed)
2.4.1.1 หนา้ ตาของโปรแกรม Camtasia 9

ภาพที่ 2.22 แสดงหน้าตาของโปรแกรม Camtasia 9

ภาพท่ี 2.23 แสดงหนา้ ตาของโปรแกรมขา้ งใน

18

2.4.1.2 วิธีติดต้ังโปรแกรม Camtasia 9

ภาพที่ 2.24 แสดงเปิด Camtasia.exe

ภาพท่ี 2.25 แสดงต๊กิ เครื่องหมายถกู จากนน้ั กด Install

ภาพที่ 2.26 แสดงรอโปรแกรมตดิ ต้ังจนเสร็จจากนน้ั กด Finish

19

2.4.2 โปรแกรม Adobe Premiere Pro เป็นซอฟแวรโ์ ปรแกรมที่ใช้ในงานตดั ต่อวิดโี อ
และบนั ทึกตดั ต่อเสียงท่ีแพร่หลายทสี่ ุด สามารถผลิตผลงานไดใ้ นระดบั มืออาชีพ จนถึงการนำไป
ออกอากาศทางสถานโี ทรทศั น์ (Broadcasting System ) มีการทำงานท่ีไมย่ ุ่งยากซับซ้อนมากนัก
สามารถจบั ภาพและเสยี งมาวาง (Drag & Drop) ลงบนไทม์ไลน์ (Time line) เคลื่อนยา้ ยได้อสิ ระโดย
ไมจ่ ำกัดจำนวนคร้ัง และไม่มีการสูญเสยี ของสัญญาณภาพและเสยี ง เพียงผู้ผลติ รายการ ตอ้ งมที ักษะ
ทด่ี ใี นการใช้โปรแกรมกับความคิดสรา้ งสรรค์เท่าน้ัน

Adobe Permiere Pro เป็นโปรแกรม ท่ีใช้ตัดต่อภาพ ทั้งภาพน่ิงและภาพเคล่ือนไหว ซึ่ง
เป็น รวมไปถึงวิดีโอ แม้กระทั่งการทำงาน เกี่ยวกับเสียง ข้อความ หรือหากมีข้อมูลรูปภาพจากกล้อง
ดิจิตอลอยู่แล้ว ก็สามารถนำภาพท่ีได้ถ่ายไว้มาตัดต่อ เพ่ือสร้างเป็นภาพยนตร์สำหรับส่วนตัวได้
ความสามารถในการปรับและตรวจสอบค่าสี โทนสี ความสว่างและแสงเงา ของไฟล์วีดิโอได้มากขึ้น
โดยสามารถแทนที่ค่าสีแล้วเปรียบเทียบกับไฟล์เดิมได้ในหน้าต่างเดียวกัน และยังสามารถตัดต่อ
เกี่ยวกับระบบเสียงได้มากข้ึนAdobe Premiere Pro เพิ่มขีดความสามารถในการสร้างเอ็ฟเฟ็ค
รูปแบบต่าง ๆให้กับเสียง อีกทั้งยังเพ่ิมการปรับแต่งเสียง ในระบบ 5.1 Channelนอกจากนั้นยัง
สามารถสรา้ งเสียงคุณภาพสูงไดด้ ว้ ย Audio Mixer สนับสนนุ การทำงานบนมาตรฐานอุตสาหกรรมอื่น
ๆAdobe Premiere Pro สามารถผลิตงานคุณภาพสูงได้ดี ไม่ว่าจะเป็นการสร้างไฟล์คุณภาพ เช่น
MPEG 2 หรือแปลงไฟล์ให้ได้รปู แบบสือ่ วดี โิ อท่หี ลากหลาย คณุ สมบตั ิตา่ งๆ

