The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการความรู้
การสร้างสื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Prasittichai Chaiyan, 2020-06-18 03:48:04

การสร้างสื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์

การจัดการความรู้
การสร้างสื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์

คำนำ

คณะวิทยาการจัดการ มีหน้าท่ีพัฒนาความรู้เพ่ือให้มีลักษณะเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้อย่าง
สม่าเสมอ โดยตอ้ งรบั ข้อมลู ข่าวสารและสามารถประมวลผลความรใู้ นดา้ นต่างๆ เพอื่ นา่ มาประยกุ ต์ใชใ้ นการ
ปฏบิ ัตริ าชการไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง รวดเร็ว และเหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทงั้ ตอ้ งส่งเสริมและพัฒนาความรู้
ความสามารถสรา้ งวิสยั ทศั น์ ให้มปี ระสทิ ธิภาพและมีการเรียนรรู้ ว่ มกัน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลยั
ราชภัฏเลย จงึ ได้จดั ทา่ การจัดการเรยี นรู้ในองค์ความรูใ้ นด้านต่างๆ ข้ึน โดยน่าร่องการจดั การเรียนรู้ในเรอ่ื ง
การสร้างสือ่ การเรียนการสอนอเิ ล็กทรอนิกส์ เพ่ือให้มีลักษณะเปน็ ส่วนหน่ึงในมหาวทิ ยาลัยแห่งการเรยี นรู้
อย่างสม่าเสมอ จึงได้ยึดแนวทางในการปฏิบัติตามแนวทางการจัดการความรู้ งานมาตรฐานและประกัน
คณุ ภาพการศกึ ษา ดังน้ี

1. ตอ้ งสรา้ งระบบใหส้ ามารถรบั ร้ขู ่าวสารได้อย่างกว้างขวาง
2. ต้องสามารถประมวลผลความรใู้ นด้านต่างๆ เพ่ือนา่ มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่าง
ถูกต้อง รวดเร็ว และเหมาะสมกบั สถานการณ์ท่ีมกี ารเปลย่ี นแปลงไป
3. ต้องมกี ารสง่ เสริมและพฒั นาความรคู้ วามสามารถสร้างวสิ ัยทัศน์ ใหบ้ ุคลากรทกุ คนเป็นผมู้ คี วามรู้
ความสามารถในวิชาการสมัยใหม่ตลอดเวลา มีความสามารถในการปฏิบัติหน้าทีใ่ หเ้ กดิ ประสิทธิภาพสูงสุด
และมคี ุณธรรม
4. ส่งเสรมิ สนบั สนุนใหท้ กุ หน่วยงานในสถาบันมกี ารด่าเนนิ การจัดการความรู้ตามระบบทีก่ า่ หนด
5. ตอ้ งมีการสร้างความมสี ว่ นรว่ มในหม่บู คุ ลากรให้เกิดการแลกเปลย่ี นความรู้ซ่ึงกันและกนั
จากแนวทางการวางแผนการจัดการความรู้ของงานมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา
คณะวิทยาการจัดการ ได้ด่าเนินการเป็นล่าดับขั้นตอนโดยเริ่มการจัดการความรู้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2560
สืบเน่อื งมาจนถงึ ปัจจุบันปีการศึกษา 2561 โดยมกี ารพัฒนาขึ้นอย่างเป็นล่าดบั ดังรายละเอียดท่ีจะน่าเสนอ
ต่อไป โดยหวงั เป็นอยา่ งย่งิ วา่ การจัดการเรยี นรูก้ ารสร้างส่ือการเรยี นการสอนอิเล็กทรอนิกสเ์ ล่มนีจ้ ะมีสว่ นใน
การผลกั ดันใหเ้ กิดการจดั การเรยี นรู้ในองค์ความรอู้ น่ื ๆ ต่อไป

คณะกรรมการจดั การความรู้
คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเลย

การสรา้ งสือ่ การเรยี นการสอนอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 1

สำรบัญ หน้า
3
ความรู้ด้านการจัดการความรู้ 6
ความรดู้ ้านสอ่ื การเรยี นการสอนอิเลก็ ทรอนิกส์
ระบบและกลไกในการสร้างสอ่ื การเรยี นการสอนอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 10
แผนการพัฒนาสื่อการเรยี นการสอนอเิ ล็กทรอนกิ สข์ องคณะวทิ ยาการจัดการ 11
ภาคผนวก 13

การสรา้ งส่อื การเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ 2

ควำมร้ดู ำ้ นกำรจดั กำรควำมรู้

ควำมหมำยและควำมสำคญั ของกำรจดั กำรควำมรู้
การจัดการความรู้ นิยมเรียกสั้นๆ ตามตัวอักษรย่อค่าศัพท์ภาษาอังกฤษว่า เคเอ็ม (KM =

