The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายสันติ คงฟัก, 2020-08-11 06:58:51

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา

แผนการจัดการเรยี นรู้ แบบพบก
สาระการพัฒนาสังคม ระ
จานวน 3

ครงั้ ท่ี หวั เรื่อง ตวั ชีว้ ัด เน้ือหา

4 ภมู ศิ าสตรก์ ายภาพ 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ 1. ลักษณะทางภูมิศาสตร์
ทวีปเอเชีย ลกั ษณะภมู ศิ าสตร์กายภาพ กายภาพของประเทศตา่ งๆ
ของประเทศตา่ งๆ ใน ในทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชีย - ที่ตัง้ อาณาเขตของประเทศ
2. มคี วามรู้ ความเข้าใจ ต่างๆ ในทวีปเอเชยี
การเปลย่ี นแปลงสภาพ - ภูมปิ ระเทศของประเทศต่าง
ภูมศิ าสตร์กายภาพทสี่ ง่ ผล ในทวีปเอเชีย
กระทบต่อวถิ ชี วี ิตความ - ภมู ิอากาศของประเทศตา่ งๆ
เปน็ อยขู่ องประชากรไทย ในทวีปเอเชีย
และประเทศตา่ งๆ ใน 2.1 หลักการเปล่ียนแปลง
ทวปี เอเชีย สภาพภมู ิศาสตร์กายภาพ
2.2 กรณีตวั อยา่ งการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิศาสตร
กายภาพทีส่ ง่ ผลกระทบต่อ
วิถีชวี ิตความเปน็ อยขู่ อง
ประชากรไทยและทวีปเอเชีย

กลมุ่ วชิ าสังคมศึกษา สค21001
ะดับมัธยมศึกษาตอนตน้
หน่วยกติ

กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ การวัดผล/
ประเมินผล
ข้ันท่ี 1 กาหนดสภาพปัญหาการเรยี นรู้ - หนังสอื เรียน - การสังเกต
1.ครูศึกษาเนื้อหาจัดทาปฏทิ ินการเรยี นรู้ - ใบงาน - ใบงาน
รว่ มกบั ผู้เรียนรู้แจ้งกรอบรายละเอียด - Internet

เนือ้ หาปฏทิ นิ การเรยี นรู้ ในแต่ละสัปดาห์ - ใบความรู้

หลกั ฐานการเรยี นรู้พร้อมแจกแบบเรยี น
งๆ 2.ครชู ้ีแจงเน้อื หาวตั ถุประสงคแ์ ละ

มาตรฐานการเรียนรู้ในคร้งั น้ี
ๆ 3.ครกู ล่าวทักทายนักศึกษาและสนทนากบั

นกั ศกึ ษาสอบถามเบื้องต้นวา่ ประเทศไทย
ของเราอยใู่ นทวปี อะไร
ข้นั ท่ี 2 ขัน้ แสวงหาขอ้ มลู และการจัด
การเรียนรู้
ร์ 1.ครกู ล่าวทักทายนกั ศึกษาและสนทนากับ
นกั ศกึ ษาสอบถามเบื้องตน้ วา่ ประเทศไทย
ของเราอยู่ในทวปี อะไร
ย 2.ครนู าภาพของคนท่ีเป็นประชากร
ในทวีปเอเชียให้ผู้เรยี นดู เพ่ือเปรยี บเทยี บ
ถงึ ความเหมือนและความแตกตา่ งทีส่ ามารถ
มองเหน็ ได้อย่างชดั เจนรว่ มกันวิเคราะห์ว่า



เหตุใดคนในแต่ละภาพถงึ มีความแตกต่าง
กนั และทบทวนการเรยี นรูใ้ นครงั้ ท่ผี ่านมา
2.ครูต้งั คาถาม ถามผ้เู รียนว่า ผูเ้ รียนชอบ
คนประเทศใดมากทสี่ ดุ เพราะเหตใุ ด
แล้วทาการสุ่มเรยี กให้ผเู้ รียนทมี่ คี วามชอบ
ทีต่ า่ งกนั นาเสนอความชอบของตนเอง
พรอ้ มยกเหตผุ ลมาอธบิ ายประกอบ
3. ครแู จกใบความรู้ เร่ือง ทีต่ ั้ง อาณาเขต
ภมู ิประเทศและภมู ิอากาศของแต่ละ
ประเทศในทวปี เอเชีย การเปลย่ี นแปลง
สภาพภมู ศิ าสตร์กายภาพส่งผลกระทบต่อ
วถิ ีชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องประชากรไทย และ
ประเทศต่าง ๆ ในทวปี เอเชยี
4. ครใู ห้ผเู้ รียนทาใบงาน เรอื่ ง สาเหตหุ รอื
ปจั จัยหลกั ท่กี ่อให้เกิดลักษณะความเหมือน
และความต่างกนั ของประชากรแต่ละ
ประเทศในทวปี เอเชียแลว้ สง่ ตวั แทน
นาเสนอผลงาน
ขั้นที่ 3 การปฏิบัตแิ ละการนาไปใช้
1.นักศึกษาศึกษาคน้ คว้าจากใบความรู้
หนังสอื เรียน
2.นกั ศกึ ษานาเสนอความรู้ที่ไดร้ ับจาก
ใบความรู้ หนงั สอื เรยี น อินเตอร์เนต็
เรื่อง ที่ต้งั อาณาเขต ภูมปิ ระเทศและ
ภูมอิ ากาศของแตล่ ะประเทศในทวปี เอเชยี



และจัดทาใบงาน เร่อื ง สาเหตหุ รอื ปจั จัย
หลักที่ก่อให้เกดิ ลักษณะความเหมอื นและ
ความต่างกันของประชากรแต่ละประเทศ
ในทวปี เอเชีย โดยผเู้ รยี นส่งตวั แทนนาเสนอ
หนา้ ชนั้ เรียน
6. ครแู ละผเู้ รยี นรว่ มกันสรปุ วา่ ลกั ษณะ
ความแตกตา่ งของบุคคลนน้ั มีผลมาจาก
เชอ้ื ชาติ สภาพภมู ปิ ระเทศและภมู อิ ากาศ
เปน็ ปจั จยั หลัก แล้วใหผ้ ู้เรยี นบนั ทกึ ลง
ในสมดุ ของตนเอง
ขน้ั ท่ี 4 การประเมนิ ผลการเรียนรู้
1.ใบงาน
2.การนาเสนอ
3. ครูมอบหมายงานใหน้ ักศึกษาไปศึกษา
คน้ คว้าข้อมลู จาก Internet เพิ่มเตมิ

ใบความรทู้ ่ี 1
เรื่อง ภูมิศาสตรท์ างกายภาพทวปี เอเชยี

ทวีปเอเชีย

เอเชีย (Asia) มาจากคาว่า อาซู (Asu) ในภาษาอสั ซเี รยี น แปลว่า ดนิ แดนแหง่ ดวงตะวนั ขึ้น (ตะวนั ออก) ใช้
เรยี กดินแดนที่อยู่ทางตะวันออกของอาณาจักรอสั ซีเรียนมาตง้ั แตส่ มยั กรีกและโรมนั เอเชียไดช้ ือ่ ว่าเป็นทวปี แหง่ ความ
แตกตา่ งหรือทวีปแห่งความตรงขา้ ม (a continent of contrast) หรือทวีปแห่งความเป็นทสี่ ดุ (a continent of
extremes) มียอดเขาเอเวอเรสต์ในเทือกเขาหิมาลัยสูงทสี่ ุดในโลก สูง 8,848 เมตร (2,928 ฟตุ ) มีพื้นแผ่นดนิ ที่ตา่
ทีส่ ุดคือ ทะเลเดดซี อยู่ต่ากวา่ ระดับนา้ ทะเล 400 เมตร (1,312 ฟตุ ) และเหวทะเลมาเรยี นาซ่ึงลึกที่สุดในโลก มีอากาศ
หนาวเย็นที่สุด ไดแ้ ก่ตอนเหนือของไซบีเรีย มีอากาศรอ้ นและแหง้ แลง้ ท่สี ุดจนเปน็ ทะเลทรายที่เอเชียตะวันตกเฉยี งใต้
และมีฝนตกชุกทส่ี ุดในแคว้นอัสสมั ของอนิ เดยี นอกจากนี้ยังเป็นทวีปทม่ี ีประชากรมากที่สุดในโลกและส่วนใหญ่อาศัย
อย่ใู นเขตชนบท และมีความหนาแน่นมากกว่าทกุ ทวปี ขณะทเ่ี ขตทะเลทรายในเขตเอเชียแทบไมม่ ผี ูค้ นอาศยั อย่เู ลย
ความเปน็ อยู่ของประชากรก็มีความแตกตา่ งกันมากต้ังแตฐ่ านะดจี นถงึ ยากจนแรน้ แคน้ เอเชียจงึ ได้ชอื่ วา่ เป็นทวีปแหง่
ความแตกตา่ ง
ท่ีตง้ั และอาณาเขตของทวีปเอเชยี

ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ กับมหาสมุทรอารก์ ติก ในทะเลาคารา ทะเลลัฟเตฟ และทะเลไซีบีเรียตะวันออก จดุ เหนือสุด
คือแหลมชิลยสู กนิ ประเทศสหพนั ธรฐั รสั เซยี ทล่ี ะตดิ จูด 77 องศา 45 ลิปดาเหนือ มเี กาะขนาดใหญท่ างตอนเหนือ
ไดแ้ ก่ เกาะเซเวอร์นายาเซมลีอา หมู่เกาะนิวไซบีเรยี และเกาะแรงเจล

ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ กับมหาสมทุ รแปซิฟคิ ในเขตทะเลเบริง ทะเลโอคอต ทะเลญีป่ ุ่น ทะเลเหลอื ง ทะเลจนี
ตะวันออก และทะเลจีนใต้ โดยมีคาบสมุทรเบรอง คาบสมทุ รคามชัตกา และคาบสมุทรเกาหลี เปน็ สว่ นของแผน่ ดิน
ดา้ นน้ีจดุ ตะวนั ออกสดุ อยู่ที่ อีสต์เคป ประเทศรสั เซีย ทีล่ องตจิ ดู 169 องศา 40 ลปิ ดาตะวนั ตก เกาะใหญ่ ได้แก่
เกาะแซคาลิน เกาะฮอนชู เกาะฮอกไกโด และเกาะชโิ กกุ เกาะควิ ชู เกาะไตห้ วัน และเกาะลซู อน ละตจิ ูดท่ี 1 องศา
16 ลปิ ดาเหนอื - 37 องศา 41 ลปิ ดาเหนือ

ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กบั มหาสมุทรอนิ เดยี นา่ นน้าทางตอนใต้ ไดแ้ ก่ อา่ วเบงกอล ทะเลอาหรบั อ่าวเปอรเ์ ซยี และอา่ ว
เอเดน จดุ ใต้สุดของภาคพื้นทวีปอยู่ท่ี แหลมปิไอ ประเทศมาเลเซยี ท่ีละตจิ ูด 1 องศา 15 ลปิ ดา ซงึ่ อย่หู า่ งเส้นศนู ย์
สูตรประมาณ 150 ก.ม. เกาะใหญ่ทางทิศใต้ของทวปี เอเชยี ไดแ้ ก่ เกาะลังกา เกาะบอร์เนียว เกาะสมุ าตรา เกาะชวา
ซ่งึ เปน็ เกาะที่อยู่ใต้สุด บริเวณละตจิ ดู ที่ 8 องศาใต้

ทิศตะวนั ตก ติดต่อกบั ทะเลแดง คลองสุเอช ทะเลเมดิเตอร์เรเนยี น ทะเลดา เทือกเขาคอเคซสั ทะเลแค
สเปยี น และเทือกเขาอูราล จดุ ตะวนั ตกสดุ อยู่ที่ แหลมบาบา ประเทศตรุ กี ทีล่ องติจดู 26 องศา 40 ลปิ ดาตะวนั ออก
เกาะใหญไ่ ด้แก่ เกาะไซปรสั

ขนาด รูปรา่ ง
เอเชยี เปน็ ทวปี ท่ใี หญ่ทีส่ ดุ มีเน้ือทปี่ ระมาณ 1 ใน 3 ของพืน้ แผ่นดนิ ผวิ โลกท้งั หมด มีเนือ้ ท่ปี ระมาณ

44,391,132ตร.ก.ม.(17,139,455 ตร.ไมล์) หรือ 30 %ของโลก มีขนาดใหญ่กวา่ ทวปี ออสเตรเลยี ซง่ึ เป็นทวีปทเี่ ล็ก
ทสี่ ดุ ประมาณ 5เท่า แตม่ ีประชากรมากกวา่ ถงึ 120 เท่า มคี วามกว้างจากตะวันออกไปตะวนั ตกยาว 9,600 ก.ม.
ระยะทางจากเหนือสุดถึงใต้สุดของทวีปประมาณ 6,500 ก.ม.

โครงสรา้ งทางธรณีวทิ ยา
1) เขตหนิ เก่า มี 3 บรเิ วณ คือ

1.ทีร่ าบสงู ภาคเหนือในเขตสหภาพโซเวียต (เดิม)
2.บริเวณที่ราบสูงอาหรบั ในซาอดุ ิอาระเบีย
3.บรเิ วณท่ีราบสงู เดคคานในอนิ เดีย
2.) เขตหนิ ใหม่ เริ่มจากแนวเทือกเขาในประเทศตุรกี ผ่านเอเชียใต้ เอเชียตะวนั ออก และเอเชยี ตะวันออก เฉียงใต้
ซ่ึงประกอบด้วยทรี่ าบสูง เทือกเขา และหมู่เกาะต่างๆ เขตนีพ้ ื้นโลกมีความอ่อนตวั มากจึงมี ภเู ขาไฟ และแผ่นดนิ ไหว
เสมอ
ทวีปเอเชยี แบ่งออกเปน็ 5 ภมู ิภาค ได้แก่

1. เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้
2. เอเชยี ใต้
3. เอเชียตะวันออก
4. เอเชยี ตะวนั ตกเฉยี งใต้
5. เอเชียกลาง

ลกั ษณะภมู ิประเทศของทวีปเอเชยี

ลกั ษณะภูมิประเทศของทวีปเอเชีย
ลกั ษณะภูมิประเทศ แบ่งออกเป็น 6 เขต คือ
1. เขตทรี่ าบต่าทางเหนอื คอื บริเวณตอนบนของทวปี ซ่ึงอยู่ในเขตสหภาพโซเวียต (เดิม) ในเขตไซบเี รียสว่ น

ใหญ่เป็นเขตโครงสรา้ งหินเกา่ ท่เี รียกวา่ แองการาชีลดม์ ีลักษณะภูมปิ ระเทศเป็นท่ีราบขนาดใหญ่ มีแม่น้าอ็อบ แมน่ ้า
เยนิเซ และแม่น้าลนี าไหลผ่าน บริเวณมีอาณาเขตกว้างขวางมากไม่ค่อยมีผู้คนอาศัยอยู่เพราะอากาศหนาวเย็นมาก