การทำงานแบบ Real-Time Adobe Premiere Pro ได้เพ่ิมความสามารถในการตัดต่อ
แบบ Real-Time กล่าวคือ สามารถตัดต่อ ตกแต่งและดูผลงานท่ีสร้าง ได้ทันทีโดยท่ีไม่ต้องทำการ
Render ก่อน ไม่ว่าจะใส่ Transition การทำ Motion Path หรือการทำเอ็ฟเฟ็คต่างๆ ก็ตามเรา
สามารถดูผลการปรับแต่งได้ท่ีหน้าจอแสดงผลควบคู่กับการตัดต่อพร้อมกันได้ และสามารถทำงานได้
หลายซีเควนส์บนหน้าต่าง Timeline เดียว Adobe Premiere Pro เปิดโอกาสให้เราตัดต่องานที่
ซับซ้อนได้มากขึ้น โดยสามารถเพิ่มซีเควนส์ และยังทำงานได้อย่างไม่จำกัดบนหน้าต่างTimeline
เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบรูปแบบของงานตัดต่อแต่ละชิ้นงานได้ทันที โดยไม่ต้องสร้างโปรเจ็กต์ใหม่
หรือเปิดโปรเจ็กต์อื่น ๆขึ้นมาให้ยุ่งยาก มีระบบปรับแต่งสีสันของโฟล์วิดีโออย่างมือโปร Adobe
Premiere Pro ขยายเช่น การแปลงไฟล์ ให้ได้รูปแบบส่ือวีดิโอท่ีหลากหลาย เช่น การแปลงไฟล์เป็น
DV,DVD,CD,VCD,SVCD เป็นต้น นอกจากนั้นยังสามารถทำงานกับไฟล์ภาพน่ิงและภาพต่อเน่ือง ได้
เชน่ TIFF , TIFF Sequence, PCX ,Al Sequence https://sites.google.com

20

2.4.1.3 หนา้ ตาของโปรแกรม Adobe Premiere Pro

ภาพท่ี 2.27 แสดงหนา้ ตาของโปรแกรม Adobe Premiere Pro

ภาพท่ี 2.28 แสดงหนา้ ตาภายในของโปรแกรม Adobe Premiere Pro
2.4.1.4 วิธตี ดิ ต้ังโปรแกรม Adobe Premiere Pro

ภาพท่ี 2.29 แสดงเปิด Premiere_Pro_Set-Up.exe

21

ภาพที่ 2.30 แสดงทำการต้ังค่าตามที่ตนเองต้องการในเรื่องต่างๆ เสร็จ

แล้วกด Continue

ภาพที่ 2.31 แสดงกด Stars Installing เพอ่ื ทำการตดิ ตงั้ โปรแกรม

ภาพที่ 2.32 แสดงรอโปรแกรมติดจ้ังจนเสร็จ โปรแกรมจะทำการปิด
หน้าต่างตดิ ต้ังลงไปเอง เม่อื ทำการตดิ ตัง้ จนเสร็จสิ้นแล้ว

บทท่ี 3
วิธกี ารดำเนนิ งานโครงการ

การดำเนินโครงการ ภาพยนตร์สั้นแบบทางเลือก ชื่อโครงการ “เร่ืองจุดเริ่มต้นของการทำลาย
และการส้ินสดุ ” มรี ายละเอยี ดในการดำเนินงานโครงการ ดังน้ี

3.1 การศึกษาข้อมลู เบอ้ื งตน้
3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
3.3 ขั้นตอนการดำเนินงาน
3.4 เครือ่ งมอื ท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู
3.5 ขนั้ ตอนการดำเนินการและเก็บรวบรวมขอ้ มูล
3.6 พิจารณาจากคะแนนตามเกณฑ์
3.7 สถติ ทิ ใี่ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มูล

3.1 การศกึ ษาข้อมูลเบ้อื งต้น
3.1.1 ศกึ ษาคน้ คว้าจากเอกสารตำราและสอื่ ต่าง ๆ
3.1.2 คณะผ้จู ัดทำรว่ มกันดำเนินการสร้างภาพยนตรส์ ัน้ แบบทางเลือกโดยใช้ความร้จู าก

การศึกษาค้นควา้ เร่อื ง ภาพยนตร์สนั้ แบบทางเลือก “เร่ืองจดุ เริ่มต้นของการทำลายและการสน้ิ สุด”
3.1.3 สำรวจกลมุ่ เปา้ หมายและจัดทำโครงร่างแบบสอบถาม
3.1.4 จดั หาพ้นื ที่และบุคลากรในการแสดง ภาพยนตรส์ ั้นแบบทางเลือก “เร่ืองจุดเร่มิ ตน้ ของ

การทำลายและการสนิ้ สุด”

3.2 ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง
3.2.1 ประชากร
นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยเทคนิคระยอง

จำนวน 35 คน

23
3.2.2 กลุ่มตวั อย่าง คือ นกั เรียนประกาศนียบตั รวชิ าชพี สาขาวชิ าชพี คอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ
วิทยาลัยเทคนิคระยอง จำนวน 32 คน (https://sites.google.com)