Knowledge Management) คือ การรวบรวมองคค์ วามร้ทู ีม่ ีอยู่ในองคก์ ร ซ่ึงกระจัดกระจายอยใู่ นตัวบคุ คล
หรอื เอกสาร มาพัฒนาใหเ้ ปน็ ระบบ เพ่อื ใหท้ ุกคนในองค์กรสามารถเขา้ ถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผ้รู ู้
รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด โดยท่ี
ความรู้มี 2 ประเภท คือ 1) ความรู้ท่ีฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ท่ีได้จากประสบการณ์
พรสวรรค์หรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการท่าความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ เป็นความรู้ท่ีไม่สามารถ
ถ่ายทอดออกมาเป็นค่าพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการท่างาน งานฝีมอื หรือการคิด
เชิงวิเคราะห์ บางคร้ัง จึงเรียกว่าเป็นความรู้แบบนามธรรม 2) ความรู้ท่ีชัดแจ้ง (Explicit Knowledge)
เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่าง ๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี
คมู่ อื ต่าง ๆ และบางครง้ั เรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม

การจัดการความรเู้ ป็นการด่าเนินการอยา่ งน้อย 6 ประการต่อความรู้ ได้แก่ 1) การก่าหนดความรู้
หลักท่ีจา่ เป็นหรือสา่ คัญตอ่ งานหรือกิจกรรมของกลุ่มหรือองค์กร 2) การเสาะหาความรู้ท่ีตอ้ งการ 3) การ
ปรับปรุง ดัดแปลง หรือสร้างความรู้บางส่วน ให้เหมาะต่อการใช้งานของตน 4) การประยุกต์ใช้ความรู้ใน
กจิ การงานของตน 5) การน่าประสบการณ์จากการทา่ งาน และการประยุกตใ์ ช้ความรมู้ าแลกเปลย่ี นเรียนรู้
และสกัด “ขุมความรู้” ออกมาบันทกึ ไว้ 6) การจดบนั ทึก “ขุมความรู้” และ “แกน่ ความรู้” ส่าหรับไวใ้ ช้งาน
และปรบั ปรุงเป็นชดุ ความร้ทู ่คี รบถ้วน ลุ่มลึกและเชือ่ มโยงมากขึ้น เหมาะตอ่ การใชง้ านมากยิ่งขึน้ โดยทีก่ าร
ด่าเนินการ 6 ประการนบ้ี ูรณาการเป็นเน้ือเดียวกัน ความรู้ท่ีเกี่ยวข้องเป็นทั้งความรู้ท่ชี ัดแจ้ง อยู่ในรูปของ
ตัวหนังสือหรือรหัสอย่างอ่ืนที่เข้าใจได้ทั่วไป (Explicit Knowledge) และความรู้ฝังลึกอยู่ในสมอง
(Tacit Knowledge) ท่ีอยู่ในคน ทั้งที่อยู่ในใจ (ความเชื่อ ค่านิยม) อยู่ในสมอง (เหตุผล) และอย่ใู นมือ และ
สว่ นอนื่ ๆ ของรา่ งกาย (ทกั ษะในการปฏิบัต)ิ การจดั การความร้เู ป็นกิจกรรมทค่ี นจ่านวนหน่ึงท่ารว่ มกันไมใ่ ช่
กิจกรรมทท่ี า่ โดยคนคนเดยี ว เน่ืองจากเชื่อว่า “จดั การความรู้” จึงมีคนเข้าใจผิด เรม่ิ ด่าเนินการโดยร่ีเข้าไปที่
ความรู้ คอื เรมิ่ ทคี่ วามรู้ นีค่ อื ความผดิ พลาดท่ีพบบ่อยมาก การจัดการความรู้ทถ่ี ูกต้องจะต้องเรม่ิ ท่งี านหรือ
เป้าหมายของงาน

เป้าหมายของงานที่ส่าคัญ คือ การบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการด่าเนินการตามท่ีก่าหนดไว้ ที่เรียกว่า
Operation Effectiveness และนยิ ามผลสมั ฤทธ์ิ ออกเป็น 4 ส่วน คอื 1) การสนองตอบ (Responsiveness)
ซึง่ รวมทั้งการสนองตอบความต้องการของลูกค้า สนองตอบความต้องการของเจ้าของกิจการหรือผู้ถือหุ้น
สนองตอบความต้องการของพนักงาน และสนองตอบความต้องการของสงั คมส่วนรวม 2) การมีนวัตกรรม
(Innovation) ทั้งที่เปน็ นวตั กรรมในการทา่ งาน และนวตั กรรมดา้ นผลติ ภัณฑห์ รือบริการ 3) ขดี ความสามารถ
(Competency) ขององค์กร และของบุคลากรที่พัฒนาขึ้น ซ่ึงสะท้อนสภาพการเรียนรู้ขององค์กร
และ 4) ประสิทธิภาพ (Efficiency) ซึ่งหมายถึงสัดส่วนระหว่างผลลัพธ์ กับต้นทุนท่ีลงไป การท่างานท่ี
ประสิทธิภาพสูง หมายถึง การทา่ งานที่ลงทุนลงแรงน้อย แตไ่ ดผ้ ลมากหรือคณุ ภาพสูง เป้าหมายสุดท้ายของ