2. เขตทีร่ าบลมุ่ แมน่ า้ ได้แก่ ดินแดนแถบลมุ่ แมน่ ้าตา่ งๆซง่ึ มีลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเป็นที่ราบและมักมีดนิ อุดม
สมบูรณเ์ หมาะแก่การเพาะปลกู ได้แก่ - ในเอเชียตะวันออกไดแ้ ก่ทร่ี าบลุ่มแม่น้าฮวงโห ท่ีราบลมุ่ แม่นา้ แยงซีเกยี งใน
ประเทศจีน - ในเอเชยี ใต้ ได้แก่ ท่รี าบลุม่ แมน่ ้าสินธุในประเทศปากีสถาน ทร่ี าบลุม่ แม่น้าคงคาในประเทศอนิ เดยี และ
ท่รี าบลมุ่ แม่น้าพรหมบุตร ในบงั คลาเทศ - เอเชียตะวนั ตกเฉยี งใต้ ได้แก่ทีร่ าบล่มุ แม่น้าไทกรีส ที่ราบลมุ่ แมน่ า้ ยเู ฟรตีส
ในประเทศอิรัก - เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ได้แก่ ทีร่ าบลมุ่ แมน่ า้ โขงตอนล่าง ในประเทศกัมพูชาและเวียดนามทีร่ าบลมุ่
แมน่ า้ แดงในประเทศเวียตนาม ที่ราบลมุ่ แม่น้าเจ้าพระยาในประเทศไทยท่รี าบลมุ่ แมน่ ้าสาละวินตอนลา่ งที่ราบลุ่ม
แม่น้า อิระวดี ในประเทศพม่า

3. เขตเทือกเขาสูง เป็นเขตหินใหม่ ตอนกลางประกอบด้วยท่รี าบสงู และเทือกเขามากมายส่วนใหญเ่ ปน็
เทอื กเขาที่แยกตวั ไปจากจุดรวมเทอื กเขาทีเ่ รยี กว่า “ปามรี น์ อต(Pamir Knot)”หรอื ภาษาพนื้ เมืองเรยี กวา่
“ปามีร์ดุนยา (PamirDunya) แปลว่า หลังคาโลก” จดุ รวมเทอื กเขาปาร์มีนอต อาจแยกไดด้ งั น้ี เทอื กเขาที่แยกไปทาง
ทิศตะวันออก ได้แก่ เทอื กเขาหมิ าลัยเทือกเขาอาระกนั โยมา และเทือกเขาทีม่ ีแนวต่อลงมาทางใต้ มีบางสว่ นทจี่ ม
หายไปในทะเลและบางสว่ นโผลพ่ น้ ขึน้ มาเปน็ เกาะในมหาสมุทร อนิ เดีย และมหาสมุทรแปซฟิ ิคถัดจากเทือกเขา
หิมาลยั ไปทางเหนือ มเี ทือกเขาทแี่ ยกไปทางตะวันออก ไดแ้ ก่เทือกเขาคนุ ลนุ เทือกเขานานชาน และแนวทแี่ ยกไปทาง

ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ได้แก่ เทอื กเขาเทียนชานเทอื กเขาคินแกน เทอื กเขายาโบลนอย เทือกเขาสตาโนวอยและ
เทอื กเขาโกลีมา เทอื กเขาท่แี ยกไปทางทศิ ตะวันตก แยกเป็นแนวเหนอื และแนวใต้ ได้แก่เทอื กเขาฮินดกู ชู เทอื กเขา
เอลบูรซ ส่วนแนวทิศใต้ ได้แก่ เทอื กเขาสุไลมานเทือกเขาซากรอส เม่อื เทือกเขา 2 แนวนม้ี าบรรจบกนั ที่อาร์เมเนยี น
นอตแล้ว ยังแยกออกเปน็ อกี 2 แนว ในเขตประเทศตุรกี คือแนวเปน็ เทือกเขาปอนติกและแนวใตเ้ ปน็ เทือกเขาเตารสั

4. เขตทร่ี าบสงู ตอนกลางทวีป เป็นที่ราบสงู ในเขตหนิ ใหม่ ได้แก่ ท่รี าบสงู ทิเบตซึ่งมขี นาดใหญ่และสงู ท่สี ุดใน
โลกทรี่ าบสูงยูนาน ทางใต้ของจนี และที่ราบสูงที่มลี ักษณะเหมอื นแอ่งคือ ทร่ี าบสูงตากลามากัน (Takla Makan) ซง่ึ
อยู่ระหว่างเทือกเขาเทียนชาน กบั เทือกเขาคนุ ลุนแต่อย่สู งู จากระดับน้าทะเลมาก และมีอากาศแห้งแลง้ เป็นเขต
ทะเลทราย

5. เขตที่ราบสูงทางตอนใต้ และตะวันตกเฉยี งใต้ ไดแ้ กท่ รี่ าบสงู ขนาดใหญ่ทางตอนใต้ ของทวีปเอเชยี มคี วาม
สูงน้อยกว่าที่ราบสูงทางตอนกลางของทวปี ได้แก่ ทีร่ าบสงู เดคคานในอนิ เดีย ทร่ี าบสงู อิหร่านใน อิหร่านและ
อฟั กานิสถาน ทรี่ าบสูงอนาโตเลยี ในตรุ กที รี่ าบสูงอาหรับในซาอดุ ิอาระเบีย

6. เขตหม่เู กาะภเู ขาไฟเป็นเขตหนิ ใหม่ คอื บริเวณหม่เู กาะอันเปน็ ท่ตี งั้ ของภูเขาไฟทงั้ ทีด่ ับแล้วและท่ียังคุกรุน่
อยู่ในเอเชียตะวนั ออกและเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้
ปจั จยั ที่ มีอิทธิพลต่อลกั ษณะภมู ิ อากาศ

1. ทตี่ ้ัง

ทวปี เอเชียเปน็ ดนิ แดนท่ตี งั้ อยู่ในซกี โลกเหนอื คอื จากเขตศูนยส์ ูตรถงึ ขัว้ โลก ทาให้ทวีปเอเชยี มลี กั ษณะภมู ิอากาศ
ทกุ ชนิดตัง้ แตเ่ ขตร้อนถงึ เขตหนาวเยน็ แบบขัว้ โลก
2. ขนาด

เอเชยี เป็นทวปี ทมี่ ีขนาดกวา้ งใหญม่ าก โดยมีเส้นศูนยส์ ตู รเสน้ ทรอปิคออฟแคนเซอร์และเสน้ อารก์ ติกเซอรเ์ คลิ ลากผ่าน
ลักษณะเชน่ น้ีแสดงวา่ ทวีปเอเชยี มีทงั้ อากาศร้อน อบอุ่น หนาว
3. ความใกล้ -ไกลทะเล

ทวีปเอเชยี มีดินแดนบางส่วนท่อี ยู่ติดทะเลทาใหไ้ ดร้ ับความชมุ ชนื้ จากทะเล บางสว่ นท่ีหา่ งไกลทะเลอิทธพิ ล
พื้นนา้ ไม่สามารถเขา้ ถึงภายในทวปี ไดอ้ ย่างทวั่ ถงึ ภายในทวปี จึงมีอากาศรุนแรง คอื อากาศร้อนจัด และฤดูหนาว
หนาวจัด ในขณะท่ชี ายทะเลมีอากาศในตอนกลางวนั และกลางคืน และระหวา่ ง ฤดกู าลแตกตา่ งกนั ไม่มากนัก
4. ความสูงต่าของพ้นื ท่ี

เอเชยี มภี ูมปิ ระเทศสูงตา่ ตา่ งกันอยา่ งมาก ทาใหล้ กั ษณะอากาศต่างกนั ทง้ั ท่ีอยู่ในละตจิ ดู เดยี วกัน เช่น เขตท่ี
ราบเมืองเดลี ต้ังอยูล่ ะติจดู ท่ี 28 องศาเหนอื ไมเ่ คยมหี ิมะเลย แตท่ ่ี ยอดเขาดวั กากีรี ซึ่งสงู 8,172 เมตร (26,810 ฟตุ )
และยอดเขาหิมาลยั ซ่ึงอยู่ในละติจดู เดยี วกันกลับมหี มิ ะและน้าแข็งปกคลุมตลอดปี
5. ลมประจาท่พี ดั ผา่ น

มลี มประจาท่ีพัดผ่านเอเชียหลายชนิด เชน่
5.1 ลมประจาฤดู เชน่ ลมมรสุม ซึง่ มอี ิทธพิ ลตอ่ เอเชยี มาก คือ
- ลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ พัดผา่ นทางตอนเหนือของทวีปซึ่งมีอากาศ หนาวเย็นและแห้งแลง้ ในฤดหู นาว
- ลมมรสมุ ตะวันตกเฉยี งใต้ พัดผา่ นมหาสมุทรอินเดีย ทาใหพ้ ัดพาความชุม่ ช้ืนมาสภู่ าคพื้นทวีปใน ช่วงฤดูฝน
5.2 พายุหมนุ เชน่ ลมไต้ฝนุ่ ที่กอ่ ตัวในมหาสมุทรแปซฟิ ิค พายุไซโคลน ทกี่ ่อตัวในมหาสมทุ รอินเดีย
6. กระแสนา้

รปู ภาพจาก http://www.pingbook.com/board/lofiversion/index.php/t34498-3100.html
มีกระแสนา้ เย็นโอยาชิโว ไหลผา่ นฝั่งตะวนั ตกของญป่ี นุ่ และชายฝ่งั ตะวันออกของประเทศ มกี ระแสน้าอนุ่ กโุ รชิโว
ไหลผ่าน ทาใหช้ ายฝ่ังตะวนั ออกของญ่ีป่นุ มอี ากาศอบอนุ่ กวา่ ฝ่ังตะวันตก

เขตภูมอิ ากาศ

1. ภมู อิ ากาศแบบป่าดบิ ชน้ื เขตภูมอิ ากาศแบบปา่ ดิบชนื้ อยรู่ ะหวา่ งละติจดู ท่ี 10 องศาเหนอื ถึง 10 องศาใต้
ไดแ้ ก่ ภาคใตข้ องประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซยี และฟลิ ิปปินส์ มีความแตกตา่ งของอุณหภูมิระหวา่ งกลางวันและ
กลางคืนไมม่ ากนกั มีปริมาณนา้ ฝนมากกว่า 2,000 มลิ ลเิ มตร (80 นิ้ว) ตอ่ ปี และมฝี นตกตลอดปีพืชพรรณธรรมชาติ
เป็นป่าดงดิบซง่ึ ไม่มฤี ดทู ผี่ ลัดใบและมีต้นไม้หนาแน่นสว่ นบริเวณปากแมน่ ้าและชายฝงั่ ทะเลมพี ชื พรรณธรรมชาตเิ ปน็
ปา่ ชายเลน

2. ภมู อิ ากาศแบบมรสมุ เขตร้อน หรือร้อนชนื้ แถบมรสุม เปน็ ดินร้อนท่ีอยู่เหนอื ละตจิ ูด 10 องศาเหนือขนึ้ ไป
มีฤดแู ลง้ และฤดูฝนสลบั กนั ประมาณปลี ะ เดอื น ไดแ้ ก่ บรเิ วณคาบสมทุ รอนิ เดีย และคาบสมทุ รอินโดจีน เขตน้เี ปน็ เขต
ท่ีไดร้ ับอทิ ธพิ ลของลมมรสมุ ปริมาณนา้ ฝนจะสูงในบรเิ วณด้านต้นลม (Winward side) และมีฝนตกน้อยในด้านปลาย
ลม (Leeward side) หรือเรยี กวา่ เขตเงาฝน (Rain shadow) พืชพรรณธรรมชาติเปน็ ปา่ มรสมุ หรอื ปา่ ไมผ้ ลดั ใบใน
เขตร้อน พนั ธไ์ุ มส้ ่วนใหญเ่ ป็นไมใ้ บกว้าง และเป็นไม้เน้ือแข็งทม่ี คี า่ ในทางเศรษฐกจิ หรือป่าเบญจพรรณ เช่น ไม้สกั
ไมจ้ ันทน์ ไมป้ ระดู่ เปน็ ต้น ป่ามรสมุ มีลกั ษณะเปน็ ปา่ โปรง่ มากกว่าปา่ ไม้ในเขตร้อนชน้ื บางแหง่ มีไม้ขนาดเล็กขน้ึ
ปกคลุมบริเวณดินช้ันล่าง และบางแหง่ เปน็ ปา่ ไผ่ หรือ หญา้ ปะปนอยู่

3. ภมู อิ ากาศแบบทงุ่ หญ้าเมืองรอ้ น มีลักษณะอากาศคลา้ ยเขตมรสุม มฤี ดแู ลง้ กับฤดฝู น แตป่ รมิ าณน้าฝน
นอ้ ยกวา่ คือ ประมาณ 1,000-1,500 มลิ ลเิ มตร (40-60 นิว้ ) ต่อปี อณุ หภูมเิ ฉลี่ยตลอดปีประมาณ 21 องศาเซลเซยี ส
(70 องศาสฟาเรนไฮต์) อณุ หภมู กิ ลางคืนเย็นกว่ากลางวัน ได้แก่ บริเวณตอนกลางของอินเดยี พมา่ และคาบสมุทรอิน
โดจนี พืชพรรณธรรมชาตเิ ปน็ ป่าโปรง่ แบบเบญจพรรณ ถดั เขา้ ไปตอนใน จะเปน็ ทงุ่ หญา้ สูงตงั้ แต่ 60-360 เซนตเิ มตร
(2-12 ฟตุ ) ซึ่งจะงอกงามดีในฤดฝู น แต่แห้งเฉาตายในฤดหู นาว เพราะช่วงน้อี ากาศแห้งแล้ง

4. ภมู ิอากาศแบบมรสุมเขตอบอนุ่ อยใู่ นเขตอบอ่นุ แต่ได้รับอิทธิพลของลมมรสมุ มฝี นตกในฤดูรอ้ น ฤดหู นาว
ค่อนข้างหนาว ไดแ้ ก่ บรเิ วณภาคตะวันตกของจนี ภาคใตข้ องญี่ปุ่น คาบสมทุ รเกาหลี ฮ่องกง ตอนเหนือของอินเดีย

ในลาว และตอนเหนือของเวยี ดนาม พชื พรรณธรรมชาติเป็นไมผ้ ลดั ใบหรือไม้ผสม มที ้งั ไม้ใบใหญ่ทีผ่ ลดั ใบ และไมส้ น
ทไี่ ม่ผลัดใบ ในเขตจนี เกาหลี ทางใตข้ องเขตนเ้ี ป็นปา่ ไมผ้ ลัดใบ ส่วนทางเหนือมีอากาศหนาวกว่าป่าไม้ผสมและปา่ ไม้
ผลัดใบ เช่น ต้นโอก๊ เมเปิล ถ้าขน้ึ ไปทางเหนอื อากาศหนาวเย็น จะเป็นป่าสนท่ีมีใบเขียวตลอดปี

