The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

AW คู่มือกองทุนสิ่งแวดล้อม-4-3ebookAll

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suphasan Bamnejphan, 2020-03-19 12:27:25

คู่มือการให้คำแนะนำ

AW คู่มือกองทุนสิ่งแวดล้อม-4-3ebookAll

¤Á‹Ù Í× ¡ÒÃãˤŒ Óá¹Ð¹Ó
¡ÅÁ‹Ø à»Ò‡ ËÁÒÂ㹡Òþ²Ñ ¹Ò¢ÍŒ àʹÍâ¤Ã§¡ÒÃ

¡ENÍV§I·RO¹Ø NÊMèÔ§EáNÇT´FÅUŒÍNÁD

¡Í§ºÃËÔ Òáͧ·¹Ø ʧèÔ áÇ´ÅÍŒ Á
ÊÓ¹¡Ñ §Ò¹¹âºÒÂáÅÐá¼¹·Ã¾Ñ ÂҡøÃÃÁªÒµáÔ ÅÐʧèÔ áÇ´ÅÍŒ Á

¡ÃзÃǧ·Ã¾Ñ ÂҡøÃÃÁªÒµáÔ ÅÐʧèÔ áÇ´ÅÍŒ Á



รางวัลเลศิ รฐั ระดบั ดี รางวลั เลศิ รฐั ระดบั ดี
ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๑* ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๒**

กสำ�อนงบักรงาหิ นารนกโยอบงาทยุนแสล่ิงะแแวผดนลทอ้ รมพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม

คณะทปี่ รกึ ษา

ดร.รวีวรรณ ภรู ิเดช เลขาธิการสำ� นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม
ดร.พิรณุ สัยยะสิทธพ์ิ านชิ รองเลขาธกิ ารสำ� นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

บรรณาธกิ าร

ดร.นวรัตน์ ไกรพานนท์ ผอู้ ำ� นวยการกองบริหารกองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม

ผู้เรียบเรยี ง

ดร.วรศักด์ิ พ่วงเจริญ ผอู้ �ำนวยการกลมุ่ งานวเิ คราะหโ์ ครงการด้านทรพั ยากรธรรมชาติ
นางสาวพชิ ชาภัทร์ กลุ มา นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบตั กิ าร

ผ้สู นบั สนนุ ขอ้ มลู นางอศั นี กุลประดิษฐ์
นายเกียรตพิ ิบลู แสงสี
ดร.วรศกั ด์ิ พ่วงเจรญิ ดร.กญั ญาวีณ์ ล่�ำสนั
นางสาวสวุ รรณา จันทรไพฑรู ย์ นางสาวนุตรยี ์ กล่นิ สอน
นางสาวพชิ ชาภทั ร์ กุลมา นางสาวสิริรตั น์ ศรีเจริญ
นายสรุ เดช สมใจหมาย นางสาวกติ ติญา กฤตยิ รังสติ
นายยศรพี ทองเจริญ นางสาวพฤกษา ศศธิ ร
นายรชั ชานนท์ ชะบา


ออกแบบ

นางสาวพชิ ชาภัทร์ กลุ มา นกั วชิ าการส่งิ แวดล้อมปฏบิ ัติการ
นางสาววรรณนภิ า บุญมา นกั วิชาการสงิ่ แวดลอ้ มปฏบิ ัตกิ าร

2 คมู่ ือการใหค้ �ำแนะนำ� กลุม่ เป้าหมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ

ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยกาอกงรบธรริหรามรชกาอตงแิทลุนะสส่ิงิ่งแแววดดลล้อ้อมม

จดั พมิ พโ์ ดย

กองบริหารกองทุนส่งิ แวดลอ้ ม
สำ� นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
60/1 ซอยพบิ ลู วัฒนา ๗ ถนนพระรามท่ี ๖ แขวงพญาไท เขตพญาไท
กรงุ เทพมหานคร ๑๐๔๐๐
โทรศพั ท์ ๐ ๒๒๖๕ ๙๕๖๓-๔
โทรสาร ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๘๘

เว็บไซต์ www.envfund.onep.go.th

เฟซบุ๊ก www.facebook.com/envfund.onep

จำ� นวน ๑,๐๐๐ เลม่
ISBN 978-616-316-561-9

หนังสือเลม่ นีพ้ ิมพด์ ้วยหมึกถัว่ เหลอื ง แทนการใช้หมึกทม่ี ีส่วนผสมของน้�ำมันปิโตรเลยี ม
และพิมพ์ดว้ ยกระดาษทผี่ ลติ จากวัสดุทางการเกษตรที่ใชแ้ ลว้ ผสมเย่อื หมุนเวยี นทำ� ใหม่ ๑๐๐%

คมู่ อื การให้คำ� แนะนำ� กลุ่มเปา้ หมายในการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ 3

กส�ำอนงบกั รงาิหนารนกโยอบงาทยนุ แสลิ่งะแแวผดนลท้อรมัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม

4 ค่มู อื การใหค้ �ำแนะน�ำกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ

ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงแิทลุนะสสงิ่ิ่งแแววดดลล้ออ้ มม

คำ� น�ำ

กองทุนส่ิงแวดล้อมจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติส่งเสริม
และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เพื่อเป็นมาตรการ
ทางการเงินที่จะสรา้ งแรงจูงใจให้ทุกภาคส่วนเข้ามามสี ่วนรว่ มในการบริหารจดั การ
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม โดยท่ีผ่านมามีโครงการที่ได้รับการสนับสนุน
งบประมาณเป็นจ�ำนวนมาก แต่ในขณะเดียวกันก็มีหลายโครงการที่ยังขาด
ความสมบูรณ์ ครบถ้วน เพียงพอที่จะผ่านการพิจารณาความเหมาะสมใน
เบื้องต้น หรือใช้เวลาในการพัฒนาข้อเสนอโครงการท่ีนานเกินก�ำหนด ท�ำให้
เสยี โอกาสท่ีจะได้รบั การสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสงิ่ แวดล้อม
กองบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อม ได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าวข้างต้น
จึงได้สร้างเครือข่ายพี่เล้ียงในการพัฒนาข้อเสนอโครงการข้ึน โดยให้หน่วยงาน/
องค์กรท่ีเคยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่ิงแวดล้อม ได้ถ่ายทอด
ประสบการณห์ รอื ใหค้ ำ� แนะนำ� ในการจดั ทำ� ขอ้ เสนอโครงการเบอื้ งตน้ แกผ่ ทู้ ตี่ อ้ งการ
เสนอโครงการรายใหม่ เพื่อให้การพัฒนาข้อเสนอโครงการมีความสมบูรณ์
มากย่ิงข้ึนและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมท้ังสนับสนุนข้อมูลแนวทางและ
วิธีการขอรับการสนับสนุนจากกองทุนส่ิงแวดล้อมให้แก่เครือข่ายพ่ีเลี้ยงฯ และ
ผู้เสนอโครงการท่ัวไป กองบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อมจึงได้จัดท�ำ “คู่มือการให้
ค�ำแนะน�ำกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ” ฉบับน้ีข้ึน เพื่อเป็น
คู่มือส�ำหรับเครือข่ายพี่เล้ียงในการให้ค�ำปรึกษาและแนะน�ำการจัดท�ำข้อเสนอ
โครงการที่จะขอรับการสนับสนุนจากกองทุนสิ่งแวดล้อม ตามมาตรา 23 (4)
แห่งพระราชบัญญตั สิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพส่งิ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ พ.ศ. 2535
ต่อกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ รวมทั้งกลุ่มเป้าหมายท่ีสนใจในการพัฒนาข้อเสนอ

คูม่ ือการให้คำ� แนะนำ� กลุ่มเปา้ หมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ 5

สกำ�อนงบกั รงาหิ นารนกโยอบงาทยุนแสลิง่ ะแแวผดนลท้อรมัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม

โครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนจากกองทุนสิ่งแวดล้อม ก็สามารถศึกษาและใช้
ประโยชน์จากเอกสารฉบับน้ีที่มีเนื้อหาการน�ำเสนอ ประกอบด้วย ขั้นตอน
การขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสิ่งแวดล้อม ช่องทางการยื่น
ข้อเสนอโครงการของกลุ่มเป้าหมาย การจัดท�ำข้อเสนอโครงการ การสรุป
สาระส�ำคัญท่ีต้องค�ำนึงในแต่ละหัวข้อ การมีส่วนร่วมในการด�ำเนินโครงการ
มกี ารน�ำเสนอเนอ้ื หาท่กี ระชบั และเขา้ ใจงา่ ย
กองบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อม ขอขอบคุณเครือข่ายพี่เล้ียง
ท่ีมีบทบาทส�ำคัญในการให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะท่ีเป็นประโยชน์
ในการจัดท�ำคู่มือการให้ค�ำแนะน�ำกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ
ให้มีความสมบูรณ์ยิ่งข้ึน โดยมุ่งหวังให้คู่มือน้ีเป็นเคร่ืองมือท่ีสนับสนุนให้
โครงการท่ีเสนอขอรับการสนับสนุนจากกองทุนสิ่งแวดล้อมมีความถูกต้อง
ครบถ้วน สมบูรณ์ และสอดคล้องกับกรอบทิศทางการสนับสนุน เพื่อช่วยให้
การพิจารณาโครงการเป็นไปอยา่ งรวดเร็วภายใต้กรอบระยะเวลาทก่ี ำ� หนด

สำ� นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรรหิรมารชกาอตงิแทลุนะสสิิ่่งงแแววดดลล้ออ้ มม
มกราคม 256๓



6 คู่มอื การให้คำ� แนะน�ำกลมุ่ เป้าหมายในการพฒั นาข้อเสนอโครงการ

ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงแิทลุนะสส่ิงงิ่ แแววดดลลอ้้อมม

สารบญั

เร่ือง หนา้

1. ข้ันตอนการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทนุ สงิ่ แวดล้อม ๙

2. ชอ่ งทางการย่นื ขอ้ เสนอโครงการของกลุ่มเปา้ หมาย ๑3

3. ขน้ั ตอนในการพิจารณาและพฒั นาข้อเสนอโครงการ ๑๖

4. การจัดท�ำขอ้ เสนอโครงการ ๑๙

5. ความสอดคล้องกับนโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ๒๔
และแผนจดั การส่งิ แวดลอ้ มระดับต่าง ๆ

6. รายละเอียดขอ้ มูลสำ� คัญในการเขียนข้อเสนอโครงการ ๓9

7. การตรวจสอบความครบถ้วนของขอ้ เสนอโครงการ ๔5

8. การมีส่วนร่วมในการดำ� เนนิ โครงการ 48

9. ข้ันตอนการดำ� เนนิ โครงการ 50

10. เครอื ขา่ ยพี่เลีย้ งในการเขยี นขอ้ เสนอโครงการ ๕3

11. ตวั อย่างโครงการทไี่ ด้รบั การสนับสนนุ จากกองทนุ สงิ่ แวดล้อม ๕6

คู่มอื การใหค้ ำ� แนะนำ� กลุม่ เปา้ หมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ 7

กส�ำอนงบักรงาหิ นารนกโยอบงาทยุนแสลง่ิ ะแแวผดนลทอ้ รมัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

ส ารบญั ภาพ

ภาพท ่ี หนา้

1 ขั้นตอนการขอรับการสนับสนนุ งบประมาณจากกองทนุ สิง่ แวดลอ้ ม ๑๑
๒ ช่องทางการย่ืนขอ้ เสนอโครงการของกลุ่มเป้าหมาย ๑๕
๓ ข้นั ตอนในการพจิ ารณาและพฒั นาข้อเสนอโครงการ ๑๘
๔ สาระสำ� คญั ในขอ้ เสนอโครงการ ๒๓
๕ นโยบายและแผนตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ๒๗
๖ แนวทางการด�ำเนินงานตามกรอบการดำ� เนินงานตามแผนแม่บท ๒๘
อพ.สธ. ระยะ ๕ ปที หี่ ก (๑ ตลุ าคม ๒๕๕๙ – ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๔)
๗ กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 256๑ – 25๘๐) ๒๙
๘ เปา้ หมายการพัฒนาอยา่ งยัง่ ยืนทีเ่ ก่ยี วข้องกบั ๓๒
กรอบการจัดสรรเงินกองทุนสง่ิ แวดล้อมดา้ นทรัพยากรธรรมชาต ิ
๙ นโยบายและแผนการสง่ เสรมิ และรกั ษาคณุ ภาพส่งิ แวดล้อมแหง่ ชาติ ๓๓
พ.ศ. 2560 – 2579
10 แผนแม่บทแหง่ ชาตวิ ่าดว้ ยการพัฒนาสมุนไพรไทย 34
ฉบบั ท่ี ๑ พ.ศ. 2560 - 2564
๑1 แผนแม่บทรองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ ๓6
พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๙๓
๑2 แผนแม่บทบูรณาการจดั การความหลากหลายทางชวี ภาพ ๓7
พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๔
๑3 ยุทธศาสตร์การจดั การด้านอาหารของประเทศไทย ๓8
ฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2561 – 2580)
14 ประเด็นปญั หาที่พบบอ่ ย รวมถึงค�ำถาม ข้อคดิ เห็น ๔4
และขอ้ เสนอแนะต่าง ๆ จากการประชุมคณะอนกุ รรมการกล่นั กรอง
โครงการด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม
15 Checklist สำ� หรบั ตรวจสอบความครบถว้ นสมบูรณ์ของโครงการ ๔7
๑6 การมสี ว่ นรว่ มของภาคสว่ นทเี่ กยี่ วข้อง ๔9
๑7 การด�ำเนินโครงการหลังจากโครงการไดร้ ับการอนมุ ตั ิแล้ว ๕2
18 เครอื ข่ายพเ่ี ล้ยี งในแต่ละภาค ๕5

8 คมู่ อื การใหค้ �ำแนะน�ำกลมุ่ เปา้ หมายในการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ



งบปขระนั้ มตาอณนกจาากรขกออรงับทกนุ าสริ่งสแวนดับลส้อนมุน

สกำ�อนงบกั รงาิหนารนกโยอบงาทยนุ แสล่งิ ะแแวผดนลทอ้ รมัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม

1. ขัน้ ตอนการขอรบั การสนับสนนุ งบประมาณจากกองทนุ ส่งิ แวดลอ้ ม
ในการขอรบั การสนบั สนนุ งบประมาณจากกองทนุ สงิ่ แวดลอ้ ม มหี ลกั เกณฑ์
และเงอ่ื นไขในการจดั ทำ� โครงการทีต่ ้องพจิ ารณาในภาพรวม ดังนี้

1) กิจกรรมโครงการต้องสอดคล้องกับกรอบทิศทางการสนับสนุน
เงินกองทุนส่ิงแวดล้อม ตามมาตรา 23 (4) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริม
และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ในช่วงปีงบประมาณ
พ.ศ. 2560 – 2564

2) หน่วยงาน/องค์กรผู้เสนอโครงการเป็นหน่ึงในกลุ่มเป้าหมาย
ทกี่ ำ� หนดไวใ้ นกรอบทศิ ทางการสนบั สนนุ เงนิ กองทุนสง่ิ แวดลอ้ มฯ

3) โครงการท่ีจะเสนอขอรับการสนับสนุนต้องผ่านการประชุมหรือ
การจัดเวทีอย่างมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่โครงการ เพื่อแสดงให้เห็นว่า
ความต้องการแก้ไขปัญหาภายใต้โครงการเป็นความต้องการท่ีมาจากประชาชน
อย่างแท้จริง

4) การจดั ทำ� ขอ้ เสนอโครงการ ตอ้ งมสี าระสำ� คญั ครบถว้ นตามทก่ี ำ� หนดไว้
ในคมู่ อื การจดั ทำ� ขอ้ เสนอโครงการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการด�ำเนินโครงการในพ้ืนท่ี
ทมี่ กี ฎหมายเฉพาะกำ� หนดใหอ้ ยใู่ นความคมุ้ ครอง จะตอ้ งแนบสำ� เนาการขออนญุ าต
จากหนว่ ยงานเจา้ ของพนื้ ที่ รวมถงึ การใชพ้ น้ื ทส่ี าธารณประโยชน์ ตอ้ งแนบหนงั สอื
สำ� คญั สำ� หรบั ทหี่ ลวง และหนังสือขออนุญาตการใช้พื้นท่ีจากองค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถน่ิ

5) การยน่ื ขอ้ เสนอโครงการ เมอื่ จดั ทำ� โครงการแลว้ เสรจ็ ใหห้ นว่ ยงานผเู้ สนอ
โครงการยนื่ ขอ้ เสนอโครงการพร้อมแบบค�ำขอตามประเภทของหน่วยงานผู้เสนอ
โครงการทผี่ ่านการลงนามของผู้บริหารสูงสดุ รายละเอียดดังภาพที่ ๑

10 ค่มู อื การใหค้ �ำแนะน�ำกล่มุ เปา้ หมายในการพฒั นาข้อเสนอโครงการ

ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรริหรามรชกาอตงิแทลุนะสสง่ิงิ่ แแววดดลลอ้อ้ มม

๑๒

กรอบทศิ ทางการสนบั สนนุ กลมุ่ เปา้ หมาย ➧

๑. การปกป้อง คุ้มครอง และฟื้นฟู 1. ส่วนราชการ
พนื้ ทอ่ี นรุ กั ษ์ พนื้ ทป่ี า่ ตน้ นำ้� ทรพั ยากร ๒ . อ(องปค์กทร.)ปกครองสว่ นท้องถิน่
ปา่ ไม้ สตั วป์ า่ และทรพั ยากรทางทะเล
และชายฝั่ง

๒. การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ ๓. องคก์ รเอกชนด้านสิง่ แวดลอ้ ม
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม ๔. องคก์ ารมหาชน
ศิลปกรรม และความหลากหลายทาง
➧ชีวภาพใหเ้ กดิ ความยง่ั ยนื ๕. เทครรพั ือยขา่ากยรอธารสรามสชมาัคตริ พทิ ักษ์
และส่ิงแวดล้อมหมู่บา้ น (ทสม.)
๓. การจัดการขยะและน�้ำเสียที่
แหล่งก�ำเนิด โดยกระบวนการมี ๖. สภาองคก์ รชุมชนตำ� บล
ส่วนร่วมของชุมชน

๔. การเสริมสร้างศักยภาพชุมชน ๗. คณะกรรมการหมู่บ้าน
ในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลง 8 . สในถสาบังกนั ัดกการระศทึกรษวางศขกึอษงราธัฐกิ าร/
สภาพภมู ิอากาศ สถาบนั การศกึ ษาของ อปท.
๕. การสนับสนุนการเกษตรตามหลัก ๙. หน่วยอนุรักษ์สง่ิ แวดล้อม
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ ธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมท้องถน่ิ
ส่งเสริมการบริโภคท่ีเป็นมิตรต่อ
สงิ่ แวดล้อม

๖. การส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย
ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม
และการใชเ้ ทคโนโลยีทสี่ ะอาด

ภาพท่ี ๑ ขนั้ ตอนการขอรบั การสนบั สนนุ งบประมาณจากกองทนุ สงิ่ แวดลอ้ ม
คูม่ ือการใหค้ ำ� แนะน�ำกลุม่ เปา้ หมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ 11

กส�ำอนงบักรงาิหนารนกโยอบงาทยนุ แสลิ่งะแแวผดนลทอ้ รมพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

๓๕

โครงการผา่ นการประชุมหารอื ชอ่ งทางการยื่นข้อเสนอโครงการ
อยา่ งมีสว่ นร่วมจาก
ทุกภาคสว่ นทเ่ี กี่ยวขอ้ ง สว่ นราชการ/ ลงแนบาบมคโด�ำยขอผเง้บู ินรอิหดุารหสนูงุนสุด
องค์การมหาชน

➧ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ในแลผงบนนรปารมฏจโบิขุ ดอ้ัตยเิกสาผนรู้บอฯรโิหรคะารดรงสกบั งูาจสรงั ุดหวัด
องค์กรเอกชน ลงแนบาบมคโด�ำยขอผเงู้บินรอิหดุารหสนงู ุนสดุ
๔ ดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม

ทสม. ลงเคนราือมขโด่ายยลแทงปบนสรบาะมมธ-. ารโกนับดสคยร.อมณ1งี ะผกอร.ทรมสกจา.ร

ข้อเสนอโครงการ ➧ สภาองค์กรชมุ ชนต�ำบล ลงนผาู้ไมดแโร้บดับบยมผ-ออกบ.สอพ.ำ� อน2ชา.จหรอื

1. ขอ้ มลู พน้ื ฐาน คณะกรรมการหมูบ่ ้าน ปโรดะยธมานี นาลคแยลงณบอนงบะ�ำนากเมา-ภรมรอกรับโม/สดรป.กยอลา3งัดรหอม�ำเู่บภ้าอน
2. สภาพปญั หา

3. วตั ถปุ ระสงค์

4. ยคทุวาธมศสาสอตดรค์ลฯอ้ งกบั นโยบาย หน่วยอนรุ ักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม ลงนแาบมบโด-ยกผสอ. .4ทสจ.
ธรรมชาตแิ ละ
5. พน้ื ทเี่ ปา้ หมายและกลมุ่ เปา้ หมาย ศลิ ปกรรมท้องถิน่

6. ระยะเวลาดำ� เนนิ โครงการ สถาบนั การศกึ ษาของรัฐ ลงนผาขูร้ มกัอแโษงบดสาบยรถาาผ-ชบบู้กกันรสาิห.รหา5แรรทอื สนูงสุด
ในสังกดั กระทรวงศกึ ษาฯ

7. แผนงาน/กจิ กรรมการดำ� เนนิ งาน สถาบนั การศึกษาของ อปท. ผบู้ รหิ ารสูงแสลบดุ งบขนอา-มงกโสอด.ปย6ท. ต้นสังกดั

8. วงเงนิ งบประมาณ

9. ตวั ชว้ี ดั ผลสำ� เรจ็ ของโครงการ ขอ(พอกงตธกร.รอ้ณบิร.งบมดดีแใป.มีนปำ�นา่อีเกา่บนไำ�สามหนินรงก้ ลกคาวรกัจจิวนะฐสกบทแารง่ัคหำ� นเรกมุปง่ มกชาน็ ใาดรานหรอแูตพไนยลดิ พนง้ืัา่ร้ รสงท.บั ศกัหอื อ่ีอษ.ในนนห๒าง่ึ รุญุพ้ห๕อกั รยนา๐ษอืาต่กั๗ห์ บงจงรใำา�ามดอื รนกาใพงุหเตนจปน้ื นรเา้า่ขทาว่หสตที่ย๑นงปงมี่วา๙้ า่ากีนทสนฎ:แห่ี งผเหหวรพรู้ มอืง่นบัอ่ื ชเาแผจปยาหา้ดิรตเหง่ฉะชิ ชโนพอยาา้บาชตทะไนิ ี่ด์ )้
ต้อกงแรณนบดี สำ� เำ� นเนนิ ากหิจนกงัรสรมอื สใน�ำพคัญ้นื ทส่ีสำ� หาธราับรทณีห่ ปลรวะงโย(นชสนล์ .)
10. การบรหิ ารงานโครงการ

11. ผลประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ บั

12. นกาเิ ทรกศำ�โคหรนงดกแานรวทางการตดิ ตาม

12 คู่มือการใหค้ ำ� แนะน�ำกล่มุ เปา้ หมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ



โครชง่อกงาทรขางอกงากรลยุ่มน่ื เปขอ้า้ หเสมนาอย

สก�ำอนงบกั รงาหิ นารนกโยอบงาทยุนแสล่งิ ะแแวผดนลทอ้ รมัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม

2. ชอ่ งทางการยน่ื ข้อเสนอโครงการของกลุ่มเปา้ หมาย
กลุ่มเป้าหมายท่ีมีสิทธิ์ขอรับการสนับสนุนจากกองทุนส่ิงแวดล้อม
มีท้ังหมด 9 ประเภท ได้แก่ สว่ นราชการและองคก์ ารมหาชน องคก์ รปกครอง
ส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) สภาองค์กรชุมชนต�ำบล
คณะกรรมการหมู่บ้าน หนว่ ยอนรุ กั ษส์ งิ่ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทอ้ งถนิ่
สถาบันการศึกษาของรัฐในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และสถาบันการศึกษา
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยกลุ่มเป้าหมายแต่ละประเภทจะมีแบบ
คำ� ขอและการลงนามการย่ืนเสนอโครงการแตกตา่ งกัน รายละเอียดดังภาพที่ ๒

14 คมู่ อื การใหค้ �ำแนะน�ำกลุม่ เปา้ หมายในการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ

สำ� นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรริหรามรชกาอตงิแทลนุ ะสสิ่ง่ิงแแววดดลลอ้อ้ มม

สว่ นราชการ/องคก์ ารมหาชน เแงบนิ บอคดุ �ำหขนอนุ ลงนามโดย ผบู้ รหิ ารสงู สดุ
แผนจงั หวัด ลงนามโดย ผูบ้ รหิ ารสูงสดุ

อปท. เแงบนิ บอคุด�ำหขนอุน ลงนามโดย ผบู้ ริหารสูงสุด
องค์กรเอกชนดา้ นสง่ิ แวดล้อม

แบบ กส.1 ลงนามโดย ประธาน ทสม.
ลงนามรบั รองโดย ผอ.ทสจ.

ทสม.

แบบ กส.2 ลงนามโดย ผอ.พอช.
หรือผ้ไู ดร้ ับมอบอ�ำนาจ
สภาองคก์ รชุมชนต�ำบล
ประธานคลณงะนการมรโมดกยารหมบู่ า้ น
แบบ กส.3 นาลยงอน�ำเาภมอร/บั ปรลอดังโอดำ� ยเภอ กองทนุ สงิ่ แวดลอ้ ม

คณะกรรมการหมู่บ้าน ลงนามโดย ผอ.ทสจ.

ธรรหมนช่วายตอแิ นลรุะักศษิลส์ป่ิงกแรวรดมลท้อ้อมงถิ่น แบบ กส.4 ผบู้ รหิ าลรงสนงู สาดุมขโอดงยสถาบนั
แบบ กส.5 หรอื ผูร้ กั ษาราชการแทน

ในสสถังกาบัดนักรกะาทรศรวึกงษศากึ ขษอางธรกิัฐาร ลงนขาอมงโดอยปทผ.ูบ้ ตรน้ ิหสางั รกสดั ูงสดุ

แบบ กส.6

สถาบันการศึกษาของ อปท.