การสรา้ งสือ่ การเรียนการสอนอิเล็กทรอนกิ ส์ 3

การจัดการความรู้ คือ การที่กลุ่มคนท่ีด่าเนินการจัดการความรู้ร่วมกัน มีชุดความรู้ของตนเอง ที่ร่วมกัน
สร้างเอง ส่าหรับใช้งานของตน คนเหล่าน้ีจะสร้างความรู้ข้ึนใช้เองอยู่ตลอดเวลา โดยที่การสร้างน้ัน

เป็นการสร้างเพียงบางส่วน เป็นการสร้างผ่านการทดลองเอาความรู้จากภายนอกมาปรับปรุงให้เหมาะต่อ
สภาพของตน และทดลองใช้งาน จัดการความร้ไู ม่ใช่กิจกรรมที่ดา่ เนินการเฉพาะหรือเกี่ยวกบั เร่ืองความรู้ แต่
เปน็ กิจกรรมท่ีแทรก/แฝง หรือในภาษาวิชาการเรียกว่า บูรณาการอยู่กับทุกกิจกรรมของการท่างาน และท่ี

สา่ คญั ตัวการจดั การความรเู้ องกต็ ้องการการจดั การด้วย ตั้งเปา้ หมายการจดั การความรู้เพือ่ พัฒนา 3 ประเดน็
- งาน พัฒนางาน
- คน พัฒนาคน

- องคก์ ร เปน็ องคก์ รการเรยี นรู้
ความเปน็ ชุมชนในท่ีท่างาน การจัดการความรู้จึงไมใ่ ช่เป้าหมายในตัวของมันเอง นี่คือ หลุมพราง
ข้อที่ 1 ของการจัดการความรู้ เมื่อไรก็ตามท่ีมีการเข้าใจผิด เอาการจัดการความรู้เป็นเป้าหมาย

ความผิดพลาดก็เริ่มเดินเข้ามา อันตรายท่ีจะเกิดตามมาคือ การจัดการความรู้เทียม หรือ ปลอม
เป็นการด่าเนินการเพียงเพื่อให้ได้ชื่อว่ามีการจัดการความรู้ การริเริ่มด่าเนินการจัดการความรู้ แรงจูงใจ
การริเร่มิ ด่าเนนิ การจัดการความรู้เปน็ กา้ วแรก ถา้ ก้าวถกู ทิศทาง ถกู วิธี ก็มโี อกาสสา่ เรจ็ สูง แตถ่ า้ กา้ วผดิ กจ็ ะ

เดินไปส่คู วามล้มเหลว ตวั กา่ หนดทส่ี า่ คญั คอื แรงจูงใจในการรเิ ริม่ ด่าเนนิ การจดั การความรู้ การจัดการความรู้
ทีด่ เี ริ่มดว้ ย สมั มาทฐิ ิ : ใชก้ ารจัดการความรู้เป็นเครอื่ งมือเพอ่ื บรรลคุ วามส่าเร็จและความมัน่ คงในระยะยาว
การจัดทีมริเริ่มด่าเนินการ การฝึกอบรมโดยการปฏิบัติจรงิ และด่าเนินการต่อเน่ือง การจัดการระบบการ

จดั การความรู้ แรงจูงใจในการริเร่มิ ดา่ เนนิ การจัดการความรู้ แรงจูงใจแทต้ ่อการดา่ เนินการจดั การความรู้ คอื
เป้าหมายท่งี าน คน องค์กร และความเปน็ ชุมชนในที่ท่างานดงั กล่าวแลว้ เป็นเง่ือนไขสา่ คัญ ในระดับท่ีเป็น
หัวใจสคู่ วามสา่ เรจ็ ในการจัดการความรู้ แรงจูงใจเทยี มจะน่าไปส่กู ารดา่ เนนิ การจดั การความรแู้ บบเทยี ม และ

ไปสู่ความล้มเหลวของการจดั การความรใู้ นที่สดุ แรงจูงใจเทียมต่อการดา่ เนินการจดั การความรใู้ นสังคมไทย
มีมากมายหลายแบบ ท่พี บบอ่ ยท่สี ดุ คือ ทา่ เพียงเพื่อใหไ้ ดช้ อื่ วา่ ทา่ ท่าเพราะถกู บังคบั ตามข้อกา่ หนด ท่าตาม
แฟชนั่ แต่ไม่เข้าใจความหมาย และวธิ ีการด่าเนนิ การ จัดการความรู้อย่างแท้จริง องค์ประกอบส่าคญั ของการ