5. ภูมิอากาศแบบอบอนุ่ ภาคพื้นทวีป ได้แกท่ างเหนอื และตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศจีน เกาหลเี หนือ
ภาคเหนือของญ่ีปุ่น และตะวนั ออกเฉยี งใตข้ องไซบเี รยี มฤี ดรู ้อนท่ีอากาศร้อน กลางวันยาวกวา่ กลางคนื นาน 5-6
เดอื น เป็นเขตปลกู ข้าวโพดได้ดี เพราะมฝี นตกในฤดูรอ้ น ประมาณ 750-1,000 มม.(30-40)นิ้วตอ่ ปี ฤดูหนาวอุณหภมู ิ
เฉล่ียถึง 7 องศาเซลเซียส (18 องศาฟาเรนไฮต์) เปน็ เขตท่ีความแตกต่างระหว่างอณุ หภูมิมีมากพชื พรรณธรรมชาติ
เป็นป่าผสมระหวา่ งไมผ้ ลัดใบและปา่ สน ลกึ เข้าไปเปน็ ทุ่งหญ้า สามารถเพาะปลูกข้าวโพด ขา้ วสาลี และเล้ียงสัตวพ์ วก
โคนมได้ ส่วนแถบชายทะเลมีการทาป่าไมบ้ ้างเลก็ น้อย

6. ภมู ิอากาศแบบทงุ่ หญา้ กงึ่ ทะเลทรายแถบอบอุ่น มอี ณุ หภมู สิ ูงมากในฤดรู ้อน และอุณหภมู ิตา่ มากในฤดู
หนาว มฝี นตกบ้างในฤดใู บไม้ผลิและฤดรู ้อน ได้แก่ ภาคตะวันตกของคาบสมุทรอาหรับ ตอนกลางของประเทศตรุ กี
ตอนเหนือของภาคกลางของอิหรา่ น ในมองโกเลีย ทางตะวันตกเฉียงเหนือของจีน พืชพรรณธรรมชาตเิ ป็นทุ่งหญา้ สน้ั
(Steppe) ทงุ่ หญ้าดงั กล่าวมีการชลประทานเขา้ ถงึ ใช้เพาะปลูก ขา้ วสาลี ข้าวฟา่ ง ฝ้าย และเล้ยี งสตั ว์ได้ดี

7. ภูมิอากาศแบบทะเลทราย มีความแตกตา่ งระหวา่ งอุณหภมู ิกลางวนั กบั กลางคืน และฤดูร้อนกับฤดูหนาว
มาก ไดแ้ ก่ ดนิ แดนท่ีอยภู่ ายในทวปี ทมี่ ีเทือกเขาปิดล้อม ทาให้อิทธิพลจากมหาสมุทรเข้าไปไม่ถึง ปรมิ าณฝนตกน้อย
กว่าปีละ 250 มม.(10น้ิว) ได้แกบ่ ริเวณ คาบสมุทรอาหรับ ทะเลทรายโกบี ทะเลทรายธาร์ และท่ีราบสงู ทิเบต ท่รี าบ
สูงอิหรา่ น บรเิ วณท่มี นี ้าและต้นไมข้ ึน้ เรียกว่า โอเอซสิ (Oasis) พืชพรรณธรรมชาตเิ ป็นอินทผลัม ตะบองเพชร และไม้
ประเภทมีหนาม ชายขอบทะเลทรายสว่ นใหญ่เป็นทงุ่ หญา้ สลบั ปา่ โปร่ง มกี ารเล้ียงสตั วป์ ระเภททเี่ ล้ยี งไว้ใช้เนื้อ และ
ทาการเพาะปลูกต้องอาศัยการชลประทานช่วย

8. ภมู ิอากาศแบบเมดิเตอรเ์ รเนียน มอี ากาศในฤดรู อ้ น รอ้ นและแห้งแล้ง ใน เลบานอน ซเี รยี อสิ ราเอล และ
ตอนเหนอื ของอิรัก พชื พรรณธรรมชาติเปน็ ไมต้ น้ เต้ีย ไมพ้ ุ่มมหี นาม ต้นไม้เปลอื กหนาที่ทนต่อความแหง้ แลง้ ในฤดู
ร้อนได้ดี พชื ที่เพาะปลูก ได้แก่ ส้ม องุ่น และ มะกอก

9. ภมู ิอากาศแบบไทกา (กง่ึ ข้ัวโลก) มฤี ดูหนาวยาวนานและหนาวจดั ฤดรู อ้ นสัน้ มีน้าคา้ งแขง็ ไดท้ ุกเวลา และ
ฝนตกในรูปของหิมะ ได้แก่ ดินแดนทางภาคเหนือของทวีปบรเิ วณไซบีเรยี พืชพรรณธรรมชาตเิ ป็น ป่าสน เป็นแนวยาว
ทางเหนอื ของทวีป ท่เี รียกวา่ ไทกา (Taiga) หรอื ป่าสนของไซบเี รีย

10. ภมู ิอากาศแบบทนุ ดรา (ขวั้ โลก) เขตน้มี ฤี ดูหนาวยาวนานมาก อากาศหนาวจดั มหี มิ ะปกคลุมตลอดปี
ไมม่ ีฤดรู อ้ น พชื พรรณธรรมชาตเิ ปน็ พวกตะไครน่ ้า และ มอสส

11. ภูมิอากาศแบบที่สูง ในเขตท่ีสูงอณุ หภมู ิจะลดลงตามระดบั ความสูงในอตั ราความสงู เฉลีย่ ประมาณ 1
องศาเซลเซียสตอ่ ความสูง 10 เมตร จงึ ปรากฎวา่ ยอดเขาสงู บางแห่งแมจ้ ะอย่ใู นเขตร้อน กม็ ีหิมะปกคลุมทงั้ ปี หรือ
เกอื บตลอดปี ไดแ้ ก่ ทีร่ าบสูงทเิ บต เทอื กเขาหิมาลัย เทือกเขาคุนลนุ และเทอื กเขาเทียนชาน ซ่งึ มคี วามสูงประมาณ
5,000-8,000 เมตร จากระดับน้าทะเล มหี มิ ะปกคลุมและมอี ากาศหนาวเยน็ แบบขวั้ โลก พชื พรรณธรรมชาติเป็น
พวกตะไคร่น้า และ มอส

ใบงานท่ี 1

1) ใหผ้ ู้เรียนอธบิ ายจุดเดน่ ของลกั ษณะภมู ปิ ระเทศในทวีปเอเชีย ท้ัง 5 เขต
............................................................................................................................. ............................................................
.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
..................................................................................................................................................... ....................................
............................................................................................... ..........................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
.........................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................. ........
.........................................................................………............................................... .........................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................................ .............................................
2) ภมู อิ ากาศแบบใดท่ีมหี ิมะปกคลมุ ตลอดปี และพืชพรรณท่ีปลกู เป็นประเภทใด
............................................................................................................................. ............................................................
................................................................................................................................. ........................................................
.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................................................. ............................
....................................................................................................... ..................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
3) ให้ผเู้ รียนอธิบายอาณาเขตของทวีปเอเชีย
............................................................................................................................. ............................................................
.............................................................................................................................................................. ...........................
........................................................................................................ .................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................

แผนการจดั การเรียนรู้ แบบพบก
สาระการพฒั นาสงั คม ระ
จานวน 3

คร้งั ท่ี หวั เรอื่ ง ตัวชีว้ ดั เน้ือหา

5 ภมู ิศาสตรก์ ายภาพ 3. มีทกั ษะในการใช้ 3. วธิ ีใชเ้ คร่อื งมือทางภูมิศาส
ทวีปเอเชีย
เคร่ืองมอื ทางภูมศิ าสตร์ เช่น แผนท่ี ลูกโลก Website

แผนท่ี ลกู โลก Website ดาวเทยี ม GIS GPRS ฯลฯ

ดาวเทียม GIS GPRS ฯลฯ 5.1 ความสาคัญในการ

5. สามารถนาความรู้ ดารงชีวติ ใหส้ อดคล้องกบั สภา

เก่ียวกบั ทรัพยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรในประเทศไทย แล

ของประเทศไทยและทวีป ประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชยี

เอเชยี มาปรับใชใ้ นการ 5.2 กรณตี วั อย่างการปรับตวั

ดารงชวี ิต และความมน่ั คง ในการดารงชีวติ ท่สี อดคล้องก

ของชาติ สภาพทรัพยากรในประเทศไท

และประเทศตา่ ง ๆ ในทวีป

เอเชีย

กลุ่ม วิชาสงั คมศึกษา สค21001
ะดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
หนว่ ยกิต

กิจกรรมการเรยี นรู้ สื่อการเรยี นรู้ การวัดผล/
ประเมนิ ผล
ตร์ ขน้ั ท่ี 1 กาหนดสภาพปญั หาการเรยี นรู้ - หนังสือเรียน - การสังเกต
1.ครูศกึ ษาเนื้อหาจัดทาปฏิทินการเรยี นรู้ - ใบงาน - ใบงาน
2.ร่วมกบั ผเู้ รยี นร้แู จ้งกรอบรายละเอียด - Internet

เนื้อหาปฏทิ ินการเรยี นรู้ ในแตล่ ะสัปดาห์ - ใบความรู้

าพ หลักฐานการเรยี นรู้พร้อมแจกแบบเรยี น
ละ 3.ครชู ้ีแจงเน้ือหาวัตถปุ ระสงค์และ

มาตรฐานการเรียนรู้ในครั้งนี้
ว 4.ครูสนทนากับนักศึกษาในเรื่องภูมศิ าสตร์
กับ ของประเทศเพื่อนบา้ น และสอบถามผู้เรียน
ทย วา่ ใครรูจ้ กั ประเทศเพ่อื นบ้านที่มีความ

นา่ สนใจประเทศใดบา้ ง และมีประเทศ
ใดบ้างท่ีเป็นสมาชิกอยู่ในกลุม่ ประชาคม
อาเซยี น และทบทวนการเรยี นรใู้ นครัง้ ที่
ผ่านมา
ข้นั ท่ี 2 ขัน้ แสวงหาขอ้ มูลและการจดั
การเรียนรู้
1.ครอู ธบิ ายวธิ ใี ชเ้ ครือ่ งมอื ทางภูมศิ าสตร์
แผนท่ี ลกู โลก Website ดาวเทียม



2. ครูและผเู้ รยี นรว่ มกนั อภปิ รายถงึ
เครื่องมือท่ีใช้ทางภมู ิศาสตร์ โดยสอบถาม
จากผเู้ รียนวา่ มีอะไรบา้ ง และมีการนามาใช้
อยา่ งไร
3. ครูนาสื่อการเรียนประกอบด้วย แผนที่
ลกู โลก Website ขอ้ มลู GIS GPRS ให้
ผเู้ รยี นไดท้ ดลองใชเ้ ครื่องมือทางภมู ิศาสตร์
แลว้ แบ่งกลุ่มตามประเภทของเคร่ืองมือ
กลมุ่ ละ 5 – 7 คน เพ่ือนาเสนอวิธีการใช้
และการอา่ นสญั ลกั ษณ์ของเคร่อื งมือแต่ละ
ประเภท
ข้นั ท่ี 3 การปฏิบตั แิ ละการนาไปใช้
1. ให้นกั ศึกษาศึกษาค้นคว้าเพ่มิ เติมจาก
ใบความรู้ หนงั สือแบบเรยี น
2.นกั ศึกษาทาใบงานเร่ืองวิธใี ชเ้ ครอ่ื งมือ
ทางภูมศิ าสตร์
3.นักศกึ ษาสง่ ตัวแทนของแต่ละกลุม่ มาเล่า
วิธีการใช้และการอา่ นสญั ลักษณ์ ทีใ่ ชแ้ ทน
สถานทแี่ ละสภาพภมู ปิ ระเทศของแต่ละ
ประเทศ
4. ครแู ละนกั ศกึ ษารว่ มกนั สรุปใจความ
สาคญั แล้วบนั ทึกข้อมลู ลงในสมุดของ
นักศกึ ษาแต่ละคน



ขัน้ ท่ี 4 การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
1.ใบงาน
2.การนาเสนอ
3.ครแู ละนกั ศึกษามีสว่ นรว่ มในการ
ประเมนิ ผลงานจากการนาเสนอของแต่ละ
กลุ่มโดยแบ่งเป็นคะแนนด้านการนาเสนอ
เน้อื หาและดา้ นความคิดสรา้ งสรรค์
4.ครสู งั เกตจากการมสี ่วนร่วมกระบวน
การกลุ่ม
5.ครูมอบหมายงานใหน้ ักศึกษาไปศึกษา
ค้นควา้ ข้อมลู จาก Internet เพิ่มเติม

ใบงานท่ี 2
เรือ่ ง เครื่องมือและการใชเ้ ครือ่ งมือในการศกึ ษาทางภมู ศิ าสตร์

แผนทแี่ ละเครือ่ งมือทางภูมศิ าสตร์
ความหมายของแผนท่ี

พจนานุกรมศัพทภ์ ูมิศาสตร์ ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน ใหค้ วามหมายของแผนท่ีไว้ว่า“แผนที่ คอื ส่ิงท่ีแสดง
ลกั ษณะของพ้ืนผิวโลกทั้งทมี่ ีอยู่ตามธรรมชาตแิ ละทป่ี รุงแตง่ ขึ้น โดยแสดงลงในพนื้ แบนราบ ดว้ ยการย่อให้เล็กลง
ตามขนาดทตี่ อ้ งการและอาศัยเคร่ืองหมายกบั สญั ลักษณ์ที่กาหนดขึ้น”
แผนท่ี หมายถึง การนาเอารปู ภาพสิง่ ตา่ งๆ บนพื้นผวิ โลก (Earth’ surface) มายอ่ ส่วนให้เลก็ ลง แลว้ นามาเขยี นลง
กระดาษแผน่ ราบ สง่ิ ตา่ งๆ บนพื้นโลกประกอบไปด้วยสิ่งท่ีเกดิ ขึ้นเองตามธรรมชาติ (nature) และสิง่ ท่ีมนุษย์สร้าง
ขึน้ (manmade) สิ่งเหลา่ นแ้ี สดงบนแผนทโี่ ดยใชส้ ี เส้นหรอื รูปรา่ งตา่ งๆ ทเ่ี ป็นสัญลกั ษณ์แทน
การจาแนกชนิดของแผนท่ี