ภาพที่ ๒ ชอ่ งทางการยน่ื ขอ้ เสนอโครงการของกลมุ่ เปา้ หมาย

คมู่ อื การให้คำ� แนะนำ� กลุ่มเปา้ หมายในการพฒั นาข้อเสนอโครงการ 15



แขลน้ั ะตพอัฒนในนากขา้อรพเสจินาอรโณครางการ

สำ� นักงานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงิแทลนุ ะสส่ิงิง่ แแววดดลล้ออ้ มม

3. ขนั้ ตอนในการพิจารณาและพัฒนาข้อเสนอโครงการ
กระบวนการพัฒนาข้อเสนอโครงการในการขอรับการสนับสนุน
งบประมาณจากกองทุนสิ่งแวดล้อม ให้ความส�ำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วม
ของชุมชน และหน่วยงานที่มีความเก่ียวข้องกับกิจกรรมโครงการ ตั้งแต่
การส�ำรวจพ้ืนท่ี การวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา และก�ำหนดแนวทางแก้ไข
โดยการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการนนั้ จะเกิดขึ้นใน 2 ช่วง คือ การพัฒนาข้อเสนอ
โครงการเพื่อย่ืนขอรับการสนับสนุนต่อกองทุนส่ิงแวดล้อม (การจดั ทำ� ขอ้ เสนอ
โครงการ) และการพัฒนาข้อเสนอโครงการหลังจากการพิจารณาของกองทุน
ส่ิงแวดล้อม เพื่อการปรับแก้ไขหรือเพิ่มเติมรายละเอียดให้ครบถ้วนสมบูรณ์
เพ่ือน�ำเสนอต่อคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการด้านทรัพยากรธรรมชาติ/
มลพิษ และคณะกรรมการกองทุนส่ิงแวดล้อม ตามขั้นตอนต่อไป รายละเอียด
ดังภาพที่ ๓

คมู่ ือการใหค้ ำ� แนะน�ำกลุม่ เปา้ หมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ 17

สก�ำอนงบกั รงาิหนารนกโยอบงาทยนุ แสลิง่ ะแแวผดนลทอ้ รมพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

ศสกึภขษาอาพงพปสนื้ัญ�ำรทหวี่ าจ สวถเิาคนรกาาะรหณ์ ์ ข้อเสนพอัฒโนคารงการ
ปญั หา ผลกระทบ เพื่อขบั เคล่อื น
และแนวทางแกไ้ ข การแกไ้ ขปัญหา

แผลูเ้ะสหนนอว่ โยคงรางนกทาร่เี กชย่ี มุ วชขนอ้ ง กองทุนส่งิ แวดลอ้ ม

พัฒนา แปลญั ะสหแวถาิเนาคนวผรทกลาาากะรงหรแณะ์ กท์ ไ้ บข คณะอนุกรรมการกลั่นกรอง
ข้อเเพชเสิงือ่ บนขรูอับณโเคคารลกงอ่ืากนราร โครงการดา้ นทรพั ยากรธรรมชาต/ิ มลพษิ
การแกไ้ ขปญั หา
ศกึ ษา ส�ำรวจ
สภาพปัญหา
ของพ้ืนที่

หน่วยงานผทู้เส่เี กนยี่อวโคข้อรงงกกาอรงชทมุ นุ ชสนง่ิ แวดล้อม ประโคเมรินงกคาวราเมบเอื้หงมตาน้ ะสม
คณะอนกุ รรมการฯ และคณะกรรมการกองทนุ ฯ

กองทุนสิ่งแวดล้อม คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการ
กองทุนส่ิงแวดล้อม

คณะกรรมการ
สิง่ แวดล้อมแห่งชาติ
(กรณีงบประมาณ > ๕ ล้านบาท)

ภาพท่ี ๓ ขนั้ ตอนในการพจิ ารณาและพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ
18 คู่มอื การใหค้ ำ� แนะน�ำกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ

กระดาษ แกว้ อาหาร พลาสตกิ



การจดั ท�ำขอ้ เสนอโครงการ

สกำ�อนงบักรงาิหนารนกโยอบงาทยุนแสลิ่งะแแวผดนลทอ้ รมพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

4. การจัดท�ำขอ้ เสนอโครงการ
ข้อเสนอโครงการจะต้องมีสาระส�ำคัญครบถ้วนตามที่ก�ำหนดไว้ในคู่มือ
การจัดท�ำข้อเสนอโครงการ ท่ีจะขอรับการสนับสนุนจากกองทุนส่ิงแวดล้อม
ตามมาตรา ๒๓ (๔) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อม
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ (ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
และด้านการจัดการมลพิษ) เพื่อเป็นข้อมูลเบ้ืองต้นประกอบการพิจารณา
โครงการของกองทุนส่ิงแวดล้อม คณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ
ด้านทรัพยากรธรรมชาติ/มลพิษ และคณะกรรมการกองทุนส่ิงแวดล้อม
โดยแบ่งเป็น 12 หัวข้อ ดังนี้
1) ข้อมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับพ้ืนท่ีโครงการ
2) สภาพปัญหา
3) วัตถุประสงค์
4) ความสอดคลอ้ งกบั นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ และแผนจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม
ระดบั ตา่ ง ๆ
5) พ้ืนท่ีเป้าหมายและกลุ่มเป้าหมาย
6) ระยะเวลาด�ำเนินโครงการ
7) แผนงาน/กิจกรรมการด�ำเนินงาน
8) วงเงินงบประมาณ
9) ตัวช้ีวัดผลส�ำเร็จของโครงการ
10) การบริหารงานโครงการ
11) ผลประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ
12) การติดตามนิเทศโครงการ รายละเอียดดังภาพที่ ๔

20 คมู่ อื การให้ค�ำแนะน�ำกลุ่มเป้าหมายในการพฒั นาข้อเสนอโครงการ

สำ� นกั งานนโยบายและแผนทรัพยกาอกงรบธรริหรามรชกาอตงแิทลุนะสสง่ิิง่ แแววดดลลอ้้อมม

การจัดทำ� ขอ้ เสนอโครงการ

1. ข้อมลู พื้นฐาน
• ลกั ษณะพ้นื ที่ สงั คม ข้อมลู ประชากร และทรพั ยากรฯ
• ความเป็นมา พ้นื ฐานงานท่ีผ่านมา และสิง่ ทีจ่ ะท�ำตอ่ ไป

2. สภาพปญั หา
• ปัญหาทจ่ี ะด�ำเนินการภายใตโ้ ครงการ
• ความเรง่ ด่วนของปญั หา
• ความรนุ แรงของปญั หาทัง้ ในเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ
• หลกั ฐานการมสี ่วนรว่ มของชุมชนในการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ

3. วตั ถุประสงค์
• ม่งุ แกไ้ ขปัญหาหลกั ก�ำหนดใหง้ ่าย ชัดเจน และไม่ควรเกนิ ๓ ข้อ
• เรียงตามลกั ษณะงาน/กิจกรรม
• สามารถวัดและประเมินผลไดจ้ รงิ

4. ความสอดคล้องกบั นโยบาย ยทุ ธศาสตร์
และแผนจดั การสิ่งแวดลอ้ มระดับตา่ ง ๆ
• ระดับโลก
- เป้าหมายการพฒั นาทย่ี ัง่ ยนื (SDGs)
- อนุสัญญา เชน่ อนสุ ญั ญาความหลากหลายทางชวี ภาพ
• ระดบั ภมู ภิ าค
- กรอบความรว่ มมอื ตา่ ง ๆ เชน่ MRC GMS และ ASEAN
• ระดับประเทศ
- นโยบายรฐั บาล/แผนบริหารราชการแผ่นดนิ
- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ
- แผนจดั การคณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ ม และแผนอ่นื ๆ ท่เี กี่ยวขอ้ ง
• ระดับทอ้ งถ่นิ
- แผนยุทธศาสตร์สิง่ แวดล้อมจังหวัด และระดบั เทศบาล/อบต.
- แผนอนื่ ๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง

คู่มอื การให้คำ� แนะนำ� กลมุ่ เปา้ หมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ 21

กส�ำอนงบักรงาหิ นารนกโยอบงาทยุนแสลงิ่ ะแแวผดนลท้อรมัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

6. ระยะเวลาด�ำเนินโครงการ
• ไม่เกนิ 3 ปี
• มีความเปน็ ไปได้ในการบรรลุผล
• มีความเหมาะสม/สอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมาย

7. แผนงาน/กิจกรรมการด�ำเนินงาน
• แผนงานต้องสอดคล้องและเรียงล�ำดับตามวตั ถปุ ระสงค์
• แผนงานต้องแยกเป็นรายกิจกรรม โดยระบุว่าจะท�ำอะไร โดยใคร อย่างไร ท่ีไหน
เพื่อใหเ้ กิดผลอะไร (ตารางแนวนอนตามคมู่ ือฯ)
• มีตารางเวลาการท�ำงาน โดยระบกุ ิจกรรมและชว่ งเวลาเปน็ รายไตรมาส
• มกี จิ กรรมเปดิ ตวั โครงการเปน็ กจิ กรรมแรก
• มีกิจกรรมการจดั เวทีถอดบทเรียนและจดั พิมพห์ นงั สอื สรปุ บทเรียนอย่างนอ้ ย ๕๐ เล่ม
• หากกจิ กรรมมคี วามเกยี่ วโยงกบั ภารกจิ ของหนว่ ยงานในพน้ื ทใี่ หป้ ระสานความรว่ มมอื กนั
เพ่ือให้เกิดการแลกเปลย่ี นเรียนร้แู ละลดความซ้�ำซ้อน

8. วงเงินงบประมาณ
• งบประมาณแบง่ เปน็ ๒ สว่ น ไดแ้ ก่ งบบรหิ ารโครงการ (ไม่เกนิ ร้อยละ 30)
และงบด�ำเนินโครงการ (ไม่ต่�ำกว่าร้อยละ 70)
• สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และแผนงาน
• จำ� แนกรายละเอียดของงบประมาณ แสดงคา่ ใช้จา่ ยต่อหน่วย
และคา่ ใช้จ่ายรวม โดยแบ่งเป็นรายปี
• ค่าตรวจสอบบัญชี (เฉพาะองค์กรเอกชน) ไม่เกินรอ้ ยละ ๑ และค่าติดตามนเิ ทศ
โครงการ ไม่เกนิ ร้อยละ ๓ โดยอย่ใู นสว่ นของงบบริหารฯ
• ระบงุ บประมาณท่ไี ดร้ บั การสนับสนุนจากแหล่งอน่ื (ถา้ ม)ี
• เปน็ ไปตามความจำ� เป็น และสอดคล้องตามระเบยี บราชการ
• กรณีขอรบั การสนับสนนุ งบประมาณมากกว่า 5 ลา้ นบาท ตอ้ งผ่านการพิจารณา
จากคณะกรรมการสง่ิ แวดล้อมแห่งชาติ

9. ตวั ชวี้ ัดผลสำ� เร็จของโครงการ
• ก�ำหนดตัวชี้วัดผลส�ำเร็จในเชิงคุณภาพตามวัตถุประสงค์ ระบุวิธีการวัดผล และ
เกณฑ์การประเมนิ ในรปู แบบตารางตามคู่มอื ฯ
• ก�ำหนดตัวช้ีวัดผลส�ำเร็จแต่ละกิจกรรมในเชิงปริมาณภายใต้แผนงาน โดยก�ำหนด
เปน็ รายปี ในรปู แบบตารางตามค่มู อื ฯ

22 ค่มู ือการให้คำ� แนะน�ำกลุ่มเปา้ หมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ

ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรัพยกาอกงรบธรริหรามรชกาอตงแิทลุนะสสิ่งง่ิ แแววดดลล้ออ้ มม

10. การบริหารงานโครงการ
10.1 โครงสร้างการบรหิ ารงานโครงการ
• คณะกรรมการทปี่ รกึ ษาโครงการ : เปน็ บคุ ลากรจากทกุ ภาคสว่ น ทเี่ กยี่ วขอ้ งโดยทกุ โครงการ
จะต้องประสาน สนง.ส่ิงแวดล้อมภาค และ สนง.ทรัพยากรฯ จังหวัด เข้าร่วมเป็น
ทป่ี รกึ ษาด้วย
• คณะกรรมการบริหารโครงการ : ผู้ท่ีท�ำงานใกล้ชิดกับโครงการ ได้แก่ บุคลากรของ
ผูเ้ สนอโครงการ อปท. ในพื้นท่ี กำ� นนั หรอื แกนนำ� ชมุ ชน
• ต้องมีส�ำเนาหนังสือแสดงการรับรองในการเข้าร่วมเป็นกรรมการฯ ของบุคคลท่ีเข้าร่วม
เป็นคณะกรรมการฯ
• ระบผุ ู้ประสานงานโครงการ จนท.ภาคสนาม (ถา้ ม)ี พนักงานบญั ชี (ถา้ มี)
10.2 แผนการบริหารโครงการ คือ แนวทางด�ำเนินการเพ่ือให้เกิดความต่อเน่ืองย่ังยืน
หลังส้ินสุดโครงการ โดยระบุถึงกลไก แหล่งทุน การประสานกับหน่วยงานต่าง ๆ และ
กจิ กรรมทคี่ าดว่าจะด�ำเนินการภายหลงั ส้ินสดุ โครงการ

11. ผลประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะไดร้ ับ
• ประโยชน์ต่อประชาชนและชุมชนทจ่ี ะได้รับจากการเขา้ รว่ มโครงการ
• ประโยชนต์ อ่ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม/ระบบนิเวศ
• การคำ� นวณผลตอบแทนของโครงการ (ถา้ ม)ี

12. การก�ำหนดแนวทางการตดิ ตามนเิ ทศโครงการ
• กำ� หนดแผนการตดิ ตามและประเมนิ ผลใน 3 ระยะ ไดแ้ ก่ ระยะเรม่ิ ตน้
ระหวา่ งการด�ำเนนิ งาน และสนิ้ สดุ โครงการ
• ใช้กระบวนการมีส่วนรว่ มในการตดิ ตามและประเมินผลในทุกระยะ

ภาพท่ี ๔ สาระสำ� คญั ในขอ้ เสนอโครงการ

ค่มู อื การให้คำ� แนะนำ� กลมุ่ เปา้ หมายในการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ 23



แคลวะาแมผสนอจดดั คกลา้อรงสกง่ิ ับแวนดโยลบ้อามยรยะดทุ ับธศตา่าสงตๆร์

ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยกาอกงรบธรริหรามรชกาอตงแิทลุนะสสงิ่ง่ิ แแววดดลลอ้อ้ มม

5. ความสอดคล้องกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนจัดการส่ิงแวดล้อม
ระดบั ตา่ ง ๆ
โครงการต้องระบุความสอดคล้องและความเช่ือมโยงของโครงการ
กับแนวนโยบายและมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมท่ีเก่ียวข้อง เช่น แผนบริหาร
ราชการแผ่นดิน กรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)
นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
พ.ศ. 2560 – 2579 แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๙๓ แผนแม่บทบูรณาการจัดการความหลากหลาย
ทางชีวภาพ พ.ศ. 2558 – 2564 แผนการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงานเจ้าของ
โครงการ และแผนส่ิงแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นต้น
รายละเอียดดังภาพที่ ๕ – ๑3

รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560
มาตรา 43 (2) บุคคลและชุมชนย่อมมีสิทธิจัดการ บํารุงรักษา และใช้
ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติฯ
๕๐ (๘) บคุ คลมหี นา้ ทรี่ ว่ มมอื และสนบั สนนุ การอนรุ กั ษแ์ ละคมุ้ ครอง
สิง่ แวดล้อมฯ
มาตรา 57 (๒) รัฐต้องอนุรักษ์ คุ้มครอง บํารุงรักษา ฟื้นฟู บริหารจัดการ
และใชห้ รอื จดั ใหม้ กี ารใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาตฯิ
โดยต้องให้ประชาชนและชุมชนในท้องถ่ินที่เกี่ยวข้อง
มีส่วนรว่ มดําเนนิ การและไดร้ บั ประโยชน์

หลกั ปรชั ญาของ ยทุ ธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี การพเปฒั ้านหามทาย่ียั่งยืน
เศรษฐกจิ พอเพยี ง (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) Sustainable
DGeovaellso(pSmDGesn)t
ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 ด้านการสรา้ งการเติบโต
บนคุณภาพชวี ติ ที่เปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดล้อม

คู่มอื การให้ค�ำแนะนำ� กลุม่ เป้าหมายในการพฒั นาข้อเสนอโครงการ 25

สก�ำอนงบักรงาหิ นารนกโยอบงาทยนุ แสลิ่งะแแวผดนลท้อรมพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 256๔)
ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมเพื่อการพัฒนา
ท่ยี ง่ั ยืน 4 เป้าหมาย
1. รกั ษา และฟืน้ ฟูฐานทรพั ยากรธรรมชาติ
2. สรา้ งความมนั่ คงดา้ นนำ้� และบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนำ�้ ทง้ั นำ�้ ผวิ ดนิ
และน้�ำใตด้ นิ ใหม้ ีประสิทธิภาพ การพเปฒั ้านหามทาีย่ยงั่ ยืน
3. สร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมท่ีดี ลดมลพิษ และลดผลกระทบต่อ Sustainable
สุขภาพของประชาชนและระบบนเิ วศ DGeovaellso(pSmDGesn)t
4. เพมิ่ ประสิทธิภาพการลดกา๊ ซเรือนกระจกและขดี ความสามารถใน
การปรบั ตัวต่อการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ

นโยบายและแผนการสง่ เสรมิ และรกั ษาคณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579
นโยบายท่ี 1 จดั การฐานทรัพยากรธรรมชาติอย่างม่ันคงเพือ่ ความสมดลุ เปน็ ธรรม และย่งั ยืน
นโยบายที่ ๒ สร้างการเจรญิ เตบิ โตทเี่ ปน็ มิตรกับสิ่งแวดลอ้ มเพ่อื ความมงั่ คั่ง และย่ังยืน
นโยบายท่ี ๓ ยกระดบั มาตรการในการบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
นโยบายที่ 4 สร้างความเปน็ หุ้นส่วนในการบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม

แผนแมบ่ ทบูรณาการจัดการความหลากหลายทางชวี ภาพ
(พ.ศ. 2558 – 2564) 4 ยทุ ธศาสตร์

1. บูรณาการคณุ ค่าและการจดั การความหลากหลายทางชวี ภาพ โดยการมีส่วนร่วมในทกุ ระดบั
2. อนุรกั ษ์และฟืน้ ฟู ความหลากหลายทางชวี ภาพ
3. ปกปอ้ งคมุ้ ครองสทิ ธปิ ระโยชนข์ องประเทศ และบรหิ ารจดั การเพอ่ื เพม่ิ พนู และแบง่ ปนั ผลประโยชน์
จากความหลากหลายทางชวี ภาพ โดยสอดคล้องกบั แนวทางเศรษฐกจิ สีเขียว
4. พฒั นาองคค์ วามร้แู ละระบบฐานข้อมูลดา้ นความหลากหลายทางชวี ภาพให้เป็นมาตรฐานสากล

1.ส ภกาแารพผปภนร3ูมแบั ิอมตแาัวบ่ นตกทว่อารทผศอลาง(กงพรกรบั ะ.าศกทร.าบด2รจ�ำเ5าเปนก5ลกนิ 8่ียางรนา–เนปแ2ลป่ีย5ลนง9แ3ป)ลง ระแยผะน5แสสมอปยมบ่ นัาทีเทดมเหี่ นโ็จบกค่อืพรรง(มรงมตะรกา.เาคาทจชร.าพกอ2กรุมน5พตั ารุ 5รนรกั ะ9ีรษ(ราอพ์า–ชพชันสกด.ธดุส.ำ�ยกุ ธาร.รฯ.ิ)ร2ม5พ6ืช4)
สภาพภูมอิ ากาศ •••
กกกรรรอออบบบกกกาาารรรสใเรชรยีป้ ้านงรรจะ้ทูิตโยรสชัพํานนย์ึกากร
2. การลดก๊าซเรอื นกระจกและสง่ เสรมิ การเตบิ โต
ท่ีปลอ่ ยคาร์บอนต�ำ่

3. การสร้างขีดความสามารถด้านการบริหาร
จัดการการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ

26 คูม่ อื การให้คำ� แนะน�ำกลมุ่ เปา้ หมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ

ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยกาอกงรบธรริหรามรชกาอตงแิทลนุ ะสสิ่ง่ิงแแววดดลลอ้อ้ มม

แผนจัดการคุณภาพส่ิงแวดล้อม (พ.ศ. 2560 – 2565)
4 ยทุ ธศาสตร ์ 1. การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติอย่างสมดลุ และเป็นธรรม
2. การจัดการคุณภาพส่งิ แวดล้อมทีด่ ี ไดร้ บั การป้องกัน บำ� บดั และฟนื้ ฟู
3. เพ่ิมประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่า
และยงั่ ยืน
4. สรา้ งศกั ยภาพเพอื่ รองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและภยั ธรรมชาติ
และส่งเสริมความรว่ มมือกับต่างประเทศ

ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตฯิ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)
6 ยทุ ธศาสตร ์ 1. อนุรักษ์ คุ้มครอง ฟื้นฟู ส่งเสริม และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและ
ความหลากหลายทางชวี ภาพอยา่ งยงั่ ยนื

2. บริหารจัดการทรัพยากรน�้ำ ทั้งน้�ำผิวดินและน�้ำใต้ดิน แบบมีส่วนร่วม
เปน็ ธรรม และเพยี งพอ

3. ปอ้ งกนั รกั ษา และฟน้ื ฟู คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม
4. ขับเคลื่อนการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมในการพัฒนา
และจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ
๕. ลดกา๊ ซเรอื นกระจกและลดผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ
และภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ
6. พัฒนากลไก ระบบบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และการจดั การองคก์ รอยา่ งมธี รรมาภบิ าลและทนั ตอ่
การเปลย่ี นแปลง

แผนสง่ิ แวดลอ้ มระดบั จงั หวดั
แผนสงิ่ แวดลอ้ มขององคก์ รผเู้ สนอโครงการ / แผนสงิ่ แวดลอ้ มระดบั ทอ้ งถนิ่ (อปท.)

ภาพที่ ๕ นโยบายและแผนตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

ค่มู ือการใหค้ ำ� แนะน�ำกลุ่มเปา้ หมายในการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ 27

กส�ำอนงบกั รงาหิ นารนกโยอบงาทยุนแสลิ่งะแแวผดนลท้อรมัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

แนวทางการดำ� เนนิ งานตามกรอบการดำ� เนนิ งานตามแผนแมบ่ ท อพ.สธ. ระยะ ๕ ปที หี่ ก
(๑ ตลุ าคม ๒๕๕๙ – ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๔)

สำ� รวจ/เกบ็ รวบรวมพนั ธกุ รรมพชื ปลูกรกั ษาพนั ธกุ รรมพืช การปกปกั พนั ธกุ รรมพชื

 ชเกวี บ็ ภสาำ� พร/ววจฒั รนวธบรรรวมมภตมู วั ปิ อญั ยา่ญงาทรใพันรยศัามกรี ๕ก๐ายกภมา.พ/  ปลกู รกั ษาพนั ธกุ รรมพชื ในแปลงปลกู  ท�ำขอบเขตพ้ืนที่
ทงั้ พนื้ ที่
• พน้ื ทลี่ อ่ แหลม • พนื้ ทถ่ี กู บกุ รกุ  สวนพฤกษศาสตร์ สวนรกุ ขชาติ  สำ� รวจ/ท�ำรหสั พกิ ดั ทรัพยากร
• พนื้ ทที่ ถ่ี กู พฒั นาเปลย่ี นแปลงสภาพ สวนสาธารณะในสถานศกึ ษา  สำ� รวจ/ท�ำรหสั พันธุกรรมสัตว์
• ฐานขอ้ มลู

 เกบ็ รกั ษาในรปู แบบเมลด็ ในระยะสนั้
กลาง ยาว
๑ เกบ็ •รวเบกร็บวตมัวทอรยพั ่ายงาในกรกชาวีรภศากึ พษเาปน็ ตวั อยา่ งแหง้ /ดอง  สำ� รวจ/ท�ำรหัสทรัพยากร ดิน หนิ แร่

• เก็บไวใ้ นพพิ ิธภัณฑ์พชื /ธรรมชาติวทิ ยา • ธนาคารพนั ธกุ รรม  อาสาสมคั รปกปกั ทรพั ยากรสถานศกึ ษา
 เกบ็ พนั ธุกรรมทรัพยากรพชื  เกบ็ รกั ษาโดยเทคโนโลยเี พาะเนอ้ื เยอ่ื
• เกบ็ เมลด็ ในห้องเกบ็  เกบ็ รกั ษาในรปู สารพนั ธกุ รรม  เก็บสำ� รวจขอ้ มูลภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน/
• เกบ็ ดนิ ปลูกในทีป่ ลอดภัย วฒั นธรรมการใช้ทรัพยากรกายภาพ
• เกบ็ ชน้ิ สว่ นเพ่ือเพาะเน้อื เย่อื และทรพั ยากรชวี ภาพ

กจิ กรรมพเิ ศษสนบั สนนุ การอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื กรอบการเรยี นรู้ วางแผนพัฒนาพนั ธุกรรมพชื
ทรพั ยากร

 ทำ� ขอบเขตพน้ื ท่ี  ประชุมคณะทำ� งานทรัพยากร/คัดเลือกพันธุ์
 น�ำเสนอผลงานวิจยั  ประสานหนว่ ยงานพัฒนาพนั ธกุ รรม
 หนว่ ยงานสนบั สนุนงบประมาณ  วางแผนพฒั นาทรัพยากร
 ชมรม อพ.สธ.  จดั ทำ� ทะเบียนรับรองพนั ธุพ์ ืช
 อาสาสมัคร
 งานอบรม ๓ พศนั ูนธยกุ ์ขร้อรมมพูลชื ๒
• อปท. เข้ารว่ มฝึกอบรม กรอบการสรา้ ง
ในกากราอรนสรุ รกั า้ ษงพ์จตนิั ธสกุำ� รนรกึ มพชื จติ สำ� นกึ กรอบการใช้ ใชป้ ระโอยชนนรุ พก์ั ษนั แ์ธลกุ ะรรมพชื
ประโยชน์

 สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน  นำ� เข้าขอ้ มูลไวใ้ น  จดั ท�ำฐานขอ้ มูลระบบดจิ ติ อล :  วิเคราะห์ทางกายภาพ
• สมาชกิ สวนพฤกษศาสตร์ ศนู ยข์ ้อมลู พันธุกรรมพืช ฐานข้อมลู ทรพั ยากรท้องถน่ิ แหล่งพันธกุ รรมด้ังเดิมของพืช
โรงเรยี น/อปท./ชมุ ชน • การปลูกรกั ษา • การใชป้ ระโยชน์
ท ฐ าบ นท••ทวรหปพนพัลรรกะกัยะาเสรามราตูกดนิ ชรรำ�เททพทเานอ้อื่้อนงินรงถเบักถงน่ิ รายีน่ิ อนรงตบิ ตั ร ••• การใชป้ ระโยชน์ • การอนรุ ักษ์  ศึกษาทางด้านชีววทิ ยา
จัดท�ำขอ้ มูลภูมปิ ญั ญา • การสำ� รวจ สัณฐานวิทยา สรีรวิทยา
ขโสรอ้วงนมเรสูลียาพนธนั ติ ธพุไ์ มฤกจ้ าษกศโารสงเตรรยี ์ น • พกานั รธปกุ รระรเมมินคุณค่า ชีววทิ ยา พนั ธศุ าสตร์
ของทรพั ยากรชวี ภาพ
 งานพพิ ิธภัณฑ์ ท่คี ดั เลือกมาศึกษา
พิพิธภัณฑธ์ รรมชาตทิ ่มี ีชีวติ
• พพิ ธิ ภณั ฑ์ธรรมชาติวทิ ยา  ศกึ ษา จำ� แนกสายพนั ธุ์โดยวธิ ี
• พพิ ิธภณั ฑธ์ รรมชาติวิทยา เกาะ/ทะเล ทางชีวโมเลกุล

เพ่อื นำ� ไปสู่การพัฒนาพนั ธพุ์ ชื สัตว์

••• พศพนูพิพิ ยิธิธก์ภภาัณัณรฑฑเรพ์ท์ียน้อืชงรถู้ ิ่น/หอศิลปวัฒนธรรม  การจัดการพน้ื ท่ีทก่ี ำ� หนดเพื่อ
การอนุรกั ษ์และพัฒนา เชน่ ศูนยเ์ รียนรู้ต่าง ๆ

จงั หวัด/ท้องถนิ่  ศึกษาการปลกู และขยายพันธ์พุ ชื ดว้ ยการขยายพนั ธุ์
• แปลงปลกู รักษา อนรุ ักษพ์ นั ธกุ รรม ตามปกติ โดยพันธกุ รรมพชื ท่ีได้เคยศึกษามากอ่ น