จดั การความรู้ (Knowledge Process)
“คน” เป็นองค์ประกอบที่ส่าคัญท่ีสุดเพราะเป็นแหล่งความรู้ และเป็นผู้น่าความรู้ไปใช้ให้เกิด

ประโยชน์

“เทคโนโลยี” เป็นเครอ่ื งมอื เพ่อื ใหค้ นสามารถคน้ หา จัดเกบ็ แลกเปลย่ี น รวมทัง้ นา่ ความรูไ้ ปใชอ้ ยา่ ง
ง่าย และรวดเร็วข้นึ

“กระบวนการความรู้” เปน็ การบรหิ ารจดั การ เพื่อน่าความรูจ้ ากแหล่งความรู้ไปให้ผู้ใช้ เพื่อท่าให้

เกดิ การปรับปรงุ และนวัตกรรม
องค์ประกอบท้ัง 3 ส่วนนี้ จะต้องเชอื่ มโยงและบูรณาการอย่างสมดุล เพ่อื ให้มีลักษณะเป็นองค์กร

แห่งการเรียนรอู้ ย่างสมา่ เสมอ โดยต้องรบั รู้ข้อมูลขา่ วสารและสามารถประมวลผลความรู้ในด้านตา่ ง ๆ เพ่ือ

นา่ มาประยกุ ตใ์ ช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและเหมะสมตอ่ สถานการณ์ รวมท้งั ต้อง
สง่ เสริมและพัฒนาความรู้ ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์ ให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้

การสร้างสอื่ การเรยี นการสอนอเิ ล็กทรอนิกส์ 4

ร่วมกนั ขอบเขต KM ทีไ่ ดม้ กี ารพิจารณาแลว้ เหน็ วา่ มคี วามส่าคัญเร่งดว่ นในขณะนี้ คือ การจดั การองค์ความรู้
และได้กำหนดเป้าหมาย (Desired State) ของ KM ท่ีจะด่าเนินการในปี 2561 โดยมีความคาดหวังว่า

แผนการจัดการความรู้นจี้ ะเป็นจุดเรมิ่ ต้นส่าคัญสกู่ ารปฏิบัตริ าชการในขอบเขต KM และเป้าหมาย KM ใน
เรื่องอ่ืน ๆ และนา่ ไปส่คู วามเปน็ องคก์ รแห่งการเรยี นรู้ทีย่ ่ังยืนตอ่ ไป

กระบวนกำรในกำรจดั กำรควำมรู้
การจัดการเรียนรู้มีกระบวนการในการด่าเนินการแบ่งเป็น 7 ข้ันตอน ได้แก่ การบ่งชี้ความรู้

การสร้างและแสวงหาความรู้ การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ การประมวลและกล่ันกรองความรู้ การเข้าถึง
ความรู้ การแบง่ ปนั แลกเปลีย่ นความรู้ และการเรียนรู้ ดังรายละเอียดต่อไปนี้

1. การบง่ ช้คี วามรู้ เป็นการพจิ ารณาว่าจะทา่ อย่างไรให้องค์กรบรรลเุ ป้าหมาย โดยจะคดั เลอื กวา่ จะ
ใชเ้ คร่ืองมืออะไร และขณะนเ้ี รามีความรู้อะไรบ้าง อยู่ในรูปแบบใด อยทู่ ี่ใคร โดยอาจจะพิจารณาวา่ องค์กร
มีวสิ ัยทศั น์ พันธกจิ ยทุ ธศาสตร์ เปา้ หมายคืออะไร

2. การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถท่าได้หลายทาง เช่น การสร้างความรู้ใหม่ แสวงหา
ความรจู้ ากภายนอก รกั ษาความรเู้ กา่ กา่ จัดความรู้ทใี่ ชไ้ ม่ได้แล้ว

3. การจดั ความรู้ให้เป็นระบบ เปน็ การวางโครงสรา้ งความรู้ เพือ่ เตรยี มพร้อมสา่ หรับการเก็บความรู้
อย่างเปน็ ระบบเพือ่ การเรียกใชง้ านไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและถูกต้องในอนาคต

4. การประมวลและกลนั่ กรองความรู้ เช่น การปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ใช้ภาษา
เดยี วกนั และปรบั ปรุงเนื้อหาใหส้ มบูรณแ์ ละเหมาะสม