ปัจจบุ ันการจาแนกชนดิ ของแผนท่ี อาจจาแนกได้หลายแบบแล้วแต่จะยึดถอื ส่งิ ใดเปน็ หลกั ในการจาแนก เชน่
1. การจาแนกชนิดของแผนที่ตามลกั ษณะท่ีปรากฏบนแผนท่ี แบง่ ไดเ้ ป็น 3 ชนิด คอื
1.1 แผนทล่ี ายเสน้ (Line Map) เป็นแผนท่ีแสดงรายละเอียดในพนื้ ทีด่ ้วยเสน้ และองค์ประกอบของเสน้ ซึ่งอาจเป็น
เสน้ ตรง เสน้ โค้ง ทอ่ นเสน้ หรอื เส้นใดๆ ทีป่ ระกอบเปน็ รูปแบบตา่ งๆ เช่น ถนนแสดงดว้ ยเสน้ คขู่ นาน อาคารแสดง
ด้วยเสน้ ประกอบเปน็ รูปสี่เหลี่ยม สญั ลักษณ์ทีแ่ สดงรายละเอียดเป็นรูปท่ีประกอบดว้ ยลายเส้น แผนท่ี ลายเสน้ ยงั
หมายรวมถึงแผนท่ีแบบแบนราบและแผนที่ทรวดทรง ซง่ึ ถ้ารายละเอยี ดทแี่ สดงประกอบด้วยลายเสน้ แลว้ ถือวา่ เปน็
แผนท่ลี ายเสน้ ทัง้ สิน้
ตวั อยา่ งแผนท่ลี ายเสน้
1.2 แผนทภ่ี าพถา่ ย (Photo Map) เป็นแผนทซ่ี ึ่งมีรายละเอียดในแผนที่ที่ได้จากการถ่ายภาพดว้ ยกลอ้ งถา่ ยภาพ ซง่ึ
อาจถ่ายภาพจากเครื่องบินหรือดาวเทียม การผลิตแผนทท่ี าด้วยวธิ กี ารนาเอาภาพถ่ายมาทาการดดั แก้ แล้วนามาตอ่
เป็นภาพแผ่นเดียวกันในบรเิ วณที่ต้องการ แล้วนามาใส่เส้นโครงพิกดั ใส่รายละเอยี ดประจาขอบระวาง แผนที่
ภาพถา่ ยสามารถทาได้รวดเรว็ แต่การอ่านค่อนขา้ งยากเพราะต้องอาศยั เคร่ืองมือและความชานาญ
ตัวอยา่ งแผนที่ภาพถ่ายดาวเทียม ภาพถา่ ยทางอากาศ
1.3 แผนทแ่ี บบผสม (Annotated Map) เปน็ แบบท่ผี สมระหว่างแผนทีล่ ายเส้นกบั แผนที่ภาพถา่ ย โดยรายละเอียดท่ี
เปน็ พน้ื ฐานส่วนใหญจ่ ะเปน็ รายละเอยี ดทีไ่ ดจ้ ากการถ่ายภาพ ส่วนรายละเอียดท่ีสาคญั ๆ เช่น แมน่ า้ ลาคลอง ถนน
หรือเส้นทาง รวมท้งั อาคารที่ต้องการเนน้ ให้เห็นเดน่ ชดั ก็แสดงดว้ ยลายเสน้ พิมพ์แยกสใี หเ้ หน็ เดน่ ชัดปัจจบุ ันนิยมใช้
มาก เพราะสะดวกและงา่ ยแกก่ ารอ่าน มที ง้ั แบบแบนราบ และแบบพมิ พน์ นู สว่ นใหญม่ ีสมี ากกวา่ สองสขี ึ้นไป
ตัวอยา่ งแผนท่แี บบผสม

2. การจาแนกชนิดของแผนท่ีตามขนาดของมาตราส่วน ประเทศตา่ ง ๆ อาจแบ่งชนดิ ของแผนทีต่ ามขนาด
มาตราส่วนไม่เหมือนกนั ทีก่ ล่าวต่อไปน้ีเป็นการแบง่ แผนที่ตามขนาดมาตราสว่ นแบบหนึ่งเทา่ นัน้ 2.1 แบ่งมาตรา
สว่ นสาหรบั นกั ภมู ศิ าสตร์ 2.1.1 แผนทมี่ าตราส่วนเล็ก ไดแ้ ก่ แผนที่มาตราส่วนเลก็ ว่า 1:1,000,000 2.1.2 แผนท่ี
มาตราสว่ นกลาง ได้แก่ แผนท่ีมาตราสว่ นต้งั แต่ 1:250,000 ถึง 1:1,000,000 2.1.3 แผนทม่ี าตราสว่ นใหญ่ ได้แก่
แผนทมี่ าตราส่วนใหญ่กวา่ 1:250,000 2.2 แบง่ มาตราสว่ นสาหรบั นักการทหาร 2.2.1 แผนทมี่ าตราสว่ นเล็ก ไดแ้ ก่
แผนที่มาตราสว่ น 1:600,000 และเล็กกวา่ 2.2.2 แผนท่ีมาตราส่วนกลาง ไดแ้ ก่ แผนที่มาตราส่วนใหญ่กวา่
1:600,000 แตเ่ ล็กกว่า 1:75,000 2.2.3 แผนที่มาตราส่วนใหญ่ ไดแ้ ก่ แผนที่มาตราส่วนตั้งแต่ 1:75,000 และใหญ่
กวา่

3. การจาแนกชนดิ แผนที่ตามลกั ษณะการใช้งานและชนดิ ของรายละเอียดที่แสดงไว้ในแผนที่
3.1 แผนที่ท่ัวไป (General Map) เป็นแผนท่ีพน้ื ฐานทใี่ ช้อยู่ทัว่ ไปหรอื ท่เี รียกว่า Base map
3.1.1 แผนทีแ่ สดงแบนราบ (Planimetric Map) เป็นแผนท่ีแสดงรายละเอยี ดทป่ี รากฏบนผิวโลกเฉพาะสณั ฐานทาง
ราบเท่าน้นั

ตัวอย่างแผนทแ่ี บนราบ
3.1.2 แผนทภ่ี มู ิประเทศ (Topographic Map) เปน็ แผนทแี่ สดงรายละเอียดทงั้ ทางแนวราบและแนวดิ่ง หรอื อาจ
แสดงใหเ้ หน็ เป็น 3 มิติ

ตวั อยา่ งแผนที่ภมู ิประเทศ
3.2 แผนทพี่ ิเศษ (Special Map or Thematic Map) สรา้ งขึ้นบนแผนท่ีพ้ืนฐาน เพ่ือใชใ้ นกิจการเฉพาะอยา่ ง
4. การจาแนกตามมาตรฐานของสมาคมคาร์โตกร๊าฟฟ่รี ะหว่างประเทศ (ICA) สมาคมคารโ์ ตกรา๊ ฟฟีร่ ะหวา่ งประเทศ
ได้จาแนกชนดิ แผนทอี่ อกเปน็ 3 ชนดิ
4.1 แผนทภ่ี ูมปิ ระเทศ (Topographic map) รวมทงั้ ผังเมืองและแผนทีภ่ มู ิศาสตร์ เปน็ แผนท่ที ใ่ี ห้รายละเอียด โดย
ทว่ั ๆ ไป ของภูมปิ ระเทศ โดยสรา้ งเปน็ แผนที่ภมู ิประเทศ มาตราส่วนขนาดเลก็ กลาง และขนาดใหญ่ และได้ข้อมูล
มาจากภาพถ่ายทางอากาศ และภาพถา่ ยดาวเทียม แผนทมี่ าตราสว่ นเล็กบางทเี รียกวา่ เป็นแผนทภ่ี มู ิศาสตร์
(Geographical map) แผนทที่ วั่ ไป (General map) และแผนทีม่ าตราส่วนเล็กมากๆ ก็อาจอยู่ในรูปของแผนทเ่ี ล่ม
(Atlas map)
4.2 ชารต์ และแผนทเี่ ส้นทาง (Charts and road map) เป็นแผนที่ที่สร้างขึน้ เปน็ เคร่ืองมือประกอบการเดนิ ทาง
โดยปกตจิ ะเป็นแผนทม่ี าตราส่วนกลาง หรือมาตราสว่ นเล็ก และแสดงเฉพาะส่งิ ท่เี ปน็ ท่ีน่าสนใจของผู้ใช้ เชน่ ชารต์
เดนิ เรอื ชารต์ ด้านอทุ กศาสตร์ เปน็ ตน้

ตัวอย่างแผนทเ่ี สน้ ทาง
4.3 แผนท่พี เิ ศษ (Thematic and special map) ปัจจุบนั มคี วามสาคญั มากข้ึน เพราะสามารถใชป้ ระกอบการทา
วิจยั เชงิ วิทยาศาสตร์ การวางแผนและใชใ้ นงานด้านวศิ วกรรม แผนทชี่ นดิ นจี้ ะแสดงขอ้ มูลเฉพาะเรื่องลงไป เช่น แผน
ท่ดี ิน แผนท่ีประชากร แผนที่พชื พรรณธรรมชาติ แผนทธ่ี รณีวทิ ยา เป็นตน้
ตวั อย่างแผนที่พิเศษ

องค์ประกอบของแผนท่ี
องค์ประกอบของแผนท่ีทจ่ี ะกล่าวตอ่ ไปนี้ หมายถึงสง่ิ ตา่ ง ๆ ที่ปรากฏอยูบ่ นแผ่นแผนที่ ซ่ึงผผู้ ลติ แผนทจ่ี ัด

แสดงไว้ โดยมคี วามมุ่งหมายท่จี ะให้ผ้ใู ช้แผนที่ได้ทราบขา่ วสารและรายละเอยี ดอย่างเพยี งพอสาหรบั การใชแ้ ผนท่นี นั้
แผนที่ทจี่ ดั ทาข้ึนก็เพือ่ แสดงพื้นท่ีใดพืน้ ทห่ี น่ึงซ่งึ เรยี กวา่ “ระวาง” (Sheet) และในแผนท่ีแต่ละระวางจะพิมพ์
ออกมาเป็นกี่แผ่น (Copies) ก็ได้ วสั ดทุ ีใ่ ช้ พมิ พแ์ ผนทคี่ วรมีลักษณะสาคัญ คอื ยืดหรอื หดน้อยทส่ี ุดเมื่อสภาวะ
อากาศเปลี่ยนแปลง องค์ประกอบแผนทแ่ี ตล่ ะ ระวาง ประกอบด้วย 3 สว่ นใหญ่ ๆ คอื
1. เสน้ ขอบระวาง ตามปกติรูปแบบของแผนท่ีทัว่ ไปจะเปน็ รูปสเี่ หลยี่ มจตุรัสหรือสเี่ หลย่ี มผนื ผ้า หา่ งจากรมิ ทั้งสด่ี ้าน
ของแผนที่เขา้ ไปจะมเี ส้นก้ันขอบเขตเป็นรปู ส่เี หลย่ี ม ซึ่งเรยี กวา่ เสน้ ขอบระวางแผนที่ ( Border ) เส้นขอบระวาง
แผนที่บางแบบ ประกอบดว้ ยขอบสองชน้ั เพือ่ ใหเ้ กดิ ความสวยงาม สาหรบั แผนท่ภี มู ปิ ระเทศโดยท่วั ไป เสน้ ขอบ
ระวางมเี พียงด้านละเส้นเดียว บางชนิดมเี ส้นขอบระวางเพียงสองด้านเท่านนั้ ทีเ่ สน้ ขอบระวางแต่ละด้านจะมตี ัวเลข
บอกค่าพิกดั และค่าพิกัดภมู ิศาสตร์ (ค่าของละติจูดและลองติจดู ) หรืออย่างใดอยา่ งหนงึ่ ดังนั้นในแผนที่แผน่ หน่งึ
เส้นขอบระวางแผนทจ่ี ะก้นั พื้นที่ บนแผ่นแผนท่อี อกเปน็ สองส่วนด้วยกัน คอื พนื้ ท่ีภายในขอบระวางแผนท่ี และพน้ื ท่ี
นอกขอบระวางแผนท่ี
2. องค์ประกอบภายในขอบระวาง หมายถึง ส่งิ ทัง้ หลายทแี่ สดงไว้ภายในกรอบ ซ่ึงล้อมรอบดว้ ยเสน้ ขอบระวางแผน
ที่ ตามปกติแลว้ จะประกอบด้วยส่งิ ตา่ ง ๆ ตอ่ ไปนี้ คือ
- สญั ลกั ษณ์ ( Symbol) ได้แก่ เครือ่ งหมายหรือสิง่ ซ่ึงคิดข้ึนใช้แทนรายละเอียดทปี่ รากฏอยูบ่ นพ้นื ผวิ ภมู ปิ ระเทศ
หรอื ใหแ้ ทนข้อมูลอืน่ ใดทต่ี ้องการแสดงไวใ้ นแผนที่นน้ั
- สี ( Color) สีท่ีใชใ้ นบริเวณขอบระวางแผนทีจ่ ะเป็นสีของสญั ลักษณท์ ี่ใช้แทนรายละเอยี ดหรือข้อมลู ต่าง ๆ ของ
แผนท่ี
- ชือ่ ภมู ศิ าสตร์ ( Geographical Names) เปน็ ตัวอกั ษรกากับรายละเอยี ดตา่ ง ๆ ท่ีแสดงไวภ้ ายในขอบระวางแผนที่
เพ่อื บอกใหท้ ราบวา่ สถานท่นี ั้นหรือสิง่ น้นั มีชอ่ื เรยี กอะไร
- ระบบอ้างอิงในการกาหนดตาแหน่ง ( Position Reference Systems) ได้แก่ เส้นหรอื ตารางท่ีแสดงไวใ้ นขอบ
ระวางแผนท่ี เพื่อใช้ในการกาหนดค่าพิกดั ของตาแหนง่ ต่างๆ ในแผนที่น้ัน ระบบอา้ งอิงในการกาหนดตาแหน่งมี
หลายชนิด ท่นี ิยมใช้ในแผนที่ทัว่ ไปมี 2 ชนดิ คือ
- พกิ ัดภมู ศิ าสตร์ (Geographic Coordinates) ไดแ้ ก่ เส้นขนานและเส้นเมอริเดียนทีบ่ อกคา่ ละตจิ ดู และลองติจดู
อาจแสดงไวเ้ ป็นเส้นยาวจรดขอบระวางแผนที่ หรอื อาจแสดงเฉพาะส่วนท่ตี ัดกันเปน็ กากบาท (graticul) อย่างเชน่
แผนท่ีมาตราส่วน 1:50,000 หรอื อาจแสดงเป็นเส้นส้ันๆ เฉพาะที่ขอบ