ภาพที่ 3.1 แสดงตารางทฤษฏีของ Krejcie & Morgan

24

ข้นั ตอนการดำเนินการ
3.3.1 การออกแบบตาราง

ภาพที่ 3.2 แสดง Flow Chart ออกแบบผงั งาน

25

ภาพท่ี 3.3 แสดง Flow Chart ออกแบบผงั งาน (ต่อ)
3.3.2 ข้นั ตอนการสรา้ งชนิ้ งาน

ภาพที่ 3.4 แสดงขนั้ ตอนถา่ ยและจดั นักแสดง

26

ภาพที่ 3.5 แสดงขน้ั ตอนถา่ ยฉากวิ่ง
ภาพที่ 3.6 แสดงขนั้ ตอนถา่ ยและจดั มมุ กลอ้ ง
ภาพท่ี 3.7 แสดงขน้ั ตอนถ่ายเก็บโทนสแี สง

27

ภาพท่ี 3.8 แสดงขน้ั ตอนตัดต่อคลิปวดี โี อใหม้ ีความยาวเหมาะสม
ภาพท่ี 3.9 แสดงขนั้ ตอนตดั ต่อทางเลือก
ภาพท่ี 3.10 แสดงข้ันตอนตัวลือกภาพยนตรส์ ั้น

28

ภาพที่ 3.11 แสดงข้ันตอนการเกบ็ เสยี งว่ิง”

ภาพท่ี 3.12 แสดงชิ้นงานฉากดมื่ น้ำ
3.4 เคร่อื งมอื ทใี่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู

3.4.1 ภาพยนตร์ส้ันแบบทางเลือก “เรื่องจุดเริ่มต้นและการสิ้นสุด” ด้วยโปรแกรม
Camtasia 9

3.4.2 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชา
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยอง ท่ีมีต่อ ภาพยนตร์สั้นแบบทางเลือก “เร่ืองจุดเร่ิมต้นและ
การสนิ้ สดุ ”

ส่วนที่ 1 ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามได้แก่ เพศ และ อายุของผู้ตอบ
แบบสอบถาม

ส่วนที่ 2 ข้อมูลความพึงพอใจของภาพยนตร์สั้นแบบทางเลือก “เร่ืองจุดเริ่มต้น
และการสิ้นสุด”ด้วยโปรแกรม Camrasia 9 มีลักษณะเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า
(Rating Scale) แบง่ เปน็ 5 ระดบั

29

5 หมายถึง ความพึงพอใจมากท่ีสดุ
4 หมายถึง ความพึงพอใจมาก
3 หมายถึง ความพึงพอใจปานกลาง
2 หมายถงึ ความพึงพอใจน้อย
1 หมายถึง ความพงึ พอใจน้อยทส่ี ดุ
ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะการจัดทำโครงการภาพยนตร์ส้ันแบบทางเลือก “เรื่อง
จดุ เร่มิ ต้นและการส้นิ สดุ ”

3.4.3 การสรา้ งเครื่องมือทีใ่ ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลมีดงั น้ี
3.4.3.1 กำหนดโครงการสร้างและขอบข่ายเน้ือหาสาระของแบบสอบถามโดยกำหนด

เน้ือหาสาระท่ีนำมาสร้างแบบสอบถามให้เห็นขอบเขตของคำถามที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และ
ครอบคลมุ เรอื่ งทจ่ี ะศึกษาโดยคำแนะนำจากครทู ี่ปรึกษาโครงร่างการจดั ทำโครงการ

3.4.3.2 ศึกษาแนวทางทฤษฏีหลักการสร้างแบบสอบถามเอกสารตำราบทความทาง
วิชาการ

3.4.3.3 ศึกษาวิธีสร้างแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) สร้าง
แบบสอบถามฉบับร่างโดยเขียนข้อความท่ีสอดคล้องกับตัวแปรท่ีศึกษาให้ครบถ้วนตามโครงการสร้าง
5 ระดบั คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยทสี่ ดุ

3.4.3.4 ดำเนินการสร้างแบบสอบถามข้ันมาให้ครอบคลุมกับการจัดทำโครงการ
ภาพยนตร์สน้ั แบบทางเลือก “เรื่องจดุ เร่มิ ตน้ ของการทำลายและการส้นิ สดุ ”