5. การเข้าถึงความรู้ เป็นการท่าใหผ้ ู้ใช้ความร้เู ข้าถงึ ความรทู้ ่ีตอ้ งการไดง้ ่ายและสะดวก โดยการใช้
พวกระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) หรอื การประชาสมั พันธบ์ น Web board

6. การแบ่งปันแลกเปล่ียนความรู้ ท่าได้หลายวิธีการซ่ึงจะแบ่งได้สองกรณีได้แก่ Explicit
Knowledge อาจจะจัดท่าเป็นเอกสาร ฐานความรู้ และเทคโนโลยีสารสนเทศตา่ งๆ หรอื Tacit Knowledge
จัดท่าเป็นระบบ ทีมข้ามสายงาน กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ ระบบพี่เล้ียง
การสับเปล่ียนงาน การยืมตัว และเวทกี ารแลกเปลี่ยนความรู้ เปน็ ตน้

7. การเรยี นรู้ ควรทา่ ใหก้ ารเรยี นรูเ้ ป็นสว่ นหน่ึงของงาน เชน่ การเรยี นรู้จากสรา้ งองค์ความรู้ การน่า
ความรไู้ ปใช้ให้เกิดการเรยี นรู้และประสบการณใ์ หมๆ่ และนา่ ความรู้ทไ่ี ด้ไปหมนุ เวียนต่อไปอย่างตอ่ เนอ่ื ง

การสรา้ งสือ่ การเรียนการสอนอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 5

ควำมรดู้ ้ำนส่ือกำรเรียนกำรสอนอิเลก็ ทรอนกิ ส์
สือ่ การเรียนการสอน (Instructional Media) เป็นการรวมคา่ ส่าคญั 2 ค่ามาใช้ร่วมกัน ได้แก่ คา่ ว่า

สอื่ (Media) ซึ่งหมายถงึ ตัวกลางทีใ่ ช่ถ่ายทอดหรือนา่ ความรู้ ในลักษณะต่าง ๆ จากผู้สง่ ไปยังผู้รับให้เข้าใจ
เมอื่ น่ามารวมกับการเรยี นการสอน จึงหมายถึงส่อื ที่ใช้เปน็ ตัวกลางน่าความรู้ในกระบวนการส่ือความหมาย
ระหว่างผูส้ อนกบั ผเู้ รียนเรียกว่าสอื่ การเรยี นการสอน

ในทางการศึกษามีค่าที่มีความหมายแนวเดียวกันกับส่ือการเรียนการสอน เช่น ส่ือการสอน
(Instructional Media or Teaching Media) ส่ื อ ก า ร ส อ น (Educational media) อุ ป ก ร ณ์ ช่ ว ย ส อ น
(Teaching Aids) เป็นต้น ในปัจจุบันนักการศึกษามักจะเรียกการน่าส่ือการเรียนการสอนชนิดต่าง ๆ มา
รวมกันว่า เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational) ซ่ึงหมายถึงการน่าเอาวัสดุอุปกรณ์และวิธีการมาใช้
ร่วมกนั อยา่ งมรี ะบบในการเรยี นการสอน เพอ่ื เพมิ่ ประสิทธภิ าพในการสอน

สื่อการเรียนการสอน หมายถึง สิง่ ต่างๆ ที่เป็นบุคคล วัสดุ อปุ กรณ์ ตลอดจนเทคนคิ วธิ ีการ ซงึ่ เป็น
ตัวกลางท่าให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงคข์ องการเรียนการสอนทก่ี ่าหนดไว้ได้อยา่ งง่ายและรวดเร็ว
เปน็ เครื่องมือและตวั กลางซง่ึ มีความส่าคัญในกระบวนการเรียนการสอนมหี น้าทีเ่ ป็นตวั นา่ ความต้องการของ
ครูไปสตู่ ัวนกั เรียนอย่างถูกตอ้ งและรวดเร็วเป็นผลให้นกั เรยี นเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมไปตามจดุ มุ่งหมายการ
เรียนการสอนไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม นกั การศึกษาเรียกช่ือการสอนด้วยชื่อต่าง ๆ เช่น อุปกรณ์การสอน
โสตทศั นปู กรณ์ เทคโนโลยีการศึกษา ส่ือการเรยี นการสอนส่ือการศึกษา เป็นต้น

หลักกำรใชส้ ือ่ กำรเรียนกำรสอน
การใชส้ ื่อการเรยี นการสอนนั้นอาจจะใช้เฉพาะข้ันตอนใดข้ันตอนหน่ึงของการสอน หรอื จะใช้ในทุก

ขัน้ ตอนก็ได้ ดังนี้
1. ข้ันน่าเข้าสู่บทเรียน เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในเนื้อหาท่ีกา่ ลังจะเรียนหรือเน้ือหาท่ี