- พกิ ัดกริด (Rectangular Coordinates) ได้แก่ เส้นขนานสองชุดท่ีมรี ะยะหา่ งเท่าๆ กัน ตัดกนั เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุม
ฉาก เสน้ ตรงขนานท้งั สองชุดดังกล่าวอาจแสดงไวเ้ ปน็ แนวเส้นตรงยาวจรดขอบระวาง หรืออาจแสดงเฉพาะส่วนทีต่ ดั
กันกไ็ ด้แล้วแต่ความเหมาะสม
3. องคป์ ระกอบภายนอกขอบระวาง หมายถงึ พ้นื ทต่ี ง้ั แตเ่ ส้นขอบระวางไปถงึ รมิ แผน่ แผนท่ีทงั้ สด่ี า้ น บรเิ วณพืน้ ท่ี
ดงั กล่าวผู้ผลติ แผนทีจ่ ะแสดงรายละเอียดอันเปน็ ข่าวสารหรอื ข้อมลู ทผี่ ูใ้ ช้แผนท่ีควรทราบ และใช้แผนทนี่ ้นั ไดอ้ ย่าง
ถกู ต้องตรงตามความมุ่งหมายของผผู้ ลติ แผนที่ รายละเอยี ดนอกขอบระวางจะมีอะไรบา้ งขึ้นอยู่กับชนดิ ของแผนท่ี
การหาระยะบนแผนท่ี
กอ่ นอน่ื ตอ้ งทาความเข้าใจก่อนวา่ ระยะบนแผนท่ี คือ ระยะราบ (Horizontal Distance) เพราะแผนท่คี ือ การฉาย
(Project) รายละเอียดภูมิประเทศจรงิ ลงบนพื้นระนาบหรือพ้นื ราบ ฉะนน้ั แผนทีจ่ ะมีมาตราส่วนเดียวกันหมดท้ัง
ระวาง การหาระยะทางบนแผนที่จึงสามารถกระทาได้ 2 วธิ ีคือ
1. การหาระยะโดยอาศัยมาตราส่วนของแผนท่ี เชน่ เราวดั ระยะบนแผนท่ีมาตราส่วน 1: 50,000 ได้ 3 เซนติเมตร
เพราะฉะนัน้ ระยะราบในภูมิประเทศจริงคอื 3 X 50000 = 150,000 ซ.ม. หรอื 1,500 เมตร หรอื 1.5 ก.ม.
2. การหาระยะโดยอาศัยมาตราสว่ นแบบบรรทดั
2.1 ให้กระทาโดยนาขอบบรรทดั หรือขอบกระดาษเรยี บๆ วางทาบใหผ้ ่านจุดสองจุดทต่ี ้องการหาระยะทางบนแผนท่ี
แล้วทาเครอื่ งหมายไวท้ ี่ขอบกระดาษแสดงตาแหน่งของจดุ ท้ังสอง
2.2 นาขอบกระดาษไปวางทาบที่มาตราส่วนเส้นบรรทดั อันมีหน่วยวดั ระยะตามต้องการแลว้ อ่านระยะบนมาตรา
ส่วนเส้นบรรทัด ระยะที่ได้จะเป็นระยะราบในภูมิประเทศจริง
สูตรการหาระยะทาง
GDMDScale=
MD = ระยะทางบนแผนที่ (Map Distance)
GD = ระยะทางในภมู ิประเทศจรงิ (Ground distance)
ตัวอยา่ ง สมมตุ วิ า่ แผนที่มาตราส่วน 1: 50,000 วัดระยะระหว่างจดุ ก. ถึง จุด ข. ได้ 3.5 เซนตเิ มตร จงหาระยะทาง
ในภมู ิประเทศจากสตู ร
GD5.3500001=
CmGD1750005.350000=×=
Km75.1100000175000== -33-
ตอบ นน่ั คอื ระยะในแผนท่ี 3.5 เซนตเิ มตร แทนระยะทางในภมู ปิ ระเทศจริง 1.75 กิโลเมตร
การอา่ นและแปลความในแผนที่
การอา่ นและแปลความหมายของแผนท่ีให้เขา้ ใจ จาเป็นตอ้ งรู้ขอ้ มลู เบื้องต้นทเ่ี ป็นองคป์ ระกอบของแผนท่ี และทา
ความเข้าใจใหถ้ ูกต้องเสียก่อน เพือ่ ที่จะแปลความหมายและใช้ประโยชน์จากแผนทีไ่ ด้อยา่ งสมบูรณ์ โดยเฉพาะแผน
ที่ภมู ปิ ระเทศแบบลายเส้นซ่งึ เปน็ แผนที่พื้นฐานที่ใช้อยแู่ พร่หลายในโลก ปจั จบุ ันนกั วชิ าการได้คดิ หาระบบและ
สัญญลกั ษณ์ทเี่ ป็นสากล ในการกาหนดตาแหน่ง เชน่ พกิ ดั ภมู ศิ าสตร์ (Geographic Coordinates) เป็นระบบ
อ้างองิ บนผวิ พภิ พ ตาแหนง่ ของจดุ ใดๆ บนพืน้ ผวิ พิภพสามารถ กาหนดดว้ ยค่าละติจดู (Latitude) หรอื ทเ่ี รียกว่า
เส้นขนาน และเสน้ ลองจิจูด (Longitude) หรือทีเ่ รยี กว่า เสน้ เมอรเิ ดยี น แผนท่แี สดงลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ นอกจาก

แสดงให้ทราบถึงตาแหน่งท่ตี งั้ ระยะทาง และทิศทาง ส่งิ สาคญั ของแผนทชี่ นดิ นี้คือ แสดงความสงู ตา่ และทรวดทรง
แบบตา่ งๆ ของภมู ิประเทศ การแสดงลกั ษณะภมู ิประเทศบนแผนที่ มีหลายวิธี เชน่

1. แถบสี ใชแ้ ถบสแี สดงความสงู ตา่ ของภมู ิประเทศที่แตกต่างกนั เช่น สเี ขียวแสดงพนื้ ท่รี าบ สีเหลอื งจนถงึ สี
ส้มแสดงบริเวณทีเ่ ป็นทีส่ ูง สีนา้ ตาลเป็นบริเวณทเ่ี ปน็ ภเู ขา

2. เงา การเขยี นเงานน้ั ตามธรรมดาน้นั จะเขียนในลักษณะทมี่ ีแสงสอ่ งมาจากทางด้านหน่ึง ถ้าเป็นท่สี งู ชัน
ลักษณะเงาจะเข้ม ถา้ เป็นท่ีลาดเงาจะบาง วธิ เี ขียนเงาจะทาให้จินตนาการถึงความสงู ต่าได้งา่ ยข้นึ

3. เสน้ ลาดเขา เป็นการเขียนลายเสน้ เพ่ือแสดงความสูงตา่ ของภูมปิ ระเทศ ลกั ษณะเส้นจะเปน็ เส้นส้ันๆ
ลากขนานกนั ความหนาและชว่ งห่างของเส้นมีความหมายต่อการแสดงพ้ืนที่ คือ ถา้ เสน้ หนาเรยี งคอ่ นข้างชดิ แสดง
ภูมิประเทศทสี่ ูงชัน ถ้าหา่ งกันแสดงว่าเป็นทลี่ าด

4. แผนทภี่ าพนนู แผนที่ชนดิ น้ีถา้ ใช้ประกอบกบั แถบสี จะทาใหเ้ ห็นลักษณะภมู ปิ ระเทศไดช้ ัดเจนยงิ่ ขึน้
5. เสน้ ชั้นความสูง คอื เสน้ สมมุตทิ ี่ลากไปตามพ้นื ผิวโลกทค่ี วามสูงจากระดบั น้าทะเลปานกลาง เทา่ กัน เส้น
ชนั้ ความสงู แต่ละเส้นจงึ แสดงลกั ษณะและรูปตา่ งของพื้นท่ี ณ ระดับความสูงหนงึ่ เทา่ น้ัน
ประโยชนข์ องแผนท่ี
1. ด้านการเมืองการปกครอง เพ่ือรักษาความมัน่ คงของประเทศชาติ ให้คงอยู่ จาเปน็ จะต้องมีความรู้ใน
เรอ่ื งภมู ศิ าสตร์การเมือง หรือทเ่ี รยี กกันว่า "ภมู ิรัฐศาสตร์" และเครื่องมือท่ีสาคัญของนกั ภมู ริ ัฐศาสตร์ กค็ อื แผนท่ี
เพ่อื ใช้ศกึ ษาสภาพทางภมู ศิ าสตร์และนามาวางแผนดาเนนิ การเตรยี มรบั หรือแก้ไขสถานการณท์ เ่ี กดิ ขึน้ ได้ อย่างเชน่
แนวพรมแดนระหวา่ งประเทศ จาเป็นต้องอาศัยแผนท่ีในการวางแผนดาเนนิ การ เตรยี มรบั หรือแก้ไขสถานการณ์ท่ี
อาจเกดิ ขนึ้ อยา่ งถูกตอ้ ง แผนทใี่ นกิจกรรมทางการเมืองนอกจากแผนที่แนวเขตแดนซ่งึ สาคญั แลว้ ยังตอ้ งเกยี่ วข้อง
กับแผนที่ต่าง ๆ มากมาย
2. ดา้ นการทหาร ในการพิจารณาวางแผนทางยุทธศาสตร์ของทหาร จาเป็นตอ้ ง หาขอ้ มูลหรือข่าวสารที่
เกีย่ วกบั สภาพภูมิศาสตร์ และตาแหนง่ ทางสิง่ แวดลอ้ มทีถ่ กู ตอ้ งแน่นอนเก่ยี วกบั ระยะทาง ความสงู เส้นทาง ลักษณะ
ภูมิประเทศทีส่ าคัญ
3. ด้านเศรษฐกิจและสงั คม ดา้ นเศรษฐกิจ เปน็ เครื่องบ่งชีค้ วามเปน็ อยู่ ของประชาชนภายในชาติ
เพราะฉะนั้นทุกประเทศก็ม่งุ ท่จี ะพัฒนาเศรษฐกจิ ของตนเพื่อความม่งั คัง่ และมั่นคง การดาเนนิ งานเพื่อพัฒนา
เศรษฐกจิ ของแตล่ ะภูมิภาคที่ผา่ นมา แผนท่ี เป็นสงิ่ แรกทต่ี ้องผลติ ขนึ้ มาเพ่ือการใชง้ านในการวางแผนพฒั นา
เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ กต็ ้องอาศัยแผนที่เป็นข้อมลู พื้นฐานเพ่อื ให้ทราบ ทาเลท่ีต้ัง สภาพทางกายภาพแหล่ง
ทรัพยากร และ แผนท่ียงั ชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจเกีย่ วกับภาพรวมและความสัมพนั ธ์ระหว่างพ้นื ที่ได้มากขึน้ ทาใหว้ างแผนและ
พัฒนาเป็นไปได้อย่างสะดวกและมีประสิทธิภาพ
4. ดา้ นสังคม สภาพแวดล้อมทางสังคมมกี ารเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ ทเี่ หน็ ชัดคือสภาพแวดลอ้ มทาง
ภูมศิ าสตร์ ซึง่ ทาให้สภาพแวดลอ้ มทางสังคมเปลยี่ นแปลงไปการศกึ ษาสภาพการเปลีย่ นแปลงตอ้ งอาศยั แผนท่เี ป็น
สาคญั และอาจชว่ ยใหก้ ารดาเนนิ การวางแผนพฒั นาสงั คมเป็นไปในแนวทางทถี่ ูกต้อง
5. ด้านการเรียนการสอน แผนที่เป็นตวั สง่ เสริมกระตนุ้ ความสนใจ และก่อใหเ้ กิดความเข้าใจในบทเรยี นดี
ขึ้นใช้เป็นแหล่งข้อมูลทงั้ ทางด้านกายภาพ ภมู ภิ าค วฒั นธรรม เศรษฐกิจ สถิติและการกระจายของสิง่ ต่าง ๆ รวมท้งั

ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ และปรากฏการณต์ ่าง ๆใชเ้ ป็นเครอ่ื งช่วยแสดงภาพรวมของพื้นที่หรอื ของภมู ิภาค อนั จะ
นาไปศึกษาสถานการณ์และวิเคราะหค์ วามแตกต่าง หรอื ความสัมพันธข์ องพ้นื ที่

6. ดา้ นส่งเสรมิ การท่องเที่ยว แผนที่มคี วามจาเปน็ ตอ่ นักท่องเทย่ี วในอนั ท่ีจะทาใหร้ ู้จกั สถานทท่ี ่องเท่ียวได้
งา่ ย สะดวกในการวางแผนการเดินทาง หรือเลือกสถานที่ท่องเที่ยวตามความเหมาะสม

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ความหมายของ Remote Sensing

ในอดตี ที่ผ่านมาเทคโนโลยภี าพถ่ายทางอากาศ (Aerial Photograph) และทางภาพถ่ายดาวเทยี ม
(Satellite Imagery) เป็นคาท่ใี ช้แยกจากกัน ต่อมาได้มีการกาหนดศัพทใ์ หร้ วมใชเ้ รยี กคาทัง้ สองรวมกัน ตลอดจนถึง
เทคโนโลยีตา่ งๆ ทเี่ กี่ยวกบั ขอ้ มูลซ่ึงได้จากตวั รับสัญญาณระยะไกลทเี่ รยี กวา่ Remote Sensing
คาวา่ รีโมทเซนซิ่ง (Remote Sensing) เป็นประโยคทป่ี ระกอบขึน้ มาจากการรวม 2 คา ซึ่งแยกออกได้ดงั นี้ คือ
Remote = ระยะไกล และ Sensing = การรบั รู้ จากการรวมคา 2 คาเข้าด้วยกนั คาว่า "Remote Sensing" จึง
หมายถึง "การรบั รู้จากระยะไกล" โดยนิยามความหมายนี้ได้กลา่ วไว้ว่า “เป็นการสารวจตรวจสอบคณุ สมบตั ิสง่ิ ใดๆ ก็
ตาม โดยทม่ี ไิ ด้สัมผัสกับสง่ิ เหล่านน้ั เลย”
ดังน้ันคาวา่ "Remote Sensing" จึงมีความหมายทีน่ ยิ มเรยี กอยา่ งหน่ึงวา่ การสารวจจากระยะไกล โดยความหมาย
รวม รโี มทเซนซง่ิ จงึ จัดเป็นวิทยาศาสตร์ และศลิ ปะการได้มาซง่ึ ข้อมูลเก่ยี วกับวตั ถุ พ้นื ท่ี หรอื ปรากฏการณจ์ าก
เครือ่ งมอื บนั ทกึ ข้อมลู โดยปราศจากการเขา้ ไปสมั ผัสวัตถุเป้าหมาย ท้ังน้ี อาศยั คุณสมบัติของคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟา้ เปน็
สอื่ ในการได้มาของข้อมลู ใน 3 ลักษณะ คือ
- คลืน่ รงั สี (Spectral)
- รูปทรงสณั ฐานของวตั ถุบนพ้ืนผิวโลก (Spatial)
- การเปล่ยี นแปลงตามชว่ งเวลา (Temporal)
ปจั จุบนั ขอ้ มูลด้านนี้ได้นามาใชใ้ นการศึกษาและวจิ ัยอยา่ งแพรห่ ลาย เพราะใหผ้ ลประโยชน์หลายประการ อาทิเช่น
ประหยัดเวลา คา่ ใชจ้ า่ ยในการสารวจ เก็บข้อมลู ความถูกต้อง และรวดเร็วทนั ต่อเหตกุ ารณ์
อย่างไรกต็ าม การรับรู้จากระยะไกลก็ไดร้ บั การพัฒนาใหก้ ้าวหนา้ โดยมกี ารประดิษฐ์ คดิ ค้นเครอื่ งมอื รบั สญั ญาณที่มี
ประสิทธภิ าพสูง เทคนคิ ทนี่ ามาใชใ้ นการแปลตคี วาม กไ็ ดร้ ับการพัฒนาควบคกู่ ันไปใหม้ ีความถกู ต้อง แม่นยา และ
รวดเร็วย่ิงขึน้ จึงปรากฏวา่ มีการนาข้อมูลทง้ั ภาพถ่ายทางอากาศ และ ภาพถา่ ยดาวเทยี ม มาใชป้ ระโยชน์เพื่อสารวจ
หาข้อมลู และทาแผนที่เก่ียวกับทรัพยากรธรรมชาตกิ นั อย่างกว้างขวางในปจั จบุ ัน
องค์ประกอบของการสารวจระยะไกล

องค์ประกอบของการสารวจระยะไกล ประกอบดว้ ย
- แหล่งกาเนิดพลังงาน (Source of Energy)
- วตั ถแุ ละปรากฏการณต์ ่างๆ บนพน้ื ผวิ โลก (Earth Surface Features)
- เคร่อื งมือหรอื อปุ กรณ์ในการบันทึกข้อมูล (Sensor)
หลกั การสารวจข้อมูลระยะไกล