3.4.3.5 ตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามเบื้องต้นโดยให้อาจารย์ที่ปรกึ ษาโครงการและ
ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบพิจารณาเพื่อความเที่ยงตรงของเนื้อหาและความถูกต้องในสำนวนภาษาท่ีใช้
เพอ่ื ให้คำถามครอบคลุมและสอดคล้องกบั วัตถุประสงค์ของโครงการแล้วปรับปรุงแกไ้ ขตามตำแนะนำ
นำมาจัดทำแบบสอบถามฉบบั สมบูรณ์เพอ่ื นำไปใชต้ ่อของอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ

3.4.3.6 จัดทำแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ตามคำแนะนำของอาจารย์ท่ีปรึกษาโครงการ
นำมาจัดทำแบบสอบถามฉบับสมบรู ณเ์ พอ่ื นำไปใชต้ อ่ ไป

3.5 ข้นั ตอนการดำเนินการและเกบ็ รวบรวมข้อมูล
3.5.1 การวางแผนของโครงการ
3.5.1.1 สรปุ หวั ข้อโครงการ
3.5.1.2 ศึกษาเนื้อหาที่เก่ียวขอ้ งในการจัดทำโครงการ ต้องการปจั จัยใดบ้างในการนำมา

จัดทำโครงการ ต้องการปัจจัยใดบา้ งในการดำเนินโครงการ

30

3.5.2 เสนอโครงการ
3.5.3 การดำเนินงานในโครงการมีเนื้อหา 5 บท สามารถสรปุ ได้ดงั น้ี

3.5.3.1 จัดทำโครงการให้ได้ใจความ
1) บทที่ 1 บทนำโดยเน้ือหาเก่ียวกับความเป็นมา วัตถุประสงค์ ขอบเขตและ

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
2) บทที่ 2 เอกสาร และทฤษฏีท่เี กี่ยวข้อง แนวคิดเก่ียวกบั ภาพยนตร์

แนวคดิ เกย่ี วกับภาพยนตร์ส้ันแบบทางเลือก แนวคดิ เก่ียวกับหลกั การแยกขยะ และ โปรแกรมท่ีใช้
3) บทท่ี 3 วธิ กี ารดำเนนิ โครงการ โดยเน้ือหาเกยี่ วกบั ข้ันตอนการดำเนนิ งาน
4) บทที่ 4 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล และข้อเสนอแนะ โดยเนื้อหาเกย่ี วกบั การ

สรปุ ผลการประเมินผล ของวตั ถุประสงค์ เครอื่ งมือทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รบวรวมข้อมูล
5) บทท่ี 5 สรุปผลการอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

3.5.4 จดั ทำชนิ้ งานเปน็ รปู เลม่
3.5.5 สรุปผลจากแบบสอบถาม
3.5.6 รายงานผลการดำเนินการและนำเสนอต่ออาจารย์ท่ีปรกึ ษาโครงการ

3.6 พิจารณาจากคะแนนตามเกณฑ์

เคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม เพ่ือสำรวจความพึงพอใจของนักเรียน

ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ สาขาวิชาชีพคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยอง ของ กลุ่มตัวอย่างต่อ

โครงการโดยมีขั้นตอนดังตอ่ ไปน้ี

3.6.1 สร้างแบบสอบถาม โดยมีมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ ดงั น้ี

(https://www.ms.src.ku.ac.th)

3.6.1.1 5 หมายถงึ มากทส่ี ดุ

3.6.1.2 4 หมายถงึ มาก

3.6.1.3 3 หมายถึง ปานกลาง

3.6.1.4 2 หมายถึง นอ้ ย

3.6.1.5 1 หมายถงึ นอ้ ยทส่ี ุด

31

3.6.2 เกณฑก์ ารประเมินคา่ ความพงึ พอใจ กำหนดค่าคะแนนออกเป็น 5 ระดบั ดังน้ี
((https://www.ms.src.ku.ac.th))

4.50 – 5.00 หมายถงึ มีความพึงพอใจอยใู่ นระดับมากที่สดุ
3.50 – 4.49 หมายถึงมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
2.50 – 3.49 หมายถึงมีความพึงพอใจอยู่ในระดบั ปานกลาง
1.50 – 2.49 หมายถงึ มีความพงึ พอใจอยู่ในระดับน้อย
0.00 – 1.49 หมายถึงมีความพงึ พอใจอย่ใู นระดับน้อยทีส่ ุด
หมายเหตุ คะแนน 3.50 ข้ึนไป หรอื มากขน้ึ ไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