ดดั แปลงจาก : แนวทางการด�ำเนินงานตามกรอบการด�ำเนินงานตามแผนแมบ่ ท อพ.สธ. ระยะ ๕ ปีท่ีหก

ภาพท่ี 6 แนวทางการด�ำเนนิ งานตามกรอบการด�ำเนินงานตามแผนแมบ่ ท อพ.สธ.
ระยะ ๕ ปที ่ี หก (๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ – ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔)

28 คมู่ ือการใหค้ ำ� แนะน�ำกลุ่มเปา้ หมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ

สำ� นกั งานนโยบายและแผนทรัพยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงิแทลนุ ะสสง่ิ่ิงแแววดดลลอ้อ้ มม
11

กกรรออบบยยทุ ุทธธศศาาสสตตรรช์ช์ าาตติิ รระะยยะะ 2200 ปปี ี((พพ..ศศ.. 225566๑๑––252๘5๐๘)๐)
ยยุททุธธศศาาสสตตรร์ ์66ดด้าา้นน

1 2 ๑ ๒ด้านคดวา้ดานา้มนคมกวนั่ าาครมงสมร้านั่ งคคงวามสามารถในการแขคใดง่นวา้ขกานนั มากรสาแารขมสง่ ารขร้านัถง
การพฒั นา
3 การพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพคน และเสริมสร้าง
ศกั ยภาพคน

๔4 ๕ ๖ด้านการสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกนั ทางสงั คม
5ดา้ นการสร้างโอกาส 6การสรา้ กงบากนราสรคเรณุต้าิบภงโกตาาพบรนชเคตีวณุิติบภโตาพชวี ิตที่เปน็ มติดแรา้ กลนับะกสพาง่ิ ฒัรแปวนดราลบั รอ้ สะมมบดบลุ
ความเสมอภาค ทสด่ีเ่ิงป้าแน็นวกมดาติรลปรอ้ กรมบับั สมดุลและพฒั นาระกบาบรกบาภรรบิหารคาหิ รราจัฐรดั จกดั ากรารภาครฐั
และเทา่ เทียมกัน

ทางสงั คม

ยทุ ธศาสยตทุ ธรศท์ าี่ ส๕ตร์ทก่ีา๕รสกราา้ รงสกราา้ รงเกตาบิรเโตติบบโนตคบณุนคภณุ าภพาชพวี ชติ ีวทิตเี่ทปี่เน็ปม็นติมรติ กรกบั บั สสง่ิ ิ่งแแววดดลลอ้อ้ มม

กแลากเเแะรพศนลาใรชอ่ืโระยษ้เสใบนคชฐิ่งารโยเ้แือ่ยศคกวงบาารมดรสาื่อคอื ลยตลทงอ้งักรมาเมพ์างือเ่ือรศทสคริง่ าลษแงวงัฐดศลาอ้ สมตร์ ๖ การจดั การระบบอนุรกั ษ์ ฟน้ื ฟู
๔ ๑ กทแทารรพัลรจยพัะัดาปกยกราอ้าแธรกลรงรระรกะมปธนับช้อราบตงสรกอกแิมงิ่ านลนัแชระรุ วสาทกักิง่ดตาษ�ำแรลิแวล์ทฟดอ้ลำาลลื้นมยะอ้าฟมยู
การร่วมลดปญั หาโลกร้อน
กาแรรลว่ ะมกลาดรปปัญรหบั าตโลวั กใหรอ้ ้พนรอ้ ม ๒ จทดั ัง้เกนการน้2อาระก5วใทุรากบหารนกม้าปบงลำ้�ีปภรรรกุ่มรใับะวยั ะหาบรนอาสอะรบม้ทุ�้ำงิทบยบกบีปรธบเ่าภภิระรกนรงัยาิหหิาบะพบอ้นราายสบบทรูกรร่าร้งัทิจณบงาจหิ 2บดัธรารัดารู5กรภิปหิณกกจาลารดัาาาาร่มุพกกบันรรรนาา้ำร้ำร
แลกะกับารกปารรับเตปวั ใลห่ยีพ้ นร้อแมปลง ๕
การพัฒกานรพาฒั แนลาะแลใชะใ้พช้พลลังังงงาาน
กบั สกาภราเปพลยี่ภนมู แอิปลางกสาภศาพภมู อิ ากาศ ๓ ท่ีเปท็นีเ่มปิตน็ รมกติ รบั กสับงิ่ สแิ่งวแวดดลลอ้ ้อม

การพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรม
กแลาเกแระชพเบัลมิงฒั ะสนอื นเงิ่งเิามวทเแมอืศเ่ี วอืปงงดน็ ทอลมตุ ่ีเสิต้อปารมห็นกกมับรรสิตมงิ่ รเแชวงิ นดิเลวศ้อม

ดดั แปลงจาก : กรอบยุทธศาสดตรัด์ชแาตปิ รละงยจะา2ก0 :ปีก(พร.ศอ.บ2ย5ทุ6๑ธศ–า2ส5ต๘ร๐์ช) าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 256๑ – 25๘๐)

ภาพท่ี 7 กรอบยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)

ภาพที่ 7 กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)

คูม่ ือการให้ค�ำแนะนำ� กลมุ่ เป้าหมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ 29

กส�ำอนงบักรงาิหนารนกโยอบงาทยุนแสลิง่ ะแแวผดนลท้อรมพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม

เปา้ หมายการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยืน

Sustainable Development Goals (SDGs)

ขจดั ความยากจน

 เพ่มิ รายได้
 สร้างภูมิต้านทานต่อการเปลย่ี นแปลงสภาพอากาศ

ขจัดความหวิ โหย

 การอนรุ กั ษค์ วามหลากหลายทางชวี ภาพ
 การเพิม่ ผลผลิตทางการเกษตร

การมสี ขุ ภาพและความเป็นอย่ทู ีด่ ี

 การลดอัตราการตายที่เกิดจากสารเคมีอนั ตราย มลพิษ
และการปนเป้ือนทางอากาศ นำ้� และดนิ

การจดั การน้�ำและสุขาภบิ าล

 ปกป้อง คุ้มครอง ฟนื้ ฟูระบบนเิ วศท่ีเกี่ยวข้องกับแหลง่ นำ�้
 แก้ไขปญั หาการขาดแคลนน�้ำ
 สนบั สนุนการมีสว่ นรว่ มในการพัฒนาการจัดการน�้ำ
30 คมู่ อื การให้คำ� แนะน�ำกลุ่มเป้าหมายในการพฒั นาข้อเสนอโครงการ

ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรัพยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงิแทลุนะสส่ิง่ิงแแววดดลลอ้อ้ มม

การจ้างงานทีม่ คี ณุ ค่าและการเติบโตทางเศรษฐกจิ

 สง่ เสรมิ การทอ่ งเที่ยวท่ยี ง่ั ยนื
 ส่งเสรมิ วัฒนธรรมและผลติ ภณั ฑท์ อ้ งถ่นิ
 การปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพการใชท้ รพั ยากรของโลก
ในการผลติ และการบริโภค

เมืองและถิน่ ฐานมนุษย์อยา่ งย่งั ยืน

 ปกป้อง คมุ้ ครอง มรดกทางวฒั นธรรมและธรรมชาตขิ องโลก
 ลดผลกระทบต่อสงิ่ แวดลอ้ ม
 การเขา้ ถงึ พน้ื ท่สี เี ขียว
 ลดผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ

แผนการบริโภคและการผลิตทยี่ งั่ ยนื

 ลดขยะและเศษอาหาร
 ลดการปล่อยของเสยี สู่อากาศ น้ำ� และดิน
 ประชาชนมขี ้อมูลท่ีเกยี่ วขอ้ งและตระหนักถึงการพฒั นาที่ย่ังยนื
 มีชวี ติ ที่สอดคลอ้ งกับธรรมชาติ
 พัฒนาเครือ่ งมอื เพอ่ื ติดตามและประเมินผลกระทบ
ของการพฒั นาที่ยั่งยนื สำ� หรบั การท่องเทีย่ วท่สี ร้างงาน
และสง่ เสรมิ วฒั นธรรมและผลิตภัณฑท์ อ้ งถน่ิ

การรับมือการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ

 เสรมิ ภูมติ า้ นทานและขีดความสามารถในการปรบั ตวั ตอ่
อันตรายและภัยธรรมชาติทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการเปลย่ี นแปลง
สภาพภูมอิ ากาศ
 พฒั นาการศึกษาและสร้างความตระหนักรู้
และขีดความสามารถของมนษุ ยแ์ ละของสถาบนั ในเรอื่ ง
การลดปัญหาการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ การปรับตวั
การลดผลกระทบ และการเตือนภยั ลว่ งหนา้

ค่มู ือการใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เปา้ หมายในการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ 31

สก�ำอนงบกั รงาิหนารนกโยอบงาทยนุ แสลิง่ ะแแวผดนลท้อรมัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม

การใชป้ ระโยชน์จากมหาสมทุ รและทรพั ยากรทางทะเล

 ป้องกนั และลดมลพิษในทะเลทกุ ประเภท
โดยเฉพาะกิจกรรมบนแผ่นดนิ รวมถึงเศษซากขยะในทะเล
และมลพษิ จากธาตอุ าหาร
 บรหิ ารจัดการและปกป้องระบบนเิ วศทางทะเลและชายฝัง่
เสรมิ สรา้ งภูมติ ้านทานและปฏบิ ตั กิ ารฟน้ื ฟู
 ยุตกิ ารทำ� ประมงท่ผี ิดกฎหมาย
(Illegal Unreported and Unregulated Fishing : IUU)

การใช้ประโยชนจ์ ากระบบนิเวศทางบก

 อนรุ ักษ์ ฟ้ืนฟู การใช้ระบบนิเวศบนบกและในน�ำ้ จืด
ในแผ่นดนิ รวมทัง้ บริการทางระบบนิเวศอยา่ งยั่งยนื
โดยเฉพาะอย่างย่ิง ป่าไม้ พืน้ ทีช่ มุ่ น�ำ้ และเขตแหง้ แลง้
 สง่ เสริมการบริหารจัดการป่าไมท้ กุ ประเภทอย่างยั่งยนื
หยุดยง้ั การตัดไมท้ ำ� ลายป่า ฟื้นฟูป่าท่เี สื่อมโทรม
และเพิม่ การปลกู ป่า
 สร้างหลักประกันวา่ จะมกี ารอนรุ กั ษ์ระบบนิเวศภเู ขา
และความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนเิ วศเหล่าน้ัน
 ลดการเสอื่ มโทรมของถิน่ ท่อี ย่อู าศัยตามธรรมชาติ และหยดุ ยงั้
การสญู เสยี ความหลากหลายทางชีวภาพ
 ปฏิบตั กิ ารอย่างเรง่ ด่วนเพ่อื ยตุ ิการลา่ และการขนยา้ ย
ชนิดพนั ธ์พุ ืชและสัตวค์ ุ้มครอง
 บูรณาการมูลคา่ ของระบบนเิ วศและความหลากหลาย
ทางชีวภาพเขา้ ไปสู่การวางแผน กระบวนการพัฒนา
ยทุ ธศาสตรก์ ารลดความยากจนในบัญชีระดับท้องถิ่น
และระดับประเทศ
 สนับสนุนความพยายามทจ่ี ะตอ่ สู้กบั การล่า
การเคล่อื นยา้ ยชนดิ พนั ธค์ุ ุ้มครอง
รวมถงึ เพ่มิ ขีดความสามารถของชมุ ชนท้องถ่ิน
ดดั แปลงจาก : เปา้ หมายการพัฒนาอย่างย่งั ยืน (Sustainable Development Goals : SDGs)

ภาพที่ 8 เปา้ หมายการพัฒนาอย่างยงั่ ยนื ที่เก่ยี วขอ้ งกับ
กรอบการจดั สรรเงนิ กองทนุ สิง่ แวดล้อมดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ
32 คมู่ ือการใหค้ ำ� แนะนำ� กลมุ่ เป้าหมายในการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ

ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรริหรามรชกาอตงแิทลนุ ะสส่งิิ่งแแววดดลลอ้้อมม

นโยบายและแผนการส่งพเส.ศร.ิม2แล5ะ6ร0กั ษ-า2ค5ุณ7ภ9าพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติจดั การฐานทรพั ยากรธรรมชาติ อยา่ งมน่ั คง เพอื่ ความสมดลุ เปน็ ธรรม และยงั่ ยนื

น๔โยบา1ย ๑ 2 .. อ•ท•••จ• นัดา กจกกกงกรุ ัดาาาาชกัารรรรใีวษรหจจรจทภ์ักัััดดด้มฟราษกกกีอน้ืัพพาาาาาฟรรรเยหอสทคทูาายถแวกรรร่าียลาััพพรงนระมธยยสภใ้�ำหราาชมารลกกแป้พดมารรลรุทลกชปธะะรหาา่าโพยณงยตไลลอ่ังมชิเาี ังยพา้ นยงหืนื่อทจ์าานคาาแรกงวอลชฐนายะีวาม�้ำ่าเภนงมปแเาทั่นพ็ลนพรคียะธพั งพงรย•••ทพร ลาาอมังกกกกงงาราาแอารธรรนลาจจจรหะรัดััดดเามขกกกรช้าาาาถรารรนทตททึง้�ำอิรรรแยัพแััพพล่าลยยยะงะาาาคเกพปกกวรรร็นลาดนทังธมิน้�ำางรหแงแารลทนลมลาะะะกเนทลห�้ำ่ีดแลบินลาาะยดชาาลยฝั่ง

สรา้ งการเติบโตท่เี ปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อความมงั่ คงั่ และยง่ั ยนื