การสารวจจากระยะไกล ( Remote sensing) เปน็ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแขนงหน่งึ ทีใ่ ช้ในการ
บ่งบอก จาแนก หรือ วเิ คราะหค์ ุณลกั ษณะของวตั ถตุ า่ ง ๆ โดยปราศจากการสัมผสั โดยตรง
Remote sensing เปน็ ศัพทเ์ ทคนิค ท่ใี ชเ้ ป็นคร้ังแรกในประเทศสหรฐั อเมรกิ า ในปี พ.ศ. 2503 ซ่งึ มีความหมาย
รวมถึง การทาแผนที่ การแปลภาพถา่ ย ธรณวี ิทยาเชงิ ภาพถา่ ย ฯลฯ

การใชค้ ารโี มตเซนซงิ เร่มิ แพรห่ ลายนับตง้ั แต่ได้มกี ารสง่ ดาวเทียม LANDSAT-1 ซง่ึ เปน็ ดาวเทียมสารวจ
ทรัพยากรธรรมชาตดิ วงแรกขึ้นในปี พ.ศ.2515 พลงั งานแม่เหลก็ ไฟฟา้ ทีส่ ะท้อน หรอื แผอ่ อกจากวัตถุ เป็นต้นกาเนดิ
ของข้อมูลทสี่ ารวจจากระยะไกล นอกจากนต้ี วั กลางอืน่ ๆ เชน่ ความโน้มถ่วง หรอื สนามแมเ่ หล็ก ก็อาจนามาใช้ใน
การสารวจจากระยะไกลได้เช่นกันเราสามารถหาคณุ ลักษณะของวตั ถุได้ จากลักษณะการสะท้อนหรือการแผ่พลังงาน
แม่เหลก็ ไฟฟา้ จากวัตถนุ น้ั ๆนน้ั คอื วตั ถแุ ตล่ ะชนดิ จะมีลักษณะการสะทอ้ นแสงหรือการแผ่รังสีทเ่ี ฉพาะตัวและ
แตกตา่ งกนั ไป ถ้าวตั ถหุ รอื สภาพแวดลอ้ มเป็นคนละประเภทกัน การสารวจจากระยะไกลจงึ เปน็ เทคโนโลยที ีใ่ ชใ้ น
การจาแนก และเขา้ ใจวตั ถุ หรือสภาพแวดล้อมตา่ งๆ จากลักษณะเฉพาะตวั ในการสะท้อนแสงหรือแผ่รังสี
เครอื่ งมอื ที่ใชว้ ัดคา่ พลังงานแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ท่ีสะทอ้ นหรือแผ่ออกจากวัตถุ เรยี กวา่ เครอื่ งวัดจากระยะไกล (Remote
sensor) หรือ เครื่องวัด (sensor) ตวั อยา่ ง เช่น กล้องถ่ายรูป หรือ เครื่องกวาดภาพ (scanner) สาหรับยานพาหนะ
ทใ่ี ชต้ ิดตัง้ เครื่องวัด เรยี กว่า ยานสารวจ (platform) ได้แก่ เคร่อื งบิน หรอื ดาวเทยี ม

สาหรับขอ้ มลู ทส่ี ารวจจากระยะไกลน้นั จะผ่านกระบวนการวิเคราะหแ์ บบอตั โนมัตด้วยเครือ่ งคอมพิวเตอร์
และ/หรอื การแปลดว้ ยสายตา แล้วจึงนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นด้านเกษตร การใช้ท่ดี นิ ป่าไม้ ธรณีวิทยา อุทกวิทยา
สมทุ รศาสตร์ อุตนุ ยิ มวิทยา และสภาวะแวดลอ้ ม ฯลฯ

การวเิ คราะห์ภาพถ่ายดาวเทียม

การวเิ คราะห์ภาพจากดาวเทียมด้วยคอมพิวเตอร์
- การเตรียมภาพ (Data Preparation)
- การเตรียมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์ (Pre-Processing)
- การปรับปรงุ คณุ ภาพของข้อมลู (Image Enhancement)
- การกาหนดประเภทข้อมูล (Nomenclature)
- การจาแนกประเภทข้อมูล (Classification)
- การวิเคราะหห์ ลงั การจาแนกประเภทขอ้ มูล (Post-Classification)
- การวเิ คราะห์ความถูกต้อง การวิเคราะห์ข้อมลู ดาวเทยี ม (Data Analysis)
- การแปลภาพด้วยสายตา
- การวเิ คราะห์ภาพจากดาวเทียมด้วยคอมพิวเตอร์
ดาวเทียมสารวจทรัพยากร

ดาวเทยี ม THEOS (Thailand Earth Observation Satellite) ดาวเทียมสารวจทรพั ยากรดวงแรกของประเทศไทย
- กาหนดข้นึ สู่วงโคจร ปี พ.ศ.2550
- รายละเอยี ดภาพ
1) 2 เมตร (แบบช่วงคลืน่ เดียว) ความกวา้ งแนวภาพ 22 กม.
2) 15 เมตร (แบบหลายชว่ งคลื่น) ความกว้างแนวภาพ 22 กม.
ประโยชนข์ องรโี มตเซนช่ิง

1. การพยากรณอ์ ากาศ กรมอุตุนิยมวทิ ยาใช้ข้อมลู จากดาวเทยี มเพ่ือพยากรณป์ ริมาณ และการกระจายของ
ฝนในแต่ละวัน โดยใช้ข้อมลู ดาวเทยี มท่ีโคจรรอบโลกดว้ ยความเรว็ เท่ากบั การหมุนของโลก ทาใหค้ ล้ายกับเปน็
ดาวเทยี มคงที่(Geostationary) เช่น ดาวเทยี ม GMS(Geostationary Meteorological Satellite) และ ดาวเทียม
โนอา NOAAที่โคจรรอบโลกวันละ 2คร้งั ทาให้ทราบอัตราความเร็ว ทิศทาง และความรุนแรงของพายุทจ่ี ะเกิดขึ้น
ล่วงหนา้ หรอื พยากรณอ์ ากาศความแห้งแล้งทีจ่ ะเกิดขนึ้ ได้

2. สารวจการใช้ประโยชนท์ ี่ดนิ
3. สารวจดิน
4. สารวจดา้ นธรณีวิทยาและธรณีสัณฐานวิทยา
5. การเตอื นภยั จากธรรมชาติ
6. ด้านการจราจร
7. ด้านการทหาร
8. ด้านส่งิ แวดล้อม
9. ดา้ นสาธารณสุข

ระบบ GPS
ความหมาย

GPS เป็นระบบดาวเทียมทอ่ี อกแบบและจัดสร้างโดยกองทัพสหรัฐอเมรกิ า เพื่อใช้ในการนาทาง
(Navigation)
GPS คือ ระบบบอกพิกัดบนพื้นโลกโดยใช้ดาวเทยี ม การรับสญั ญาณจากดาวเทียมทโ่ี คจรอยู่เตม็ ท้องฟา้ 24 ดวงรบั
สญั ญาณอย่างน้อยต้อง 3 ดวง
GPS เปน็ เคร่ืองมือหาตาแหน่งพิกัดภมู ิศาสตรบ์ นพืน้ ผวิ โลกโดยอาศยั สัญญาณอ้างอิงจากระบบดาวเทียม ทาหนา้ ท่ี
สง่ สัญญาณจีพเี อส โดยเฉพาะ มชี ่อื เรยี กอย่างเปน็ ทางการวา่ “เครอื่ งมือหาพิกัดดว้ ยดาวเทยี ม”
องคป์ ระกอบหลักของระบบ GPS

1. ระบบดาวเทยี มในวงโคจรรอบโลก (The Space segment)
2. สถานีควบคุม (The Control segment)
3. ผ้ใู ชง้ านสญั ญาณจพี เี อส (The User segment)
หลกั การทางานของระบบ GPS

GPS บอกพกิ ดั บนพ้ืนโลกโดยใชด้ าวเทยี ม การรบั สญั ญาณจากดาวเทยี มที่โคจรอยูเ่ ต็มท้องฟ้า 24 ดวง รับสญั ญาณ
อยา่ งน้อยตอ้ ง 3 ดวง GPS เปน็ เครอื่ งมือหาตาแหน่งพกิ ดั ภูมศิ าสตรบ์ นพืน้ ผิวโลก โดยอาศยั สญั ญาณอ้างองิ จาก
ระบบดาวเทยี ม ทที่ าหน้าท่สี ง่ สัญญาณจพี เี อสโดยเฉพาะ มีชอื่ เรียกอย่างเป็นทางการว่า “เครอื่ งมือหาพิกัดดว้ ย
ดาวเทยี ม” GPS ในปัจจบุ นั มหี ลายรปู แบบ
ประเภทของเคร่ืองรับ GPS

ประโยชน์ของระบบ GPS
1. บอกตาแหนง่ วา่ ตอนน้ีเราอยู่ที่ไหน
2. บนั ทกึ เส้นทางวา่ เราไปไหนมาบ้าง
3. ระบบนาร่องนาทางไปจดุ หมายทีก่ าหนด (เครอื่ งบนิ )

4. ระบบตดิ ตามยานพาหนะ
5. ใชใ้ นการกาหนดจดุ พิกดั ผิวโลก เพื่องานด้านระบบสารสนเทศภูมศาสตร์ หรือขอ้ มลู คาวเทียม
6. ใช้ในการสารวจรังวดั ทดี่ ิน การสารวจพืน้ ท่ี และการทาแผนที่
7. ใช้ในกิจกรรมทางทหาร
8. ใชใ้ นการศกึ ษาด้านภมู ิศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
9. การสารวจพนื้ ท่ี และการทาแผนท่ี
10. ใช้ตดิ ตามการเคลอ่ื นที่ของคน ส่ิงของ
11. ใช้ในการควบคุมเครื่องจักร เชน่ เคร่ืองจกั รทางการเกษตร
12. ใชใ้ นการขนส่งทางทะเล
13. ตรวจวัดการเคล่อื นตวั ของเปลอื กโลกและสิ่งก่อสรา้ ง
14. ใชอ้ า้ งอิงในการวดั เวลาทเี่ ทย่ี งตรงท่ีสดุ ในโลก
15. ใชใ้ นการออกแบบเครือข่ายคานวณตาแหนง่ ที่ต้ัง เช่น โรงไฟฟ้า ระบบนา้ มัน
16. ใชต้ ิดตามความปลอดภยั ดา้ นสิ่งแวดล้อม
17. ใชใ้ นการติดตามอนุรักษ์และควบคุมสตั ว์
18. ประยุกต์ใชด้ า้ นกีฬา
19. ใช้ในการเดนิ ทางท่องเท่ียว
20. ใช้ในดา้ นความม่ันคงทางทหาร
21. ใช้สารวจรงั วดั ทาแผนที่
ระบบ GIS
ความหมายและหลกั การ

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) หมายถงึ เครือ่ งมอื ที่ใชร้ ะบบ
คอมพวิ เตอร์เพื่อใช้ในการนาเขา้ จดั เก็บ จัดเตรียม ดดั แปลง แกไ้ ข จัดการ และวเิ คราะห์ พร้อมท้งั แสดงผลข้อมลู
เชงิ พนื้ ท่ี ตามวตั ถุประสงค์ตา่ งๆ ที่ได้กาหนดไว้

ดงั น้ัน GIS จงึ เปน็ เครอ่ื งมือท่ีมีประโยชนเ์ พอื่ ใช้ในการจัดการ และบริหารการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
และสามารถติดตามการเปล่ียนแปลงขอ้ มลู ด้านพ้ืนที่ ให้เปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ เนือ่ งจากเป็นระบบทเี่ กย่ี วข้อง
กับระบบการไหลเวียนของข้อมลู และการผสานข้อมูลจากแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ งๆ เช่น ขอ้ มูลปฐมภมู ิ (primary data)
หรือข้อมลู ทตุ ิยภมู ิ (secondary data) เพอ่ื ให้เปน็ ขา่ วสารทม่ี ีคุณคา่

องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์

ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ มีองคป์ ระกอบทสี่ าคัญหลายอยา่ ง แต่ละอยา่ งล้วนเป็นองค์ประกอบที่สาคัญ
ทงั้ สิ้น แตท่ ่ีสาคัญประกอบดว้ ย 4 สว่ น คือ
1. ข้อมลู (Data/Information) ข้อมูลท่จี ะนาเข้าสรู่ ะบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ ควรเป็นขอ้ มลู เฉพาะเร่อื ง (theme)
และเปน็ ข้อมูลทส่ี ามารถนามาใชใ้ นการตอบคาถามตา่ งๆ ไดต้ รงตามวัตถปุ ระสงค์ เปน็ ข้อมลู ท่ีมีความถูกต้องและ
เชอ่ื ถือได้ และเป็นปัจจุบนั มากที่สุด อนง่ึ ข้อมลู หรือสารสนเทศสามารถแบง่ ออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. ข้อมูลที่มีลักษณะเชงิ พื้นที่ (spatial data)
ขอ้ มลู เชงิ พืน้ ที่ เป็นขอ้ มูลท่ีแสดงตาแหนง่ ท่ีตั้งทางภมู ิศาสตร์ (geo-referenced data) ของรูปลักษณ์ของพน้ื ที่
(graphic feature) ซง่ึ มี 2 แบบ คอื
1.1ข้อมลู ทแ่ี สดงทิศทาง (vector data)
ประกอบด้วยลักษณะ 3 อยา่ ง คือ
- ขอ้ มูลจดุ (Point) เชน่ ทต่ี ัง้ หมู่บ้าน โรงเรียน เปน็ ตน้
- ข้อมลู เส้น (Arc or line) เชน่ ถนน แมน่ ้า ทอ่ ประปา เป็นตน้
- ขอ้ มลู พนื้ ท่ี หรือเส้นรอบรปู (Polygon) เชน่ พื้นท่ีป่าไม้ ตวั เมอื ง เป็นตน้
ดังภาพท่ี 2

ข้อมลู ท่ีแสดงเปน็ ตารางกรดิ (raster data) จะเปน็ ลกั ษณะตารางสเ่ี หลยี่ มเลก็ ๆ (Grid cell or pixel) เท่ากนั และ
ตอ่ เน่อื งกันซงึ่ สามารถอา้ งอิงค่า พิกัดทางภูมิศาสตร์ได้ ขนาดของตารางกริด หรอื ความละเอยี ด (resolution) ใน
การเก็บขอ้ มลู จะใหญห่ รือ เลก็ ขน้ึ อยู่กบั การจดั แบง่ จานวนแถว (row) และจานวนคอลั มน์ (column) ตัวอยา่ ง
ข้อมลู ที่จัดเกบ็ โดยใช้ ตารางกริด เชน่ ภาพถา่ ยดาวเทียม Landsat หรือข้อมลู ระดับค่าความสงู (digital elevation
model: DEM) เป็น ตน้

ดงั ภาพท่ี 3

1.2 ข้อมลู อธบิ ายพืน้ ท่ี (non-spatial data or attribute data)
ฐานข้อมลู (Database) เปน็ โครงสร้างของสารสนเทศ (information) ทป่ี ระกอบด้ วยข้ อมู ลเชงิ พน้ื ที่ (spatial
data) และข้ อมู ลอธิบาย (non-spatial) ทมี่ คี วามสัมพั นธ์กั นซง่ึ การจั ดการหรอื การเรียกใช้ ฐานข้ อมู ลจะถูก
ควบคุมโดยโปรแกรม GIS
ดังภาพที่ 4