3.7 สถติ ิทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู
ในการจัดทำโครงการ ภาพยนตร์สั้นแบบทางเลือก “เรื่องจุดเริ่มต้นของการทำลายและการ

สนิ้ สุด” สถติ ิทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูลแบง่ ออกได้ ดงั น้ี

3.7.1 สูตรการหาคา่ สถติ ริ ้อยละ (Percentage)

สตู ร
เมอ่ื แทน คา่ รอ้ ยละ

แทน จำนวนหรือความถี่ทตี่ ้องการ
แทน จำนวนข้อมูลท้งั หมด
3.7.2 สตู รการหาค่าเฉล่ีย (x̄)

สูตร x̄ =
เมื่อ x̄
แทน คา่ เฉล่ีย
แทน ผลรวมของท้ังหมด
แทน จำนวนขอ้ มลู

32

3.7.3 สตู รการหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D Standard Deviation)

สตู ร แทน ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน
เมอื่ แทน คะแนนแต่ละตัว
แทน จำนวนคะแนนในกลุ่ม
x̄ แทน ผลรวม

33

บทท่ี 4
ผลการดำเนินโครงการ

จากการดำเนนิ โครงการภาพยนตรส์ ัน้ แบบทางเลอื ก “เร่ืองจดุ เริ่มต้นและการสิน้ สดุ ”คร้ังน้ีได้มี
การตดิ ตามประเมนิ ผล โดยผู้จัดทำได้ดำเนินการวเิ คราะห์ข้อมลู และแปรผลมีการวิเคราะหข์ ้อมลู ดังน้ี
4.1 ผลการดำเนินการ

ผลดำเนนิ งานโครงการภาพยนตรส์ ้ันแบบทางเลอื ก “เรื่องจดุ เรมิ่ ต้นและการสิ้นสุด”จากการ
วิเคราะหข์ ้อมลู ทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด จำนวน 32

ตารางที่ 4.1 แสดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ
เพศ จำนวน รอ้ ยละ
ชาย 14 43.8
หญงิ 18 56.3
รวม 32 100

จากตารางที่ 4.1 พบวา่ จำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ ไดแ้ ก่ เพศชาย
จำนวน 14 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 43.8 และเพศหญงิ จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 56.3

ภาพท่ี 4.1 แผนภูมแิ สดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ

34

ตารางท่ี 4.2 แสดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ

อายุ จำนวนคน รอ้ ยละ
15 – 16 ปี 2 6.3
17 – 18 ปี 28 87.5
19 – 20 ปี 2 6.3
32 100
รวม

จากตารางที่ 4.2 พบว่าจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ ได้แก่
อายุ 15 – 16 ปี จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.3 , อายุ 17 – 18 ปี จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ
87.5 และอายุ 19 – 20 ปี จำนวน 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 6.3

ภาพท่ี 4.2 แผนภูมแิ สดงจำนวนของผูตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ

35

ตารางที่ 4.3 แสดงความพึงพอใจด้านเนื้อเร่อื ง

เร่อื งการประเมนิ ค่าเฉลย่ี ส่วงเบ่ียงเบน ระดับความพึง
มาตรฐาน พอใจ
1.1 ตวั ละครถงึ อารมณอ์ อกมาและแสดงออกไดอ้ ย่าง 3.56 มาก
เป็นธรรมชาติ 4.38 0.56 มาก
1.2 เน้อื เรื่องของภาพยนตรส์ ั้นสามารถเข้าใจได้ง่าย 3.75 0.75 มาก
1.3 เน้ือเร่ืองมีความทนั สมัยและน่าสนใจ 0.56
1.4 ระยะเวลาของภาพยนตรส์ ้นั มคี วามพอดีไม่ส้ันและ 3.72 มาก
ไม่ยาวจนเกนิ ไปและสามารถส่ือถึงการแยกขยะ 0.72
ส่งิ แวดล้อมได้ 3.85 มาก
0.64
รวมท้ังสน้ิ

จากตารางที่ 4.3 พบว่าความพึงพอใจด้านเน้ือเร่ืองของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต่อ
ภาพยนตร์สั้นแบบทางเลือก “เรื่องจุดเริ่มต้นและการสิ้นสุด”ภาพรวมอยู่ในระดับ มาก
(x̄ = 3.85, S.D. = 0.64) เมื่อพิจารณาพบว่าเน้ือเรื่องของภาพยนตร์สั้นสามารถเข้าใจได้ง่ายอยู่ใน
ระดับมาก (x̄ = 4.38, S.D. = 0.75), เน้ือเร่ืองมีความทันสมัยและน่าสนใจอยู่ในระดับมาก
(x̄ = 3.75, S.D. = 0.56) และระยะเวลาของภาพยนตร์สั้นมีความพอดีไม่สั้นและไม่ยาวจนเกินไป
และสามารถสือ่ ถึงการแยกขยะสิ่งแวดล้อมได้อยใู๋ นระดับมาก (x̄ = 3.72, S.D. = 0.72) ตามลำดับ