เกี่ยวข้องกบั การเรยี นในครง้ั กอ่ น แต่มใิ ช่สอ่ื ท่เี น้นเนอ้ื หาเจาะลึกอย่างแทจ้ ริง เป็นส่อื ทงี่ า่ ยในการน่าเสนอใน
ระยะเวลาอันสั้น

2. ขั้นด่าเนินการสอนหรอื ประกอบกิจกรรมการเรยี น เปน็ ขัน้ สา่ คัญในการเรยี นเพราะเป็นขัน้ ทจ่ี ะให้
ความรู้เน้ือหาอย่างละเอียดเพ่ือสนองวตั ถปุ ระสงค์ที่ตงั้ ไว้ ต้องมกี ารจัดล่าดับข้ันตอนการใช้ส่ือให้เหมาะสม
และสอดคลอ้ งกบั กิจกรรมการเรียน

3. ขน้ั วเิ คราะหแ์ ละฝึกปฏิบตั ิ สอ่ื ในข้ันน้จี งึ เปน็ ส่อื ที่เป็นประเด็นปญั หาให้ผเู้ รยี นได้ขบคดิ โดยผเู้ รยี น
เป็นผูใ้ ชส้ อื่ เองมากท่ีสุด

4. ข้ันสรุปบทเรยี น เปน็ ขน้ั ของการเรียนการสอนเพอ่ื การยา่้ เน้อื หาบทเรียนใหผ้ เู้ รยี นมคี วามเข้าใจที่
ถกู ตอ้ งและตรงตามวตั ถุประสงคท์ ีต่ ัง้ ไว้ ควรใชเ้ พียงระยะเวลาสั้นๆ

5. ขน้ั ประเมินผู้เรียน เป็นการทดสอบความสามารถของผู้เรยี นว่าผู้เรยี นเขา้ ใจในส่ิงท่ีเรยี นถูกต้อง
มากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นการประเมินจากค่าถามจากเน้ือหาบทเรียนโดยอาจจะมีภาพ
ประกอบดว้ ยก็ได

การสรา้ งสอื่ การเรียนการสอนอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 6

สื่อกำรเรยี นกำรสอนอเิ ล็กทรอนิกส์
สื่อการเรียนการสอนเป็นตัวกลางในการสื่อสารระหว่างผสู้ อนกับผู้เรียน จึงมีความหลากหลายใน

หลายทิศทาง จึงมผี ู้แบง่ ประเภทของสื่อการเรยี นการสอนไว้หลายด้าน ทง้ั นี้ในการจดั การเรยี นรนู้ จ้ี ะมงุ่ เนน้ ไป
ยงั ส่ือการเรียนการสอนอิเล็กทรอนกิ ส์เท่านน้ั

ลักษณะสา่ คญั ของส่ือการเรยี นการสอนอเิ ลก็ ทรอนิกส์ คือ มีลักษณะในการสร้าง การน่าเสนอ การ
จัดเก็บ ตลอดจนการจดั การข้อมูลในด้านอน่ื ๆ ที่มีลักษณะเปน็ ไฟล์อิเล็กทรอนกิ ส์ในลักษณะของ Software
ประเภทตา่ งๆ ซง่ึ ตอ้ งอาศยั การแปลงขอ้ มลู ในรปู แบบอน่ื ๆ ใหเ้ ปน็ ขอ้ มูลดจิ ิทัล ซ่ึงสง่ ผลใหส้ ามารถจดั การกบั
ข้อมูลดังกล่าวได้จากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีหลากหลายและสามารถน่าไปสร้างส่ือการเรียนการสอน
ประเภทอนื่ ๆ ได้ ตัวอยา่ งสอื่ การเรยี นการสอนอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ไดแ้ ก่

1. หนังสือหรือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book/Text Book) มีลักษณะเหมือนหนังสือ
ทัว่ ไปแต่จัดเกบ็ อยู่ในรูปแบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ หนังสือหรือเอกสารอเิ ลก็ ทรอนิกสอ์ ยา่ งงา่ ยได้แก่ ไฟลท์ ส่ี รา้ งจาก
โปรแกรมออฟฟติ ทว่ั ไป ไฟล์ทม่ี ีนามสกุล PDF จนถงึ หนังสือหรอื เอกสารที่มีรปู แบบสวยงามเหมือนหนังสือ
จริงๆ และสามารถเชอ่ื มโยงทัง้ ในเอกสารและภายนอกเอกสารในรปู แบบ Online และ Offline