2. เครือ่ งคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ รวมกันเรยี กวา่ ระบบฮาร์ดแวร์ (hardware) จะ
ประกอบด้วย คอมพวิ เตอร์ อปุ กรณ์นา เขา้ เช่น digitizer scanner อปุ กรณ์อา่ นข้อมลู เก็บรักษา ข้อมลู และ
แสดงผลขอ้ มูล เช่น printer plotter เป็นต้น ซงึ่ อปุ กรณ์แต่ละชนดิ จะมีหนา้ ท่แี ละคุณภาพแตกตา่ ง กนั ออกไป
3. โปรแกรม หรือระบบซอฟตแ์ วร์ (software) software หมายถงึ โปรแกรมทใี่ ชใ้ นการจดั การระบบ และส่งั งาน
ตา่ งๆ เพ่ือใหร้ ะบบฮารด์ แวร์ทา งาน หรือเรียกใชข้ ้อมูลทจี่ ัดเก็บในระบบฐานข้อมูลทา งานตามวัตถปุ ระสงค์
โดยทวั่ ไปชุดคาสงั่ หรอื โปรแกรมของสารสนเทศภูมิศาสตร์ จะประกอบด้วย หน่วยนาเข้าข้อมูล หน่วยเกบ็ ขอ้ มูลและ
การจดั การข้อมูล หน่วยวิเคราะห์ แสดงผล หนว่ ยแปลงข้อมลู และหน่วยโต้ตอบกบั ผใู้ ช้
4. บคุ ลากร (human resources) ประกอบดว้ ย ผู้ใชร้ ะบบ (analyst) และผู้ใช้สารสนเทศ (user) ผ้ใู ช้ระบบหรือ
ผู้ชานาญการ GIS จะต้องมีความชานาญในหนา้ ท่ี และได้รับการฝึกฝนมาแลว้ เป็นอย่างดี พรอ้ มท่จี ะทางานไดเ้ ต็ม
ความสามารถ โดยทว่ั ไปผู้ใชร้ ะบบจะเปน็ ผเู้ ลือกระบบฮารด์ แวร์ และระบบซอฟแวร์ เพอื่ ใหต้ รงตามวัตถุประสงค์
และสนองตอบความต้องการของหนว่ ยงาน
ส่วนผู้ใชส้ ารสนเทศ (User) คอื นักวางแผน หรอื ผ้มู ีอานาจตัดสนิ ใจ (decision-maker) เพื่อนาข้อมลู มาใช้ในการ
แกไ้ ขปัญหาตา่ งๆ

นอกจากองคป์ ระกอบทส่ี าคัญทงั้ 4 สว่ นแลว้ องค์กรท่ีรองรบั (organization) ก็นับว่ามีความสาคญั ต่อการ
ดาเนนิ งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ทั้งนี้เพราะองคก์ รทเี่ หมาะสม และมีวัตถุประสงค์ท่ีสอดคล้องกบั ระบบงาน
สารสนเทศภูมศิ าสตร์ จะสามารถรองรับและให้การสนบั สนุนการนาระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ เขา้ มาใชใ้ นแผนงาน
ขององค์กรได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยไดร้ ับการสนับสนนุ งบประมาณ อุปกรณ์ และบุคลากรที่เหมาะสมกบั หนา้ ท่ี
การวเิ คราะห์ขอ้ มูลในระบบ
สารสนเทศภมู ิศาสตร์ (GIS) มีความสามารถในการนาขอ้ มลู เชิงพน้ื ทห่ี ลายๆ ชน้ั ข้อมูล (layers) มาซ้อนทับกนั
(overlay) เพื่อทาการวเิ คราะห์ และกาหนดเงื่อนไขต่างๆ โดยใช้คอมพิวเตอร์ตามวัตถุประสงค์ หรือตามแบบจาลอง
(model) ตา่ งๆ ซึง่ อาจเป็นการเรยี กคน้ ข้อมลู อย่างงา่ ย หรอื ซับซ้อน เชน่ โมเดลทางสถิติ หรอื โมเดลทาง
คณติ ศาสตร์ เปน็ ต้น
ทั้งน้ี เน่อื งจากชน้ั ขอ้ มูลตา่ งๆ ถูกจัดเกบ็ โดยอ้างองิ คา่ พกิ ัดทางภมู ศิ าสตร์ และมีการจัดเก็บอย่างมีระบบ และ
ประมวลผลโดยใชเ้ ครื่องคอมพิวเตอร์ ผลท่ไี ด้รบั จากการวเิ คราะห์ จะเป็นช้ันข้อมลู อกี ลักษณะหนง่ึ ที่แตกต่างไปจาก
ชัน้ ข้อมลู เดิม
ดังภาพท่ี 5

ประโยชนข์ อง GIS
GIS เป็นระบบสารสนเทศที่รวบรวมขอ้ มลู เชิงพ้นื ท่ี (spatial data) และข้อมลู อธบิ ายตา่ งๆ (attribute

data) ดังนน้ั จงึ มีประสิทธิภาพในการวิเคราะห์ และตอบคาถามเกีย่ วกับความสัมพันธด์ ้านพื้นท่ไี ดห้ ลายประการ ซง่ึ
สามารถแบ่งออกได้เปน็ 5 ประเภท คอื

1. Location what is at …? มีอะไรอยทู่ ีไ่ หน คาถามแรกท่ี GIS สามารถตอบได้ คอื มีอะไรอยู่ท่ีไหน หาก
ผถู้ ามร้ตู าแหน่งที่แนน่ อน เชน่ ทราบช่อื หมู่บา้ น ตาบล หรืออาเภอแตต่ ้องการรู้วา่ ที่ตาแหน่งน้ันๆ ทีร่ ายละเอยี ด
ขอ้ มลู อะไรบ้าง

2. Condition Where is it? สงิ่ ทีอ่ ยากทราบอยู่ท่ีไหน คาถามนี้จะตรงกนั ขา้ มกับคาถามแรก และต้องมี
การวเิ คราะห์ขอ้ มูล ยกตวั อย่างเชน่ เราต้องการ ทราบวา่ บริเวณใดมีดนิ ทีเ่ หมาะสมต่อการปลูกพชื อยู่ใกล้แหลง่ นา้
และไม่อยใู่ นเขตป่าอนรุ กั ษ์ เป็นต้น

3. Trends what has changed since…? ในช่วงระยะท่ีผา่ นมามอี ะไรเปลยี่ นแปลงบ้าง คาถามทส่ี ามเป็น
การวเิ คราะห์การเปลย่ี นแปลงในระยะช่วงเวลาใดเวลาหนงึ่ ซงึ่ คาถามน้ีจะเก่ยี วข้องกับ คาถามท่หี นงึ่ และคาถามที่
สอง ว่าต้องการทราบการเปล่ียนแปลงของอะไร และสง่ิ ท่ีได้เปล่ียนแปลงอยทู่ ่ีไหน มขี นาดเทา่ ไร เปน็ ตน้

4. Patterns what spatial patterns exist? ความสมั พันธด์ ้านพื้นที่เปน็ อย่างไร คาถามนี้คอ่ นขา้ งจะ
ซบั ซอ้ นกวา่ คาถามที่ 1-3 ตวั อยา่ งของคาถามน้ี เชน่ เราอยากทราบวา่ ปัจจัยอะไร เป็นสาเหตขุ องการเกิดโรคท้องร่วง
ของคนที่อาศัยอยเู่ ชงิ เขา หรือเช้อื โรคมาจากแหลง่ ใด การตอบคาถามดงั กล่าว จาเปน็ ต้องแสดงที่ตงั้ แหลง่ มลพิษ
ต่างๆ ที่อยู่ใกล้เคียง หรอื อยู่เหนือลาธาร ซงึ่ ลกั ษณะการกระจาย และตาแหน่งทต่ี ั้งของสถานที่ดังกล่าวทาใหเ้ รา
ทราบถงึ ความสัมพนั ธข์ องปัญหาดังกลา่ ว เปน็ ตน้

5. Modeling What if…? จะมีอะไรเกิดขน้ึ หาก คาถามนจี้ ะเกีย่ วข้องกับการคาดการณ์ว่าจะมีอะไรเกิดข้ึน
หากปัจจยั อสิ ระ (Independence factor) ซึง่ เป็นตวั กาหนดการเปลี่ยนแปลงไป ยกตัวอย่างเช่น จะเกิดอะไรข้นึ
หากมกี ารตดั ถนนเขา้ ไปในพน้ื ท่ีปา่ สมบรู ณ์ การตอบคาถามเหล่านบ้ี างคร้ังต้องการข้อมลู อื่นเพิ่มเตมิ หรือใชว้ ิธกี าร
ทางสถิตใิ นการวิเคราะห์ เปน็ ตน้

ใบงานท่ี 3
เร่อื ง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
1. ถ้าตอ้ งการทราบระทางจากทท่ี ่ีหนงึ่ ไปยงั อกี ทีหนึง่ ผู้เรียนจะใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตรช์ นดิ ใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ภาพถา่ ยจากดาวเทยี ม มปี ระโยชน์อยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. แผนท่ี มปี ระโยชนใ์ นดา้ นใดบ้าง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. ถ้าต้องการทราบวา่ ประเทศไทยอยู่ พิกัดภูมิศาสตร์ทีเ่ ทา่ ไหร่ ผ้เู รียนจะใช้เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์ชนิดใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. GIS และ GPS ต่างกนั อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แผนการจัดการเรยี นรู้ แบบพบก
สาระการพัฒนาสังคม ระ
จานวน 3

ครง้ั ที่ หวั เรอื่ ง ตัวชวี้ ัด เนอ้ื หา
13 เศรษฐศาสตร์
3.เลอื กวธิ ีการท่ีมี 3.คุณธรรมในการผลิต
ประสทิ ธิภาพมาใช้ในการ 4.กฎหมาย และข้อมูลการ
ผลิตสินค้าและบรกิ ารได้ คมุ้ ครองผูบ้ ริโภค
4.รแู้ ละเขา้ ใจการใช้
กฎหมาย คมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค

กลมุ่ วชิ าสงั คมศึกษา สค21001 ส่อื การเรียนรู้ การวัดผล/
ะดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ประเมนิ ผล
หน่วยกิต - หนงั สือเรียน - การสังเกต
- ใบงาน - ใบงาน
กิจกรรมการเรยี นรู้ - Internet

ขนั้ ที่ 1 กาหนดสภาพปญั หาการเรียนรู้ - ใบความรู้
1.ครศู ึกษาเนอื้ หาจัดทาปฏิทินการเรยี นรู้
2.รว่ มกับผู้เรียนร้แู จ้งกรอบรายละเอียด
เนื้อหาปฏิทินการเรยี นรู้ ในแตล่ ะสัปดาห์
หลักฐานการเรยี นร้พู ร้อมแจกแบบเรยี น
3.ครชู ้แี จงเนื้อหาวัตถุประสงค์และ
มาตรฐานการเรยี นรู้ในครัง้ นี้
4.ครูสนทนาทกั ทายนกั ศกึ ษาในเรือ่ ง
เลอื กใช้สนิ ค้าใน
ขนั้ ที่ 2 ขั้นแสวงหาขอ้ มลู และการจัด
การเรยี นรู้
1.ครูอธบิ ายคุณธรรมในการผลติ และ
กฎหมายและข้อมลู การคุ้มครองผู้บรโิ ภค
2. ครใู หผ้ เู้ รยี นสารวจตัวเองวา่ ในแตแ่ ละ
วันไดเ้ ลอื กซ้ือสนิ ค้าอุปโภคและบรโิ ภค
ประเภทใดบ้าง เพ่ือใชป้ ระโยชน์อยา่ งไร



มีความเหมาะสมหรือไม่
3. ให้ผู้เรยี นแบ่งกลุม่ ๆ ละ 5-7 คน โดยวิธี
จับฉลาก และให้แต่ละกลมุ่ ชว่ ยกนั ศึกษา
ความหมายของเศรษฐศาสตร์จากแบบเรียน
วิชา สงั คมศึกษา
4.ให้นกั ศกึ ษาสืบค้นข้อมลู จากแหล่งเรยี นรู้
อินเตอร์เน็ต โดยเข้าไปท่ี เวบ็ ไซด์
www.google.com คน้ เรือ่ งกฎหมายและ
ขอ้ มลู การคุ้มครองผบู้ ริโภค คุณธรรมในการ
ผลติ และการบรโิ ภคเพื่อสรุปเปน็ ใบงาน
5.ให้นักศกึ ษาสง่ ตวั แทน เพือ่ นาเสนอ
ความหมาย ของเศรษฐศาสตร์ พร้อมให้
ผู้เรียนทกุ กลุ่มช่วยกนั สรปุ ความหมายของ
เศรษฐศาสตร์
6. ครูและนกั ศกึ ษาร่วมกันสรุปความหมาย
ของเศรษฐศาสตร์ ขอ้ มลู การคุ้มครอง
ผู้บรโิ ภคแล้วบันทกึ ขอ้ มลู ที่ได้รบั ลงในสมุด
ข้นั ท่ี 3 การปฏิบตั แิ ละการนาไปใช้
1.นกั ศึกษาศึกษาค้นควา้ จากใบความรู้
หนงั สอื เรียน
2.นักศึกษาศึกษาค้นคว้าแลว้ ออกมา
นาเสนอใหเ้ พื่อนฟัง



3.ครูและนกั ศกึ ษาสรุปร่วมกันอกี ครั้ง
ขัน้ ที่ 4 การประเมินผลการเรยี นรู้
1.ใบงาน
2.การนาเสนอ
3.การสงั เกต
4.ครูมอบหมายงานให้นักศึกษาไปศึกษา
ค้นคว้าข้อมลู จาก Internet เพิ่มเติม

ใบความรู้ที่ 4
เรือ่ ง กฎหมาย พระราชบัญญัตแิ ละข้อมลู การคุ้มครองผู้บรโิ ภค

สิทธผิ บู้ รโิ ภค 5 ประการ รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เปน็ รฐั ธรรมนญู ฉบับแรกที่
ให้ความสาคัญของการคุ้มครองผู้บริโภค โดยบัญญัตถิ ึงสทิ ธขิ องผบู้ รโิ ภคไวใ้ นมาตรา 57 ว่า"สิทธขิ องบุคคลซงึ่ เป็น
ผูบ้ รโิ ภคยอ่ มได้รบั ความค้มุ ครองท้งั นี้ตามท่ีกฎหมายบญั ญัติ" พระราชบญั ญตั ิค้มุ ครองผู้บรโิ ภค พ.ศ. 2522 ซงึ่ แกไ้ ข
เพ่มิ เติมโดย (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2541 ไดบ้ ญั ญัติสิทธขิ องผู้ บรโิ ภคทีจ่ ะไดร้ บั ความคุ้มครอง ตามกฎหมาย 5 ประการ
ดังน้ี