ภาพที่ 4.3 แผนภูมแิ สดงความพึงพอใจด้านเน้ือเรอ่ื ง

36

ตารางท่ี 4.4 แสดงความพงึ พอใจดา้ นกราฟฟิกและทางเลือกภาพยนตรส์ ้นั

เรอ่ื งการประเมิน คา่ เฉลย่ี ส่วงเบี่ยงเบน ระดบั ความพึง
มาตรฐาน พอใจ
2.1 ภาพและเสยี งของภาพยนตรส์ ั้นมคี วามคมชดั 3.63 มาก
2.2 โทนสขี องภาพยนตร์ส้นั มีความเหมาะสม 3.91 0.94 มาก
2.3 รปู แบบของตวั เลือกมีความคมชดั 4.41 0.68 มาก
2.4 ตวั เลอื กของภาพยนตรส์ ้ันมีความถูกต้อง 4.13 0.71 มาก
4.02 0.60 มาก
รวมทั้งสน้ิ 0.73

จากตารางที่ 4.4 พบว่าความพึงพอใจด้านกราฟฟิกและทางเลือกภาพยนตร์สั้นของผู้ตอบ
แบบสอบถามท่ีมตี ่อภาพยนตร์สน้ั แบบทางเลอื ก “เรอื่ งจุดเริ่มต้นและการส้ินสุด”ภาพรวมอยู่ในระดับ
มาก (x̄ = 4.02, S.D. = 0.73) เม่ือพิจารณารูปแบบของตัวเลือกมีความคมชัดอยู่ในระดับมาก
(x̄ = 4.41, S.D. = 0.71), ตัวเลือกของภาพยนตร์สั้นมีความถูกต้องอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.13,
S.D. = 0.60) และโทนสีของภาพยนตร์สั้นมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (x̄ = 3.91, S.D. = 0.68)
ตามลำดบั

ภาพที่ 4.4 แผนภูมแิ สดงความพึงพอใจดา้ นกราฟฟิก

37

ตารางท่ี 4.5 แสดงความพึงพอใจดา้ นเสยี ง คา่ เฉลี่ย ส่วงเบี่ยงเบน ระดบั ความพึง
มาตรฐาน พอใจ
เรอ่ื งการประเมิน 3.38
2.81 0.90 ปานกลาง
3.1 เสยี งประกอบภาพยนตร์สนั้ มีความเหมาะสม 3.09 0.99 น้อย
3.2 เสยี งของนักแสดงชดั เจน 0.94
ปานกลาง
รวมทั้งส้ิน

จากตารางท่ี 4.5 พบว่าความพึงพอใจด้านเสียงของโครงการภาพยนตร์สั้นแบบทางเลือก
“เร่ืองจุดเร่ิมต้นและการสิ้นสุด ”กระบวนการขั้นตอนในภาพรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง
(x̄ = 3.09, S.D. = 0.94) เสียงประกอบภาพยนตร์สั้นมีความเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลาง
(x̄ = 3.38, S.D. = 0.90) และเสียงของนักแสดงชัดเจนอยู๋ในระดับน้อย (x̄ = 2.81, S.D. = 0.99)
ตามลำดบั