2. เว็บไซต์หรือเว็บเบทอินสตัคชั่น (Website/Web bate Instruction) มีลักษณะการน่าเสนอบน
เว็บเบราว์เซอร์ โดยผใู้ ช้งานจะต้องเช่ือมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจึงจะสามารถใช้งานได้ ข้อดขี องส่ือการ
เรียนการสอนอเิ ลก็ ทรอนิกส์ประเภทนี้ คือ มีการนา่ เสนอข้อมูลในรูปแบบท่ีหลากหลาย นา่ สนใจ สามารถ
เปล่ียนแปลงด้วยการ Update ขอ้ มูลได้ตลอดเวลา ผู้เรียนและผู้สอนสามารถติดตอ่ กันได้ทง้ั ในลักษณะการ
ฝากขอ้ ความและ Real Time

การสร้างส่อื การเรยี นการสอนอิเล็กทรอนกิ ส์ 7

3. งานน่าเสนออิเล็กทรอนิกส์ นิยมสร้างจากโปรแกรม Microsoft PowerPoint แต่ท้ังนี้ยังมีอีก
หลายโปรแกรมที่สามารถสร้างงานประเภทนีไ้ ด้ เช่น Notzy และ Prezi สอ่ื การเรยี นการสอนอิเล็กทรอนกิ ส์

ประเภทนี้จะมีลกั ษณะการสื่อสารแบบทางเดยี ว คือ ผูส้ อนถา่ ยทอดเนื้อหาฝ่ายเดยี ว ผู้เรียนไม่สามารถโตต้ อบ
กลบั ได้ นิยมใชใ้ นการประกอบการบรรยายเปน็ หลัก แต่ท้ังน้ีกส็ ามารถน่า Upload เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการ
น่าเสนอเนื้อหาผ่านเว็บไซตไ์ ด้

4. Application เป็นส่ือการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกสท์ ี่สร้างขึ้นเพ่ือใช้งานกับอุปกรณ์ประเภท

Mobile Device เป็นหลัก โดยผูส้ ร้างส่ือการเรียนการสอนประเภทนี้ตอ้ งมีความรู้ในดา้ นเทคโนโลยมี ากกว่า
การสรา้ งส่ือการเรยี นการสอนประเภทหนงั สอื หรอื เอกสารอิเลก็ ทรอนิกส์และงานนา่ เสนออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ขอ้ ดี
ของสื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอนกิ สป์ ระเภทนี้จะสร้างข้ึนเพือ่ ใช้งานกบั ผเู้ รยี นท่ีเฉพาะเจาะจง จงึ ตรงกับ

ความตอ้ งการของกลุม่ เป้าหมายมากกวา่ ส่อื ประเภทอน่ื
5. เออาร์หรือความเปน็ จริงเสมือน (AR = Augmented Reality) เป็นเทคโนโลยีที่สร้างข้ึนเพ่ือน่า

เสนอเนื้อหาทีม่ ุ่งเน้นการน่าเสนอความน่าสนใจของเทคโนโลยีซอ้ นทับกับสภาพแวดลอ้ มจริง ผู้สร้างอาอาร์

จะต้องมีความรู้ทางด้านเทคโนโลยีที่ซับซ้อน โดยเออาร์อย่างง่ายจะเพียงซ้อนภาพเทคโนโลยีบน
สภาพแวดล้อมจริง แต่เออารท์ ี่มคี วามสามารถสูงข้ึนจะสามารถเช่อื มโยงและมปี ฏิสมั พนั ธ์กบั ผเู้ รยี นทซี่ บั ซอ้ น
มากย่ิงขน้ึ ซ่ึงจา่ เปน็ ตอ้ งใชต้ น้ ทุนในการสร้างและเวลาทสี่ รา้ งทีม่ ากขึ้นตามลา่ ดบั

การเรียนการสอนด้วยส่อื การเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ ผ้สู อนควรเลือกใช้สื่อการเรียนการสอน
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ท่งี า่ ยและสะดวกมากทีส่ ดุ แล้วจึงพฒั นาสรา้ งส่อื การเรยี นการสอนอิเล็กทรอนกิ สท์ ซี่ บั ซอ้ นมาก
ยงิ่ ขึ้น แต่การใช้สือ่ การเรยี นการสอนอเิ ล็กทรอนกิ สท์ ีด่ ที ่ีสุด คือ การใช้ส่ือการเรียนการสอนอิเลก็ ทรอนิกส์ที่

หลากหลาย โดยมผี สู้ อนสนับสนนุ การเรียนรู้ต่อผู้เรียนอยา่ งเหมาะสม
6. การสรา้ งส่อื บทเรียนปฏิสัมพันธ์ด้วย Edpuzzle Edpuzzle เปน็ เทคโนโลยีหรือเครื่องมือส่าหรบั

ผ้สู อนที่ช่วยในการสรา้ งสรรคส์ อ่ื บทเรียนปฏิสัมพันธใ์ น รูปแบบวิดโี อผ่านการผสมผสานคลปิ วดิ โี อหรอื เนอื้ หา