2 ๑2 ๓ ... •สย•แส• กบรร กกกแธ้า้ารบรลาาางงะรครรระภรดมจจปาภะูมับชััดดรรบัยิคกบ์าับกกบธมุ้ตาาาอตรเกริรรนศรัวแพันวสมเรตลพัสิ่งตัฒชษ�ำ่ะแด่ืออ่าฐนศวุแสตกสดิลาลริาังกคลป้ะารคา้อุณงกขเรมปคมรยภลทวลรเะมดาาม่ยี่ีเพกมกือคนื้อ๊างพุณสแซกิ่งรแปภเูลแ้อรหาลวแมือพลงดลใน่งสนนละทกภ�้ำกเ้อร่อปาาคมะงพร็นจุณเตรทภมกาับภีู่มยิตแมมาวิอรลลพือกาะพักตอกับสษ้ืน่อาา่งสกณทกศเ่ิงสาาี่อแะรแศรุตพวิมเลสปดแื้กนะาลลลาสทหะี่ยร้อง่่ีกคเนมเตสรวแิบรราปมมิโมลตกเแงสาทสล่ียร่ีปภะงพลสจาฒั พ่่ิองาแกยนภวสคาูมดาาิอลรราเ้อ์บคกมอมานศี ต �่ำ

ยกระดบั มาตรการในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม

3 42 3 1 .... ส••ว••ทพพ• ิจ่ง ปสสสรฒััฒยปเััพย่่งงรรสุตนรนเเแ้ับายบัสสริธาางลปาิมรรรปรแระกริิมมระแระลพมุรงบกแงุลบะแธแดัฒลบาะปบลรลร้าะเฐนรระพขนวะผาับมาเิจพ้อส่ิมนลพเชัปยฒัม่ิงทักปขิ่มแาแรูลดอค้นรปตวลุงทันะมโาดกริแะนสกรกลูะลฎพลัฎโิพทาแส้อหะลัฒรหลธยิทมสยมในิภมะาชธ่ิงีแาตกาาาิภ้เแยลคยเวัพราวทะใรชธพแกดหคนื่อรว้ี ลากลม้โวงรดัรนอะ้อคีมมัตใกงโวมือชชกลทราท้าเรยมะุนคตราีบเรแงมหิแแว่ือเลทมลศลนงะาี่ะเระมกปนะษสกือาส็นวิ่งฎฐรทมัตแมศรยแากวิตาะุตงลรดสเรเิธะบรลตศกรทมีย้อรับรรทนับ์เษมมสพสี่เใฐอป่ิงดนื่อมแศย้า็นสกยั วา่นาม่ิงาสดแงสแริตบลตลกว่ิงระูรร้อดแ�ำกพณ์ใกลวมับนฒัับ้ดอาสกมดลกน่ิงาูแแ้อาารวรกลมจดรภัดะลากบ้อคาวมกรนากราเงริน
๔ สรา้ งความเปน็ หนุ้ สว่ นในการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม
213 ... เพ••เ••สพ ฒั รพสสเม่ิสมิรรนฒัขรา้า้สมาิดีงนงรอสคจคาา้ รงวติวรงา้คาะสาคงมค์บมคำ�วเวนวปบสาาากึนม็างมมบแมหเเขรลขปานุ้ แู้ม้ม้ะรรสลแแถสะว่ ะขขงก่นมกเง็ง็ากาสแจิแรณารลกพลรมิะขรพะฒักสอรกฒั านงมนารภนบัเารศพาสาคมกึแคนอ่ืวสีษลรนุสาว่ ะฐัากรมนตใา้าหรรอ่ รงว่วค่้ยมสมมรอสี•งั มอ ใดว่คหบนอืคมสก้รดควทนว่าบัาล้ เ่ีมบัมนมปุทใรสสในน็กุว่นนงิ่กภมมหนุแามาติ รวลกคอืรบดาาใสกรยรนลวบ่ัหิเมอร้รนสาะติยีมรอง่ิดินรจแยบัะรดั วา่ภแ้หูกงดบมูาวบลรภิบา่ รูอ้ทงาอณมรปคงพัแาครยกละร์ าเะาวทกนรมรศเาธชเนรชงิ ารนงิ ปมรเิ รชวกุ ะศาเตทิ ศ

ดดั แปลงจาก : นโยบายและแผนการส่งเสรมิ และรักษาคณุ ภาพสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579

ภาพท่ี 9 นโยบายและแผนกพา.ศร.ส2่งเ5สร6มิ 0แล–ะ2ร5ักษ7า9คณุ ภาพส่ิงแวดลอ้ มแหง่ ชาติ

คู่มือการให้คำ� แนะนำ� กลุม่ เป้าหมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ 33

กสำ�อนงบักรงาิหนารนกโยอบงาทยนุ แสลง่ิ ะแแวผดนลทอ้ รมัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

แผนแมบ่ ทแหง่ ชาตวิ า่ ดว้ ยการพฒั นา

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๒

ทขส่งอ่มี เงศีสตักรลยมิ าภผดาลทพิต้งั ตผใานลมขแคอลวงะาสตมมา่ ตงุนป้อไพรงกะรเาทรศ พแใหลัฒ้มะนคีกาาณุ อรภตุตาลสพาาดหระสกดมรบัรนุ มสไพากรล

1. การจัดการหว่ งโซอ่ ุปทาน มาตรการ
1) ส่งเสริมการปลูกและแปรรูป
สมุนไพรอยา่ งมีคุณภาพ 1. การพฒั นาอุตสาหกรรมสมุนไพรไทย
2) จัดท�ำฐานข้อมูลพ้ืนที่ปลูกพืช 1) เพม่ิ ผลติ ภาพของสถานประกอบการผลติ
สมนุ ไพรเพ่ือการบริหารจดั การ 2) ยกระดบั คณุ ภาพและเพมิ่ ความหลากหลาย
3) จัดท�ำแผนท่ีความเหมาะสม ของผลติ ภัณฑ์
ของที่ดินส�ำหรบั ปลกู พืชสมนุ ไพร 3) ยกระดับความรบู้ คุ ลากร
2. การวิจัยและการจัดท�ำข้อก�ำหนด 4) พัฒนาอตุ สาหกรรมสารสกดั สมุนไพร
มาตรฐานวัตถุดบิ สมุนไพร 2. การวจิ ัยและพัฒนาสมุนไพรไทย
1) วจิ ยั และพฒั นาพนั ธพ์ุ ชื สมนุ ไพร
เพื่อเปน็ วัตถุดิบ 1) ยกระดับศูนย์วิจัยและห้องปฏิบัติการ
3. การอนรุ กั ษแ์ ละการใชพ้ ชื สมนุ ไพร ส�ำหรับการวจิ ัยใหไ้ ด้มาตรฐานสากล
จากป่าอย่างย่ังยนื 2) ปรับปรุงการข้ึนทะเบียนผลิตภัณฑ์
1) จัดท�ำฐานข้อมูลพืชสมุนไพร สมนุ ไพรเพื่อสนับสนุนให้ประเทศสามารถ
และภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์ของ แข่งขันกับนานาชาติ
ประเทศไทย 3) ส่งเสริมการจดสิทธิบัตรและอนุสิทธิ
2) สร้างเครือข่ายอนุรักษ์พันธุ์พืช บัตรงานวิจยั สมนุ ไพรท้ังในและตา่ งประเทศ
สมนุ ไพร 3. การพัฒนาการตลาดสมุนไพรไทย
3) สร้างกลไกเพ่ือขับเคล่ือนใน 1) เพมิ่ ชอ่ งทางการสอ่ื สารและประชาสมั พนั ธ์
การใช้ประโยชน์และการปลูกทดแทน ผลติ ภัณฑ์สมุนไพร
พืชสมุนไพร โดยส่งเสริมเครือข่าย 2) เพ่ิมช่องทางการตลาดและกระจาย
ชมุ ชน สินค้าเชิงรุกทัง้ ในและตา่ งประเทศ
3) สร้างความน่าเช่ือถือให้กับผลิตภัณฑ์
สมนุ ไพร
4) ยกระดบั ผปู้ ระกอบการเพอื่ การสง่ ออก

ดัดแปลงจาก : แผนแมบ่ ทแหง่ ชาตวิ ่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบบั ที่ 1 พ.ศ. 2560 - 2564

ภาพท่ี ๑0 แผนแมบ่ ทแหง่ ชาตวิ า่ ดว้ ยการพฒั นาสมนุ ไพรไทย ฉบบั ท่ี 1 พ.ศ. 2560 - 2564

34 คมู่ ือการใหค้ �ำแนะน�ำกลมุ่ เป้าหมายในการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ

สำ� นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรริหรามรชกาอตงแิทลุนะสสิง่ิ่งแแววดดลล้ออ้ มม

สมนุ ไพรไทย ฉบบั ที่ ๑ พ.ศ. 2560 - 2564

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๔

สแสล่มงเะุนสกไรพาิมรรกสเาพรรา้อ่ื ใงชกเส้ารรริมกั สษุขาภโารพค แสกาลรร้าะขงนบัคโเวยคาบลมาอ่ื เยนขขส้มอมแงนุขภไง็ พาขครอไรทงัฐกยเาอพรย่ือบา่ งรยหิ งั่ ายรนื
1. การพฒั นาโครงสรา้ งการบรหิ ารสมนุ ไพร
และแผนงาน 1) แต่งตั้งผู้รับผิดชอบด้านสมุนไพรประจ�ำ
หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งทงั้ ภาครฐั และเอกชน
1. การพัฒนาโครงสร้าง ส่งเสริมการจัดบริการ 2. การพัฒนากฎหมายด้านการส่งเสริมและ
และ1ก)า รสใ่ือชสส้ ามรนุ ผไลพงราในนวสิจถัยาเนพบื่อรสกิ รา้ารงสคาวธาามรเณช่ือสมุข่ัน ควบคมุ ผลติ ภณั ฑส์ มนุ ไพร
ข2อ. งกกาารรใวชิจ้ยัยาแเผสนรไิมทสยรต้าอ่ งสอหงวคชิ ์คาวชาีพมรู้ มาตรฐาน 3. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสมุนไพร และ
ค ณุ 1ภ)า พวิจแัยลคะุณควปารมะเโสยย่ีชงน์ของสมุนไพรในอาหาร ระบบการประเมนิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั
ปหอ้รืองกใชัน้ใโนรคการปรุงอาหารเพื่อส่งเสริมสุขภาพและ ดา้ นสมนุ ไพร
แ 3ผ. นพ1ไฒั)ท ยนบารครวจาุคมวเาขมม้ รแู้ดข้งา็ ทนากงาวรชิ แาพกทารยข์แอผงนกไาทรแยพแทลยะ์ 1) การเชอื่ มโยงขอ้ มลู สมนุ ไพรเพอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ มลู
สมนุ ไพรเป็นความรู้พื้นฐานในการศึกษาทุกระดับ สมนุ ไพรทคี่ รบถว้ นและถกู ตอ้ ง
ตั้งแตร่ ะดบั ประถมศึกษาจนถึงระดับอุดมศึกษา 4. การเสรมิ สรา้ งกลไกการบรหิ ารงานวจิ ยั และ
บ4ญั. กชายี ราจหัดลกักาแรหแง่ลชะากตาิรเข้าถึงยาจากสมุนไพรใน พฒั นาสมนุ ไพร
1) สนับสนุนการมียาสมุนไพรในบัญชียาหลัก 1) ก�ำหนดแผนการลงทุนด้านการวิจัยและ
แห่งชาติในโรงพยาบาลทกุ ระดับ พฒั นาสมนุ ไพร
5ปอ้. งก1กา)นั รโสใรช่งคส้เใสมนรนุชิมไมุ พชอรนนใแนุรลักกะาษบร์ภสทูมง่บิเปาสัญทรหมิญมสาขอุ พพภ้ืนานื้ บพบ้าแา้ นนละแกลาะร 2) พัฒนาระบบการเช่ือมโยงนักวิจัยกับผู้ใช้
สมุนไพรท้องถิ่น และบทบาทหมอพ้ืนบ้าน โดย การวจิ ยั
ส�ำรวจ รวบรวมองค์ความรู้ และส่งเสริมการใช้ 5. การส่งเสริมและพัฒนาสมุนไพร Product
ส มนุ 2ไ)พ รสในนบัชสมุ นชนุนเพพฒัอื่ สนง่าเเสครรมิอื สขขุา่ ยภชามพรแมลหะมปออ้ พงกนื้ นับโา้ รนค/ Champion
อสม./แพทยแ์ ผนไทยในชมุ ชนให้เข้มแขง็ 1) ก�ำหนดสมุนไพร Product Champion
6คว. ากมาเรชสอ่ื อ่ื มสน่ั ารเพอื่ สรา้ งความรทู้ ถี่ กู ตอ้ ง ความเขา้ ใจ และทบทวนการกำ� หนดทกุ 3 ปี

1) สร้างภาพลักษณ์ “แพทย์แผนไทย” และ 2) วเิ คราะหแ์ ละเสนอมาตรการสนบั สนนุ สมนุ ไพร
“การรกั ษาดว้ ยสมนุ ไพรไทย” ในระดับภูมภิ าค Product Champion ตลอดหว่ งโซก่ ารผลติ
2 จัดรณรงค์ระดับชาติเพื่อสื่อสารความรู้ 6. การพฒั นาเมอื งสมนุ ไพร
และวธิ กี ารใชส้ มนุ ไพรทถ่ี กู ตอ้ งเพอ่ื การใชส้ มนุ ไพร 1) พัฒนาจังหวัดที่มีความพร้อมให้เป็นเมือง
เป็นยาสามัญประจำ� บ้านให้กบั ประชาชน สมนุ ไพรตน้ แบบใน 4 ภมู ภิ าคของประเทศ
2) ส่งเสริมโอกาสในการพัฒนาของจังหวัด/
กลมุ่ จงั หวดั ทมี่ ศี กั ยภาพใหเ้ ปน็ เมอื งสมนุ ไพร

คู่มอื การให้ค�ำแนะนำ� กล่มุ เปา้ หมายในการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ 35

กสำ�อนงบกั รงาิหนารนกโยอบงาทยนุ แสล่งิ ะแแวผดนลทอ้ รมัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม

แผนแมบ่ ทรองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ

พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๙๓

สงวน รักษา และฟื้นฟทู รพั ยากรธรรมชาติ การกำ� กบั ดแู ลและควบคมุ ใหม้ กี ารใชป้ ระโยชน์
และระบบนิเวศให้คงความสมบรู ณ์ จากทรพั ยากรธรรมชาติอย่างยงั่ ยืน

การจัดการความเสีย่ งจาก การจัดการ การลดความเสีย่ ง
ภยั ธรรมชาติ ทรพั ยากรธรรมชาติ และความเสียหาย
จากภยั ธรรมชาติ
การสรา้ งความพรอ้ ม และสง่ิ แวดลอ้ ม
ในการรบั มอื
การเกษตร การต้งั ถิน่ ฐานและ การสรา้ ง
และปรบั ตวั ตอ่ และความม่ันคง ความม่นั คงของมนษุ ย์ ขดี ความสามารถ
การเปลย่ี นแปลง ในการปรบั ตวั
สภาพภมู อิ ากาศ ด้านอาหาร ของชมุ ชน
การรกั ษาความมน่ั คง การสง่ เสรมิ
การปรบั ตวั การเขา้ ถงึ บรกิ าร
ทางอาหาร จากตก่อาผรเลปกลรย่ี ะนทแบปลง ทางสาธารณสขุ
สภาพภมู อิ ากาศ ทมี่ คี ณุ ภาพ
การจดั การนำ�้ การจดั การน้�ำ สาธารณสุข
อยา่ งบรู ณาการ อยา่ งบูรณาการ
การสรา้ งความพรอ้ ม
การท่องเทีย่ ว การเฝา้ ระวงั และปอ้ งกนั โรค
ในการรบั มอื และผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ
และลดความเสยี่ ง จากการเปลยี่ นแปลง
สภาพภมู อิ ากาศ
จากอทุ กภยั
และภยั แลง้

การจัดการความเสย่ี งจาก
อทุ กภัยและภัยแล้ง

การลดความเสย่ี ง การพฒั นาและส่งเสรมิ การทอ่ งเที่ยวเชงิ นเิ วศ
ตอ่ ปัจจยั ทางภูมอิ ากาศ และการทอ่ งเทีย่ วท่ีย่ังยืน

Road map

ระยะส้ัน (๒๕๕๙) ระยะกลาง (๒๕๖๓) ระยะยาว (๒๕๙๓) และต่อเนอ่ื ง

 สัดส่วนพื้นท่ีอนุรักษ์เพ่ือ  สัดส่วนพื้นท่ีอนุรักษ์เพื่อพิทักษ์  สดั สว่ นของเกษตรกรในพนื้ ทเี่ สย่ี งภยั ทไี่ ดร้ บั การอบรม

พิทักษ์ความหลากหลาย ความหลากหลายทางชีวภาพ ปอ้ งกนั บรรเทา และหลีกเล่ียงภัยธรรมชาติ รวมถงึ
ทางชีวภาพ ต่อพื้นที่ เพมิ่ ขน้ึ เทา่ กบั พน้ื ทอ่ี นรุ กั ษส์ งู สดุ การฝกึ อบรมอาชพี เสรมิ เพมิ่ ขนึ้
ประเทศเพม่ิ ขนึ้ โดยรกั ษา ทคี่ วรเปน็ (Maximum conser  สดั สว่ นพน้ื ทที่ ไี่ ดร้ บั การจดั ทำ� ระบบอนรุ กั ษแ์ ละฟน้ื ฟู
พน้ื ทอ่ี นรุ กั ษไ์ วไ้ มน่ อ้ ยกวา่ vation area) ดนิ และนำ้� ตอ่ พนื้ ทป่ี ระสบภยั ธรรมชาตซิ ำ้� ซากเพม่ิ ขนึ้
รอ้ ยละ ๑๙ และเพม่ิ พน้ื ที่  พน้ื ทปี่ า่ ไมเ้ พมิ่ ขน้ึ เปน็ รอ้ ยละ ๔๐  สดั สว่ นพนื้ ทเี่ สยี่ งภยั ทไี่ ดร้ บั การจดั ตง้ั เครอื ขา่ ย
ปา่ ชายเลนไมน่ อ้ ยกวา่ ปลี ะ ของพนื้ ทปี่ ระเทศ  สดั สว่ นของการทอ่ งเทย่ี วเชงิ นเิ วศเพมิ่ ขน้ึ
๕,๐๐๐ ไร่  จำ� นวนชนดิ พนั ธต์ุ า่ ง ๆ ทถ่ี กู คกุ คามจนใกลส้ ญู พนั ธ์ุ
ลดลง

ดดั แปลงจาก : แผนแม่บทรองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๙๓

ภาพท่ี 11 แผนแมบ่ ทรองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๙๓

36 คู่มอื การใหค้ ำ� แนะน�ำกลมุ่ เป้าหมายในการพฒั นาข้อเสนอโครงการ

ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงิแทลนุ ะสสิง่่ิงแแววดดลลอ้อ้ มม

แผนแม่บทบรู ณาการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ

พ.ศ. 2558 - 2564

1 เสรรอ่ื ้างงคคววาามมหตลราะกหหนลักาแยลทะาใหง้คชวีวภามารพู้ 1 ปกป้อง คุม้ ครอง อนุรกั ษ์ และฟ้ืนฟู
 ส่งเสริมการศึกษาและสรา้ งความตระหนักถึงคณุ คา่
ความหลากหลายฯ ความหลากหลายทางชีวภาพ
 เสส่งรเสมิ รสิมรใา้ หงคม้ วเี นาม้อื หตราะคหวานมักหขลอางกชหมุ ลชานยททอ้ างงถชนิ่ ีวภาพในหลกั สูตร
2 ทเพา่ิมงชปวีรภะาสพิทธิภาพการบริหารจัดการความหลากหลาย  เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การพนื้ ทีค่ มุ้ ครอง/
 สอดแทรกการตระหนักถงึ คุณคา่ ความหลากหลายฯ พ้ืนที่อนรุ ักษ์ตามกฎหมาย
ในแผนระดับชาต/ิ ท้องถิ่น
๓ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ๒ อนุรักษ์ ฟื้นฟู และปกป้องคุ้มครองความหลากหลาย
และใชป้ ระโยชน์
 เสริมสร้างสมรรถนะและความรว่ มมอื ระหว่างหนว่ ยงาน ทางชวี ภาพ ในระดับทอ้ งถน่ิ
และภาคส่วนทเ่ี กย่ี วขอ้ ง โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ชุมชนทอ้ งถ่ิน
 สนบั สนุนจัดตงั้ องคก์ รเครอื ข่ายระดบั ท้องถนิ่  สนับสนุนภาคสว่ นท่เี ก่ียวขอ้ งทำ� แผนจัดการพื้นที่ชมุ่ น�้ำ

การบจรู ัดณกทาารากงคาชวรีวาคภมุณหาคพล่าาแกลหะลาย ๓ ส่งเสริมการผสานการจดั การระบบนเิ วศต่าง ๆ เขา้ ด้วยกัน

ลดภยั คกุ คาม

 ควบคมุ และป้องกันทรพั ยากรทางทะเล/ชายฝ่ังและพน้ื ที่
เปราะบาง

ความหอลนาุรกักหษล์แาลยะทฟาืน้ งฟชีวู ภาพ

ปกแปลอ้แะนงแวสบททิง่ าธปงปินั เศรผะรลโษยปฐชรกนะจิโข์ ยสอชเี งขนปียต์ รวาะมเทศ พระฒั บมนบาาฐตอารนงฐคขาอ้์คนวมสาลูามกใหรลเู้แ้ ปลน็ ะ

1 ปกป้องคุม้ ครอง แบง่ ปันผลประโยชน์ 1 สง่ เสรมิ และพัฒนาองคค์ วามรู้

ให้ประเทศไทยไดร้ ับประโยชน์สูงสุด  เสรมิ สร้างสมรรถนะสถาบนั การศกึ ษา
 รกั ษาภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ และถ่ายทอดอย่างต่อเนอ่ื ง
 เร่งรัดการจดั ทำ� /ปรบั ปรงุ กฎ ระเบียบทเ่ี กยี่ วข้อง  สนับสนนุ ใหใ้ ชอ้ งค์ความร้แู ละมลู คา่ ทางเศรษฐศาสตร์
ในการกำ� หนดนโยบาย มาตรการ และแผนพฒั นา
๒ สง่ เสริมการใชป้ ระโยชน์อย่างย่ังยนื ในทุกระดับ

 สนับสนนุ ให้มีศูนยร์ วบรวมองคค์ วามรใู้ นสว่ นกลาง ๒ พัฒนา/ปรับปรงุ ระบบฐานขอ้ มลู
และท้องถนิ่
 จัดทำ� คลงั ข้อมูลและรายการทรพั ยากรที่สามารถอา้ งอิง
๓ สง่ เสรมิ การวจิ ัยเพ่อื เพ่มิ มูลคา่ เศรษฐกิจชวี ภาพ และแสดงแหล่งที่มาได้
 ปรับปรงุ /พฒั นาระบบและกลไกความเช่ือมโยง
 ส่งเสริมการวจิ ัยภูมปิ ญั ญาท้องถ่ินผสมความรู้สมยั ใหม่ ในการแลกเปลีย่ นขอ้ มลู

ดดั แปลงจาก : แผนแม่บทบูรณาการจดั การความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2558 - 2564

ภาพท่ี 12 แผนแมบ่ ทบรู ณาการจดั การความหลากหลายทางชวี ภาพ พ.ศ. 2558 - 2564
คู่มอื การใหค้ ำ� แนะนำ� กลุ่มเป้าหมายในการพฒั นาข้อเสนอโครงการ 37

สกำ�อนงบกั รงาหิ นารนกโยอบงาทยุนแสลิง่ ะแแวผดนลทอ้ รมพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

ยทุ ธศาสตรก์ ารจดั การดา้ นอาหารของประเทศไทย ฉบบั ท่ี 2

(พ.ศ. 2561 – 2580)

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ กกกลลล ยยยทททุุุ ธธธททท์์์ ีี่่ี่ 123 เรง่ รดั ปฏริ ปู การถอื ครองทดี่ นิ และการคมุ้ ครองพน้ื ทก่ี ารเกษตร
กกกกลลลล ยยยยททททุุุุ ธธธธทททท์์์์ ่ี่ีี่ี่ 4675 จดั การทรพั ยากรนำ้� และดนิ เพอื่ การเกษตรและปา่ ชมุ ชน
ดา้ นความมนั่ คง พฒั นานโยบายการสง่ เสรมิ การผลติ สนิ คา้ เกษตร เพอื่ ความมนั่ คง
ทางอาหาร ดา้ นอาหารและโภชนาการ และเกอื้ หนนุ ความมน่ั คงดา้ นพลงั งาน
พฒั นาประสทิ ธภิ าพการผลติ อาหาร
ก ล ยทุ ธท์ ี่ 8 สรา้ งแรงจงู ใจในการทำ� การเกษตรและเพม่ิ จำ� นวนเกษตรกรรนุ่ ใหม่
สง่ เสรมิ การเขา้ ถงึ อาหารในระดบั ทอ้ งถนิ่ ชมุ ชน และครวั เรอื น
ปรบั ปรงุ และพฒั นาระบบโลจสิ ตกิ สด์ า้ นเกษตรและอาหาร เพอื่ รองรบั
สถานการณค์ วามมนั่ คงดา้ นอาหาร ทงั้ ในภาวะปกตแิ ละภาวะวกิ ฤต
สรา้ งความมอื ระหวา่ งภาครฐั เอกชน ชมุ ชน และภาคประชาชน ในการรกั ษา
ความมน่ั คงดา้ นอาหาร
กลยทุ ธท์ ี่ 9 วจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมหว่ งโซอ่ าหาร

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒ ก ก กก กกลลลลลล ยยยยยยททททททุุุุุุ ธธธธธธทททททท์์์์์์ ่ีี่ี่ีี่ี่่ 1 ไอกสเใเเพแแสสสสนปงลล่าาฒรัรรรเรสรหาะะ้สมมิิมิะนสอ่งูสคารสสดมสญาตูุรง่ณุมิ รรบกัราขเสเกสาา้้คตา้าสอชางงารงรา่รยหีงมุคครมิคผทฐปแกชคววกาลวารลาานรา้นาางติะมมะรแแรโมคสเมเภเเลบลทขขพเวนิทขะชะงัมมศ้้าม่ิคกมข้ค่ีนอมแแมา้าบับแัาตุขขปเลูรกขกเใสงง็็ลตคคชาใภง็ษาอลนลา้่รภหาตดใาอเ่ืกคาหกพรดภนาคกขรก้มิ่ผรยัดกรานั้บัขคลดว้มราตผน้ึวติาย้ผรน้ลบนภเลผทใผคอณัติลหคลมาุใติม้ฑโตนหิคนใคีม์ดรานณุ โณุะารว้ลรภตใยดภยะหราคบั ดแาีเ้ฐพณุปอพลบัาแตนุ็ะสภนชลสนมงูามุ ะทาาพวปชคหตงต้ััรนลวทกรกะาอแฐมร่ีรดมดาลรราบัปนมภมะจพลเททายั ดรอกกุอ้ยีเีดกมรงวภาะถยี รดยันิ่มผบัขลอเตพิ งอื่ ปอ้ งกนั
2
ดา้ นคณุ ภาพและ 3
ความปลอดภยั 4
ดา้ นอาหาร 5
6