ภาพท่ี 4.5 แผนภมู แิ สดงความพงึ พอใจดา้ นเสียง

38

ตารางท่ี 4.6 แสดงความพึงพอใจของสถติ ิทง้ั หมด

เรอ่ื งการประเมิน คา่ เฉล่ีย ส่วงเบี่ยงเบน ระดับความ
มาตรฐาน พงึ พอใจ
1. ดา้ นเนือ้ เรื่อง 3.56
1.1 ตวั ละครสื่อถงึ อารมณอ์ อกมาและแสดงออก 0.56 มาก
ไดอ้ ย่างเป็นธรรมชาติ 4.38
1.2 เนอ้ื เร่อื งของภาพยนตร์สัน้ สามารถ 3.75 0.75 มาก
เขา้ ใจไดง้ า่ ย 3.72
1.3 เนอ้ื เรื่องมคี วามทันสมยั และนา่ สนใจ 0.56 มาก
1.4 ระยะเวลาของภาพยนตรส์ ั้นมีความพอดีไม่ 3.63 0.72 มาก
สั้นและไมย่ าวจนเกนิ ไปและสามารถสื่อถงึ การ
แยกขยะสิ่งแวดลอ้ มได้ 3.91 0.94 มาก
4.41
2. ด้านฟราฟฟกิ และทางเลือกภาพยนตรส์ ัน้ 4.13 0.68 มาก
2.1 ภาพและเสียงของภาพยนตรส์ ้นั มคี วาม 3.38 0.71 มาก
คมชดั 0.60 มาก
2.2 โทนสขี องภาพยนตร์ส้ันมีความเหมาะสม 2.81 0.90 ปานกลาง
2.3 รูปแบบของตวั เลอื กมคี วามชดั เจน 3.76
2.4 ตัวเลือกของภาพยนตร์สั้นมคี วามถูกตอ้ ง 0.99 น้อย
0.74 มาก
3. ด้านเสียง
3.1 เสียงประกอบภาพยนตร์สัน้ มีความ
เหมาะสม
3.2 เสยี งของนักแสดงชัดเจน

รวมท้ังสิ้น

จากตารางท่ี 4.6 พบว่าความพึงพอใจสถิติท้ังหมดของแบบฟอร์มโครงการภาพยนตร์สั้น
แบบทางเลือก “เรื่องจุดเริ่มต้นและการส้ินสุด”ความพึงพอใจทั้งหมดภาพรวมอยู่ในระดับมาก
(x̄ = 3.76, S.D. = 0.74) รูปแบบของตัวเลือกมีความชัดเจนอยู๋ในระดับมาก (x̄ = 4.41,
S.D. = 0.71), ตัวเลือกของภาพยนตร์สั้นมีความถูกต้องอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.13, S.D. = 0.60)
และโทนสีของภาพยนตรส์ ั้นมคี วามเหมาะสมอยใู๋ นระดับมาก (x̄ = 3.91, S.D. = 0.68) ตามลำดับ

39

ภาพที่ 4.6 แผนภมู แิ สดงสถิติของโครงการภาพยนตรส์ ัน้ แบบทางเลือก“เร่ืองจดุ เร่ิมต้น
และการสิน้ สุด”

41

บทที่ 5

สรุป อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ

การดำเนินโครงการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนประกาศนียบัตร
วิชาชีพ สาขาวิชา คอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ วอทยาลยั เทคนคิ ระยอง ท่ีมตี อ่ ภาพยนตรส์ ้นั แบบทางเลือก “เร่ือง
จดุ เร่มิ ต้นและการสน้ิ สดุ ” ดว้ ย QR Code เน่ืองจากมี ความรวดเร็ว สะดวก และใชง้ านง่ายไมซ่ บั ซอ้ น

ในการประเมินผลครั้งนี้ให้กลุ่มประเมินจากการใช้งานแบบประเมินความพึงพอใจเพื่อใช้งานใน
โครงการ และให้กลุ่มประเมินทำแบบประเมินคุณภาพ การดำเนินโครงการสร้างแบบประเมินความพึง
พอใจเพื่อใช้งาน ภาพยนตร์สั้นแบบทางเลือก“เรื่องจุดเริ่มต้นและการสิ้นสุด”และนำแบบประเมินความ
พึงพอใจทไ่ี ดไ้ ปหาประสทิ ธภิ าพโดยใช้สูตร หาคา่ เฉล่ยี STDEV

5.1 สรปุ อภิปรายผล
5.1.1 สถานภาพท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
จากการประเมิน โครงการภาพยนตร์สั้นแบบทางเลือก“เรื่องจุดเริ่มต้นและการสิ้นสุด”

เพื่อใช้งานในโครงการดว้ ย แบบประเมินความพึงพอใจ ผลที่ได้คือ จำนวนร้อยละของผู้ตอบแบบประเมิน
ความพึงพอใจ จำแนกตามเพศ เพศชาย คิดเป็นร้อยละ 43.8 เพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 56.3 ของ
ประชากรทั้งหมดจำนวนร้อยละของผู้ตอบแบบประเมินจำแนกตามอายุ อายุ 15 - 16 ปี จำนวน 2 คน
คิดเป็นรอ้ ยละ 6.3 อายุ 17 – 18 ปี จำนวน 28 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 87.5 และอายุ 19 – 20 ปี จำนวน 2
คน คิดเป็นร้อยละ 6.3 ของประชากรท้ังหมด