บทเรียน จากแหล่งทรัพยากรทางการเรียนรู้แบบเปิดท่ี หลากหลาย อาทิ YouTube, Khan Academy,
National Geographic, TED Talks ในการสร้างสื่อวิดีโอจาก Edpuzzle ผู้สอนสามารถออกแบบเนื้อหา
รวมถงึ การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของผูเ้ รียนได้ทันที โดยผู้สอน สามารถแทรกคา่ ถาม หยดุ วิดีโอเพ่ือ

เพิม่ ข้อความหรือเล่าเรือ่ งไดค้ ั่นระหว่างการดูวิดีโอเนื้อหา กล่าวได้ว่า Edpuzzle เป็นเทคโนโลยีท่ชี ่วยสรา้ ง
สือ่ เนื้อหาบทเรียนมลั ติมเี ดยี ให้มคี วามนา่ สนใจ ผู้สอน สามารถสร้างสือ่ บทเรยี นปฏสิ ัมพันธ์ไดอ้ ย่างงา่ ยผ่าน
การตดั ตอ่ คลิปวิดโี อ แทรกค่าถาม และทา่ ใหผ้ ู้เรียนร้สู ึกสนุกกับ การทดสอบและการวัดประเมนิ ผล ผู้สอน

สามารถประยกุ ตใ์ ช้ Edpuzzle ในกระบวนการเรียนการสอนทั้งในรปู แบบ การเรยี นรู้แบบ Active Learning
และในรปู แบบห้องเรียนกลบั ดา้ น (Flipped Classroom) ไดอ้ ีกด้วย

การสรา้ งส่ือการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ 8

ระบบและกลไกในกำรสร้ำงสอ่ื กำรเรียนกำรสอนอเิ ล็กทรอนกิ ส์

การสร้างส่ือการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ในคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราช ภัฏเลย

เป็นการ ด่าเนินการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง โดยการวางระบบและกลไกในการสร้างสื่อการเรียนการสอน

อิเล็กทรอนกิ สไ์ ว้ ดังน้ี P : น่าเสนอในที่ประชุม แสดงตัวอยา่ ง
การปรับทศั นคตผิ ู้สอน D : ท่าให้ดู

การวางแผนการใช้สอื่ อเิ ล็กทรอนิกส์ C : สอบถาม แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็
A : ปรับปรุงการวางแผนการใช้สื่อฯ

การถา่ ยทอดความรสู้ อื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 1 P : น่าเสนอในท่ีประชมุ สอบถามความคดิ เห็น
การผลักดบั ใหผ้ สู้ อนใชส้ ่ืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 1 D : เสนอในระบบและกลไก
การประเมนิ ผลการใชง้ านสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ 1 C : สอบถาม แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็
A : ปรบั ปรงุ การวางแผนให้สอดคลอ้ งกับระบบ
และกลไก

การถ่ายทอดความรสู้ ื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ 2 P : วางแผนจดั ทา่ โครงการ หาความร้ดู ้านสอ่ื
อิเลก็ ทรอนิกสน์ ้ันๆ
D : จดั อบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ

การผลักดบั ใหผ้ ู้สอนใชส้ อ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 2 C : ประเมนิ ความพึงพอใจ ประเมินส่อื
การประเมนิ ผลการใชง้ านสอื่ อิเล็กทรอนิกส์ 2 อิเลก็ ทรอนกิ ส์
A : จดั ท่าองค์ความรูว้ ธิ ีการสร้างสื่อ
อิเลก็ ทรอนิกส์

การถ่ายทอดความรสู้ อื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 3 P : น่าเสนอขา่ วสารเกี่ยวกบั สอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส์
การผลักดบั ใหผ้ ู้สอนใชส้ ่อื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 3 จัดอบรมเชงิ ปฏิบัติการสอื่ อิเล็กทรอนกิ สใ์ หม่ๆ
การประเมินผลการใชง้ านสอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์ 3 D : ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้สอนคน้ หาความร้ดู า้ นสื่อ
อเิ ล็กทรอนิกส์ด้วยตนเอง
คา่ นยิ มในการใชส้ อ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ C : สอบถาม แลกเปล่ียนความคดิ เหน็
คา่ นยิ มในการสรา้ งนวตั กรรมสือ่ อเิ ล็กทรอนิกส์ อภปิ ราย ข้อดแี ละข้อเสยี ตลอดจนปญั หาท่ี
เกิดจาการใช้ ส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส์
A : ปรบั ปรงุ แผนพฒั นาบคุ ลาการให้ผสู้ อน
มีการพฒั นาตนเองด้วยการสรา้ งและใชส้ อ่ื
อเิ ลก็ ทรอนิกส

การสร้างสือ่ การเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ 9


Click to View FlipBook Version