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ กล ยทุ ธท์ ่ี 1 สง่ เสรมิ พฤตกิ รรมการบรโิ ภคทเ่ี หมาะสมตามบรบิ ทของบคุ คลและชมุ ชน
เพอ่ื โภชนาการและสขุ ภาวะทดี่ ี
ดา้ นอาหารศกึ ษา ก ล ยทุ ธท์ ี่ 2 สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื และบรู ณาการหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งทกุ ภาคสว่ น
ในเรอื่ งอาหารศกึ ษา
ก ล ยทุ ธท์ ่ี 3 สนบั สนนุ ใหม้ กี ารวจิ ยั ทส่ี ามารถนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชด้ า้ นอาหารโภชนาการ
กล ยทุ ธท์ ี่ 4 และสขุ ภาพได้
ใหม้ กี ารจดั การองคค์ วามรใู้ นเรอื่ งอาหารศกึ ษาและเผยแพรค่ วามรทู้ กุ รปู แบบ
อยา่ งตอ่ เนอื่ ง
กลยทุ ธท์ ี่ 5 สง่ เสรมิ ใหผ้ ผู้ ลติ อาหารและชมุ ชนมคี วามรดู้ า้ นอาหารศกึ ษาอยา่ งเหมาะสม

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๔ กลยทุ ธท์ ่ี 1 ปรบั ปรงุ และเสรมิ ความเขม้ แขง็ โครงสรา้ งองคก์ รในหว่ งโซอ่ าหาร
ดา้ นการบรหิ ารจดั การ กลยทุ ธท์ ่ี 2 พฒั นาและปรบั ปรงุ กฎหมายในหว่ งโซอ่ าหาร
กลยทุ ธท์ ่ี 3 การพฒั นาฐานขอ้ มลู และการจดั การ

ดดั แปลงจาก : ยุทธศาสตรก์ ารจดั การดา้ นอาหารของประเทศไทย ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2561 – 2580)

ภาพท่ี ๑3 ยทุ ธศาสตรก์ ารจดั การดา้ นอาหารของประเทศไทย ฉบบั ท่ี 2
(พ.ศ. 2561 – 2580)

38 ค่มู ือการให้ค�ำแนะน�ำกลุ่มเปา้ หมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ



ในกรารายเขลยี ะนเอขยี้อดเสขนอ้ อมโคูลรสงำ� กคาญั ร

กส�ำอนงบักรงาหิ นารนกโยอบงาทยนุ แสล่ิงะแแวผดนลทอ้ รมพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม

6. รายละเอยี ดขอ้ มูลสำ� คัญในการเขยี นข้อเสนอโครงการ
ในการจัดท�ำข้อเสนอโครงการ นอกจากความครบถ้วนของข้อมูล
ตามสาระส�ำคัญที่ก�ำหนดในข้อเสนอโครงการแล้ว ควรให้ความส�ำคัญ
กับประเด็นปัญหาที่พบบ่อย รวมถึงค�ำถาม ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะต่าง ๆ
(Frequently Asked Questions : FAQs) จากการประชุมคณะอนุกรรมการ
กลั่นกรองโครงการด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ท่ีควรระบุข้อมูลให้
ชัดเจน เพื่อลดระยะเวลาในการพิจารณาและการปรับแก้ไขโครงการ เช่น
การขออนุญาตการใช้พ้ืนที่ป่าที่มีกฎหมายเฉพาะก�ำหนดให้อยู่ในความคุ้มครอง
ความชัดเจนของสภาพปัญหา การก�ำหนดแผนงาน/กิจกรรมโครงการ การมี
ส่วนร่วมของประชาชน ความยั่งยืนของโครงการ และการผลิตส่ือ รายละเอียด
ดงั ภาพท่ี ๑4

รายละเอียดข้อมูลส�ำคัญในการเขียนข้อเสนอโครงการ

ด(ปา้ รนะทมรวพัลยจาากกรรธายรงรามนชกาาตริแปลระะสชงิ่ ุมแควณดละอ้อมนกุ ปรีรพม.กศา.ร๒กล๕ั่น๔ก๔รอ–งโค๒ร๕ง๕กา๙ร)

40 คมู่ ือการให้ค�ำแนะนำ� กลุม่ เป้าหมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ

ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงแิทลนุ ะสสง่ิ่งิ แแววดดลลอ้อ้ มม

ค่มู อื การใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เป้าหมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ 41

กสำ�อนงบักรงาหิ นารนกโยอบงาทยุนแสลง่ิ ะแแวผดนลทอ้ รมัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม

42 คมู่ ือการใหค้ �ำแนะนำ� กลมุ่ เปา้ หมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ

สำ� นักงานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงิแทลุนะสสิง่ง่ิ แแววดดลลอ้อ้ มม

ปา่ สวยน้�ำใส

คู่มอื การให้คำ� แนะนำ� กลมุ่ เป้าหมายในการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ 43

กส�ำอนงบกั รงาหิ นารนกโยอบงาทยนุ แสลิ่งะแแวผดนลท้อรมพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม

ภาพท่ี ๑4 ประเดน็ ปญั หาทพี่ บบอ่ ย รวมถงึ คำ� ถาม ขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะตา่ ง ๆ
จากการประชมุ คณะอนกุ รรมการกลน่ั กรองโครงการดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม
44 คมู่ ือการใหค้ �ำแนะนำ� กลุม่ เป้าหมายในการพัฒนาขอ้ เสนอโครงการ

พื้นท่เี ป้าหมาย
ปญั หา

งบประมาณ ระยะเวลา

ประโยชน์ต่อชุมชน ๗

การตรวขจอสงอขบอ้ คเสวนาอมโคครรบงถกว้านร

กส�ำอนงบักรงาหิ นารนกโยอบงาทยนุ แสลง่ิ ะแแวผดนลทอ้ รมพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

7. การตรวจสอบความครบถ้วนของขอ้ เสนอโครงการ

เมื่อผู้จัดท�ำโครงการได้ด�ำเนินการจัดท�ำข้อเสนอโครงการแล้วเสร็จ
สามารถตรวจสอบความครบถ้วนสมบูรณ์ของข้อมลู ตา่ ง ๆ ในรปู แบบ checklist
เพื่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบ โดยรายละเอียดใน checklist น้ัน จะสอดคล้อง
กับสาระส�ำคัญทั้ง 12 ส่วนที่ก�ำหนดไว้ในข้อเสนอโครงการ รายละเอียด
ดังภาพที่ ๑5
๑.ขอ้ พมกืน้ ูลแาทพรลค่ีดนื้ะว�ำพฐาเาื้นนมนฐินเปเางกนน็าี่ยนมวากับ
ที่ผา่ นมา ความสำ� คญั ขอ้ มลู ทรพั ยากรฯ ตาราง สงิ่ ทจี่ ะทำ� ตอ่ ไป
ของพนื้ ท่ี เชน่ ปา่ ไม้ แสดงโครงการ/ ซง่ึ จะสอดคลอ้ งกบั
ขอ้ มลู ประชากร ดนิ นำ�้ กจิ กรรมทเี่ คย กจิ กรรมทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ
และสภาพสงั คม ดำ� เนนิ การในพนื้ ท่ี ภายใตโ้ ครงการ

๒. ทดปตอา้้ญยั่ี นงงั หกคทาางรหรอพั แลยยกกัแู่ าไ้ลกขะรฯ ขถขงอึ้อคมงวปลู าญัแมสหเดราง่งดใหว่ นเ้ หน็ แกขใผนาอลล้ เรมะกชเครลูปงิ ะณุปแลทสรยี่ภบมิดนาางพแณปลง/ หกขชาอมุ้ลรเชกั สมฐนนสี าใอว่นนโนแกครสารว่ รดงมพกงขถาฒั อรงึ นงา

สภาพปญั หา

๓. ไมค่ วรเกนิ ๓ ขอ้ แมเเวกลคี ลดิ ะวาขสาโนึ้าคมมรเปงใานกน็รถารไประยไดะ้ มขแเขลงอุ่ ยี แะงนกโชคใไ้ดัหขรเงงป้จา่กนญั ยาหราหลกั กขสแบลอัอดะงกโเคจิปคลการ้ อ้รหงรงกมมาารย

วตั ถุประสงค์

๔.ยคทุรวะธแาดศมสบัาสดสตองตา่คดงรวค์ าแๆลมผอ้ แสงนลกอสะบดั งิ่ มคนแขีลวโอย้อด้ มบงลลูาอ้ ยม รอพคทอะนนวาน้ื ดงาสสุุทบัชมญญัั ชี่ วีโหมลุ่ญญภลกนาาาาำ้�พกเชหฯน่ ลลาฯย AMกระรSRดอECบับAภคNGมวู Mาภิ Sมารคว่ เมชมน่ อื รสแแแะผลผงิ่ ดแะนนบวัสจพดปงัดัฒัคลรกมอ้ะนาเมฯารทเฯคศศณุ รเษชภนฐ่ากพจิ แดรจะางผ้ั ดหนนบัวสยจดัง่ิทุ แงั.ธ.หว.ศดวาลดัสอ้ ตเมชรน่์ แรขดะาผ้อดนงนบัสบอพงิ่ รบแนหื้ิ ตวทา.ด.ร่ี.ลเงชอ้าน่นม

๕. รทตเแเชปะหำ�จ่ี น่า้บบะลหพุทลง่หมนนื้ำ�มากำ้�ปทบู่ยจิ า่ี่า้หกชนลรมุ กัรชมน พรเปะน้ื า้บทหพุ ข่ีมน้ื ยาทยา่ียรอผงลเชน่ ดแ๑แสผำ�:๕เดนน๐งทนิ พ,ม๐ี่โน้ืคา๐ทตร๐งรี่ กาาสรว่ น ใชรทนะดัำ� บแกเจผจุจิ นดนุกพทรรในี่ื้ มหทห้ ี่ ลกั กอร(ทเะจยินจ่ี บา่กะน้ งกุเรคขแรลนา้ทมมุ่ รทจ้เว่ ปอ่ีรมาง้ิย)หากมทายำ�
ไมเ่ กนิ ๓ ปี
แลพะื้นกทลี่เุ่มปเ้าปห้ามหามยาย

๖.ดำ� รเนะนิยะโคเวรลงาการ

46 คมู่ อื การให้ค�ำแนะนำ� กลุ่มเปา้ หมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ

ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยกาอกงรบธรรหิ รามรชกาอตงิแทลนุ ะสสงิ่ง่ิ แแววดดลลอ้อ้ มม

๗. สอดคลอ้ งกบั พวผมแธิผลตีน้ื กีนผาทารลงเ่ีรปาาติ งาก้นรหล/ะมกมุ่ บาจเิ ปุยกา้ รแหรลมมะาย สวโเปคตัอา้รถดหงปุคกมลราาะอ้รยสงขงกอคบั งแ์ ละ ทกอคไมำนว�มี่ อ่หารุกี ยมกนัฎใู่คษดนหมุ้หใ์เมขหคราตอ้รอืยอยพพเใฉงู่น้ืน้ืนพททาี่่ี ะ ขเกกในนาจิอน้กรกงกมาปรราสีรรเรมว่ะขปนชโา้ ครราระรวว่ช่ สงมมนกาานร
ภารกจิ ขององคก์ ร
แผกนารงดานำ� เ/นกนิ จิ งการนรม ทเี่ สนอขอรบั
การสนบั สนนุ

๘. โงคบรบงรกหิ าารร≤๓๐% งใใมนหบตี ชแ้ปาตดัรรลา่เะจงมะนแกาจจณิ กกแรจรมง ทรงตกบะอา้าเรปงงบครเรปยี าำ� ะบน็ชนมขไกวาปาอณณตรงาม มร(ไจถดะาตี า้ร้บกามบั งแุร)ีกบาหางปลรรง่สอะนมนื่ บัาณสนทนุ ี่
ง≥บ๗ด๐ำ� %เนนิ งาน
วงเงินงบประมาณ

๙. ทมตผตแลาวลตัีก่ี มชะสาำ� เวรหวำ้ี�กาตเัดันรณงถดจ็รวฑปุเะธชิ รปบ์ กีงิะรุาคสะรณุงเวมคภดั นิ์ าพ ขมเตเชปวอตัี งิน็ ชงาปรแรวี้ ราาตดัมิยงล่ผาประลณะีกบสจิ ำ�ุ กเรรจ็รม

ตวั ขชอีว้ งดัโคผรลงสกำ� าเรร็จ

๑๐. รทภโแเขดะลาปี่า้ยบคะรรตคุสวก่ึ ทอ้ณว่มษสงนดาะมจทว้จกี.ยสเาี่รกกรสย่ีมภวก.ขาอ้รง โรผซแตบคะาใก่้งูร่ึ รหบงจหนิ งญคุะานๆกทณรบำ่�าโกำ�ชรา้ะคงำ�มนุกรเานชชรงนนัน่รกนใมากภรกลาาช้ ครดิ สกว่ บัน โภพร(ถคะานา้รบคกมังผุสกง)ี ปู้นาารนาระม/บเสจญั (าา้ถนชหา้ งีมนา)าี้นท/่ี ครบยโคะงว่ัรรบยหาิ งนืแมุากนขตราเออ่วรพเทงนอ่ื าอใื่ งหงเแ้ กลดิ ะ

การบริหารโครงการ

๑๑. ทชระุมป่ี บชรุผะนลชจปาะชรไดะนโ้รแยบั ลชะน์ ทรทะรจี่ บพัะุปยเการิดกะขรโยธ้ึนรชตรนอ่ม์ ชาตฯิ ทโแรคะลั้งรบใะงนไุใกดนรา้ะรรดะดับบัชพมุ ชื้นนท่ี

ผลประจโะยไชดนร้ ท์บั คี่ าดวา่

๑๒. รโคะรยงะกเรา่มิ รตน้ รดะำ� ยเนะนิระโหครวง่ากงาร รสะิ้นยสะุดโครงการ ขกทปเนาอกรุ น้ระงรกตเชะมาดิยมุ นิรตะชมผานสีลมใว่แนนลระว่ ม อคโคาย่ รใใู่ ชงนกจ้งาา่บรยบทรเ่ีหิกาดิ รขนึ้

กปารระตเมดิ ินตผาลม

ภาพท่ี ๑5 Checklist สำ� หรบั ตรวจสอบความครบถว้ นสมบรู ณข์ องโครงการ

คู่มอื การใหค้ �ำแนะนำ� กลุม่ เป้าหมายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการ 47



การมสี ่วนรว่ มในการด�ำเนนิ โครงการ


Click to View FlipBook Version