5.1.2 ความพงึ พอใจด้านตา่ งๆ
จากการประเมินความพึงพอใจต่อการใช้งานของแบบฟอร์มโครงการภาพยนตร์สั้นแบบ

ทางเลือก “เรื่องจุดเริ่มต้นและการสิ้นสุด” พบว่า ความคิดเห็นของผู้ประเมินกลุ่มตัวอย่างที่ให้นักเรียน
ประกาศณียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ จำนวน 32 คน ผลที่ได้คะแนนสูงสุด
ไดแ้ ก่

41

จากผลการประเมินความพึงพอใจ ด้านเนื้อเรื่องภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̄=3.85 ,S.D. = 0.64) เมื่อ
พิจารณารายชื่อจากการประมวล 4 ข้อพบว่า ลำดับที่ 1 เนื้อเรื่องของภาพยนตร์สั้นสามารถเข้าใจได้ง่าย
อยใู่ นระดบั มาก (x̄=4.38, S.D. = 0.75) ลำดับท่ี 2 เนื้อเร่อื งมคี วามทันสมัยและนา่ สนใจอยูใ่ นระดับมาก
(x̄=3.75, S.D. = 0.56) ลำดับที่ 3 ระยะเวลาของภาพยนตร์สั้นมีความพอดีไม่สั้นและไม่ยาวจนเกินไป
และสามารถส่ือถึงการแยกขยะสิ่งแวดล้อมได้อยใู่ นระดับมาก (x̄=3.72, S.D. = 0.72) และ ลำดบั ท่ี 4 ตัว
ละครถึงอารมณ์ออกมาและแสดงออกไดอ้ ย่างเปน็ ธรรมชาติอยใู่ นระดับมาก (x̄=3.56, S.D. = 0.56) ดา้ น
กราฟฟิกภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̄=4.02 ,S.D. = 0.73) เมื่อพิจารณารายชื่อจากการประมวล 4 ข้อ
พบว่า ลำดับที่ 1 รูปแบบของตัวเลือกมีความคมชัดอยู่ในระดับมาก (x̄=4.41, S.D. = 0.71) ลำดับที่ 2
ตัวเลือกของภาพยนตร์สั้นมีความถูกต้องอยู๋ในระดับมาก (x̄=4.13, S.D. = 0.60) ลำดับที่ 3 โทนสีของ
ภาพยนตร์สั้นมีความเหมาะสมอยู๋ในระดับมาก (x̄=3.91, S.D. = 0.68) และ ลำดับที่ 4 ภาพและเสียง
ของภาพยนตร์สั้นมีความคมชัดอยู๋ในระดับมาก (x̄=3.63, S.D. = 0.94) ด้านเสียงภาพรวมอยู่ในระดับ
ปานกลาง (x̄=3.09, S.D. = 0.94) เมื่อพิจารณารายชื่อจากการประมวล 2 ข้อพบว่า ลำดับที่ 1 เสียง
ประกอบภาพยนตร์สั้นมีความเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลาง (x̄=3.38, S.D. = 0.90) และ ลำดับที่ 2
เสียงของนักแสดงชัดเจนอยู๋ในระดับน้อย (x̄=2.81, S.D. = 0.99) รวมคะแนนเฉลี่ยทั้งหมดเท่ากับ 3.76
และมีคา่ เบย่ี งเบนมาตรฐานท่ี 0.74 อยู่ในเกณฑ์มาก

5.2 ขอ้ เสนอแนะ
5.2.1 ขอ้ เสนอแนะจากการทำโครงการ
คณะผู้จัดทำโครงการควรมีการจัดเรียบเรียง Storyboard ให้ดีกว่านี้และมีการแบ่ง

หน้าท่ีความรับผดิ ชอบใหต้ รงตำแหน่งงานเพอ่ื การทำงานเพ่อื ทง่ี านจะไดป้ ระสทิ ธิภาพมากยง่ิ ขึน้
5.2.2 ขอ้ เสนอแนะเพื่อทำโครงการตอ่ ไป
ทางคณะผู้จัดทำมีความเห็นว่าควรใช้อุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพมากกว่านี้เพื่อที่จะได้

งานท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพมากข้นึ


Click to View FlipBook Version