1. สิทธิทจ่ี ะไดร้ ับข่าวสารรวมท้งั คาพรรณนาคณุ ภาพทถี่ ูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับสนิ คา้ หรือบรกิ าร ได้แก่
สทิ ธทิ ี่ จะได้รบั การโฆษณาหรือการแสดงฉลากตามความเป็นจริงและปราศจากพิษภัยแก่ผู้บรโิ ภค รวมตลอดถึงสิทธิ
ทจี่ ะไดร้ ับทราบ ข้อมลู เก่ียวกับสนิ ค้าหรือบรกิ ารอยา่ งถกู ต้องและเพยี งพอที่จะ ไมห่ ลงผิด ในการซ้ือสินคา้ หรอื รับ
บรกิ ารโดยไมเ่ ป็นธรรม

2. สิทธทิ จ่ี ะมอี ิสระในการเลอื กหาสินค้าหรือบริการ ได้แก่ สทิ ธิท่จี ะเลอื กซอื้ สนิ ค้าหรือรับบรกิ ารโดยความ
สมคั รใจของผู้บรโิ ภค และปราศจากการ ชกั จูงใจอันไมเ่ ปน็ ธรรม

3. สิทธทิ ่ีจะไดร้ ับความปลอดภัยจากการใชส้ ินคา้ หรือบริการ ได้แก่ สิทธิที่จะไดร้ บั สนิ ค้าหรือบรกิ ารที่
ปลอดภัย มสี ภาพและคณุ ภาพได้มาตรฐานเหมาะสมแก่การใช้ ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกายหรือทรัพย์สิน
ในกรณีใช้ตามคาแนะนาหรือระมดั ระวงั ตามสภาพของสินค้าหรือบริการนน้ั แลว้

4. สิทธทิ จ่ี ะไดร้ ับความเปน็ ธรรมในการทาสญั ญา ได้แก่ สทิ ธิทจ่ี ะไดร้ บั ขอ้ สัญญาโดยไม่ถูกเอารดั เอาเปรียบ
จากผู้ประกอบธรุ กิจ

5. สทิ ธทิ จ่ี ะไดร้ บั การพิจารณาและชดเชยความเสียหาย ได้แก่ สิทธิท่ีจะได้รับการคุ้มครองและชดใช้
ค่าเสยี หาย เม่อื มกี ารละเมดิ สิทธิของผู้บรโิ ภคตามข้อ 1, 2, 3 และ 4 ดังกลา่ ว

พระราชบญั ญัติ
ค้มุ ครองผูบ้ รโิ ภค พ.ศ. ๒๕๒๒

ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๒ เปน็ ปที ่ี ๓๔ ในรัชกาลปัจจบุ ัน
พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทร์รมหาภูมิพลอดุลยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ใหป้ ระกาศวา่ โดยที่เปน็
การสมควรมกี ฎหมายว่าด้วยการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคจงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ราพระราชบญั ญตั ิขน้ึ ไว้โดย
คาแนะนาและยนิ ยอมของสภานติ ิบัญญัตแิ หง่ ชาติ ทาหน้าทรี่ ัฐสภา ดงั ต่อไปนี้

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา่ “พระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองผบู้ รโิ ภค พ.ศ.๒๕๒๒”
มาตรา ๒ พระราชบัญญตั นิ ใ้ี ห้ใช้บงั คบั ตง้ั แต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตน้ ไป
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ซอ้ื ” หมายความรวมถึง เช่า เชา่ ซอ้ื หรอื ได้มาไมว่ ่าดว้ ยประการใดๆ โดย
ใหค้ ่าตอบแทนเปน็ เงินหรอื ผลประโยชน์อยา่ งอ่นื “ขาย” หมายความรวมถึง ใหเ้ ช่า ให้เชา่ ซ้ือ หรอื จดั หาให้ไมว่ ่าดว้ ย
ประการใดๆ โดยเรยี กค่าตอบแทนเปน็ เงนิ หรือผลประโยชน์อย่างอื่น ตลอดจนการเสนอหรอื การชกั ชวนเพ่ือการ
ดังกลา่ วด้วย “สินค้า” หมายความว่า ส่ิงของที่ผลิตหรือมีไวเ้ พือ่ ขาย “บริการ” หมายความว่า การรับจดั ทาการงาน
การให้สทิ ธิใดๆ หรอื การใหใ้ ช้หรอื ให้ประโยชน์ในทรัพย์สนิ หรอื กจิ การใดๆ โดยเรยี กคา่ ตอบแทนเป็นเงนิ หรอื
ผลประโยชนอ์ ืน่ แตไ่ มร่ วมถงึ การจา้ งแรงงานตามกฎหมายแรงงาน “ผลิต” หมายความว่า ทา ผสม ปรงุ ประกอบ
ประดิษฐ์ หรือแปรสภาพและหมายความรวมถึงการเปลย่ี นรูป การดัดแปลง การคดั เลอื ก หรอื การแบ่งบรรจุ
“ผ้บู ริโภค” หมายความว่า ผซู้ ้อื หรือผู้ไดร้ ับบรกิ ารจากผู้ประกอบธรุ กิจหรือผู้ซ่งึ ได้รับการเสนอหรอื การชกั ชวนจากผู้
ประกอบธรุ กจิ เพื่อใหซ้ ื้อสนิ ค้าหรอื รบั บรกิ าร และหมายความรวมถึงผ้ใู ช้สนิ คา้ หรือผไู้ ดร้ ับบริการจากผปู้ ระกอบ
ธรุ กจิ โดยชอบ แม้มิไดเ้ ปน็ ผู้เสยี คา่ ตอบแทนก็ตาม” “ผูป้ ระกอบธรุ กิจ” หมายความว่า ผ้ขู าย ผ้ผู ลติ เพ่ือขาย ผสู้ ่ัง
หรือนาเขา้ มาในราชอาณาจักรเพ่อื ขายหรือผ้ซู ้ือเพอ่ื ขายต่อซง่ึ สนิ คา้ หรอื ผ้ใู ห้บรกิ าร และหมายความรวมถงึ ผู้
ประกอบกจิ การโฆษณาดว้ ย “ขอ้ ความ” หมายความรวมถึงการกระทาให้ปรากฏดว้ ยตวั อักษร ภาพ ภาพยนตร์ แสง
เสยี ง เคร่อื งหมายหรือการกระทาอย่างใดๆ ทที่ าให้บุคคลท่ัวไปสามารถเข้าใจความหมายได้ “โฆษณา” หมายความ
ถงึ กระทาการไมว่ า่ โดยวธิ ใี ดๆ ให้ประชาชนเห็นหรือทราบข้อความ เพอื่ ประโยชน์ในทางการคา้
“ส่ือโฆษณา” หมายความวา่ สง่ิ ที่ใชเ้ ป็นส่อื ในการโฆษณา เช่นหนังสือพมิ พ์สิ่งพิมพ์ วิทยกุ ระจายเสียง วทิ ยุโทรทศั น์
ไปรษณยี โ์ ทรเลขโทรศพั ท์ หรอื ปา้ ย “ฉลาก” หมายความวา่ รูป รอยประดษิ ฐ์ กระดาษหรือส่ิงอื่นใดทีท่ าใหป้ รากฏ
ขอ้ ความเกยี่ วกับสนิ คา้ ซ่ึงแสดงไว้ทสี่ นิ คา้ หรือภาชนะบรรจุหรือหีบห่อบรรจสุ ินค้า หรอื สอดแทรกหรือรวมไว้กบั
สนิ คา้ หรอื ภาชนะบรรจหุ รือหีบห่อบรรจสุ นิ ค้าและหมายความรวมถึงเอกสารหรือคูม่ ือสาหรบั ใช้ประกอบกับสินค้า
ป้ายทตี่ ดิ ต้งั หรือแสดงไวท้ ี่สนิ คา้ หรือภาชนะบรรจหุ รอื หบี ห่อบรรจสุ นิ ค้านั้น “สัญญา” หมายความวา่ ความตกลงกนั
ระหวา่ งผบู้ รโิ ภคและผปู้ ระกอบธุรกจิ เพอ่ื ซ้ือและขายสนิ คา้ หรือให้และรบั บริการ “คณะกรรมการ” หมายความวา่
คณะกรรมการคุ้มครองผบู้ ริโภค “กรรมการ” หมายความว่า กรรมการคุ้มครองผู้บรโิ ภค “พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี”
หมายความว่า ผู้ซงึ่ รฐั มนตรีแตง่ ต้ังให้ปฏิบตั กิ ารตามพระราชบัญญตั นิ ี้ “รัฐมนตรี” หมายความวา่ รฐั มนตรีผูร้ กั ษา
การตามพระราชบัญญัตนิ ี้
มาตรา ๔ ผ้บู รโิ ภคมีสิทธิไดร้ ับความคุม้ ครองดงั ต่อไปนี้ (๑) สิทธิทจ่ี ะได้รบั ข่าวสารรวมท้ังคาพรรณา
คณุ ภาพท่ถี ูกตอ้ งและเพยี งพอเก่ียวกับสินคา้ หรือบรกิ าร (๒) สทิ ธทิ จี่ ะมีอิสระในการเลือกหาสนิ ค้าหรือบริการ (๓)
สิทธิทีจ่ ะไดร้ ับความปลอดภยั จากการใช้สนิ ค้าหรือบริการ (๓ ทวิ) สทิ ธิท่ีจะไดร้ ับความเป็นธรรมในการทาสญั ญา (๔)

สิทธิท่จี ะได้รับการพจิ ารณาและชดเชยความเสยี หาย ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายวา่ ดว้ ยการนัน้ ๆ หรอื พระราชบัญญตั ิน้ี
บัญญัตไิ ว้

มาตรา ๕ ในการปฏิบตั ิหนา้ ที่ตามพระราชบัญญตั นิ ี้ ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ท่ีมีอานาจดงั ต่อไปน้ี (๑) นับ ช่งั
ตวง วัด ตรวจสินค้า และเก็บหรอื นาสนิ ค้าในปริมาณพอสมควรไปเปน็ ตัวอยา่ งเพ่ือทาการทดสอบโดยไม่ตอ้ งชาระ
ราคาสนิ ค้านั้น ทง้ั นี้ ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการกาหนด (๒) คน้ ยึด หรอื อายดั สนิ ค้า ภาชนะหรอื หีบหอ่ บรรจุ
สนิ ค้าฉลากหรอื เอกสารอ่ืนท่ีไม่เป็นไปตามพระราชบญั ญัติน้ีเพ่ือประโยชนใ์ นการดาเนินคดีในกรณีท่มี เี หตุอนั ควร
สงสยั วา่ มีการกระทาผดิ ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี (๓) เข้าไปในสถานทหี่ รือยานพาหนะใดๆ เพ่อื ตรวจสอบการผลิต
สินคา้ การขายสินค้าหรอื บริการ รวมท้ังตรวจสอบสมุดบัญชี เอกสารและอุปกรณท์ ่ีเก่ียวขอ้ งของผู้ประกอบธรุ กจิ ใน
กรณีท่มี ีเหตอุ ันควรสงสยั ว่ามกี ารกระทาผิดตามพระราชบัญญตั นิ ้ี (๔) มีหนงั สอื เรยี กให้บคุ คลใดๆ มาให้ถ้อยคา หรอื
ส่งเอกสารและหลกั ฐานท่จี าเปน็ เพ่อื ประกอบการพิจารณาของพนักงานเจา้ หนา้ ที่ ในการปฏบิ ตั ิหน้าทีต่ ามวรรคหนึ่ง
ใหผ้ ูท้ ่ีเกย่ี วข้องอานวยความสะดวกตามสมควร

มาตรา ๖ ในการปฏิบัตหิ น้าทตี่ ามมาตรา ๕ (๓) ถา้ ไม่เป็นการเร่งด่วนให้พนักงานเจา้ หน้าที่แจ้งเป็นหนงั สือ
ให้เจา้ ของหรอื ผู้ครอบครองสถานทีห่ รอื ยานพาหนะน้นั ทราบล่วงหนา้ ตามสมควรก่อน และใหก้ ระทาการต่อหน้าผู้
ครอบครองสถานทห่ี รอื ยานพาหนะ หรอื ถ้าเจ้าของหรอื ผู้ครอบครองไม่อยูใ่ นทน่ี ั้น ก็ใหก้ ระทาต่อหนา้ บุคคลอ่นื อยา่ ง
น้อยสองคนซงึ่ พนักงานเจา้ หน้าทไี่ ด้ร้องขอมาเปน็ พยาน การค้นตามมาตรา ๕ (๒) ใหพ้ นักงานเจา้ หนา้ ท่ีกระทาได้
เฉพาะเวลาระหวา่ งพระอาทติ ย์ขน้ึ ถึงพระอาทติ ย์ตก

มาตรา ๗ ในการปฏิบัติหน้าทตี่ ามพระราชบญั ญัตนิ ้ี พนักงานเจา้ หนา้ ทตี่ ้องแสดงบัตรประจาตัวเมื่อผู้ท่ี
เกีย่ วขอ้ งร้องขอบตั รประจาตัวของพนักงานเจา้ หน้าที่ ให้เป็นไปตามแบบท่ีกาหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๘ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี และใหม้ ีอานาจแต่งต้ังพนักงานเจา้ หน้าท่ี และ
ออกกฎกระทรวงเพ่ือปฏบิ ัติการตามพระราชบญั ญัตินี้กฎกระทรวงน้ัน เมื่อประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแล้ว ใหใ้ ช้
บงั คบั ได้

หมวด ๑
คณะกรรมการค้มุ ครองผู้บริโภค
มาตรา ๙ ใหม้ คี ณะกรรมการคณะหนึ่งเรยี กวา่ “คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค” ประกอบดว้ ย
นายกรฐั มนตรี เป็นประธานกรรมการ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ปลดั สานักนายกรัฐมนตรี ปลดั กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ ปลดั กระทรวงพาณิชย์ ปลดั กระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงอตุ สาหกรรม ปลัดกระทรวงคมนาคม
เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา และผทู้ รงคุณวุฒิอีกไม่เกินแปดคนซ่ึงคณะรัฐมนตรแี ตง่ ตั้งเป็นกรรมการ
และเลขาธิการคณะกรรมการคุม้ ครองผูบ้ รโิ ภค เป็นกรรมการและเลขานุการ
มาตรา ๑๐ คณะกรรมการมีอานาจและหน้าทีด่ งั ต่อไปน้ี (๑) พิจารณาเรื่องราวรอ้ งทกุ ข์จากผูบ้ ริโภคทไ่ี ดร้ ับ
ความเดอื ดร้อนหรือเสียหายอันเนอ่ื งมาจากการกระทาของผู้ประกอบธุรกิจ (๒) ดาเนินการเกีย่ วกบั สินค้าทอี่ าจเป็น
อนั ตรายแกผ่ ูบ้ ริโภคตามมาตรา ๓๖ (๓) แจง้ หรอื โฆษณาข่าวสารเก่ยี วกบั สินค้าหรือบริการทอี่ าจก่อใหเ้ กิดความ
เสียหายหรอื เสื่อมเสยี แกส่ ทิ ธิของผูบ้ รโิ ภค ในการน้จี ะระบุชอ่ื สนิ คา้ หรอื บริการ หรือชอื่ ของผปู้ ระกอบธรุ กจิ ด้วยก็ได้
(๔) ให้คาปรึกษาและแนะนาแกค่ ณะกรรมการเฉพาะเรื่อง และพิจารณาวินจิ ฉัยการอทุ ธรณ์คาสงั่ ของคณะกรรมการ

เฉพาะเรอ่ื ง (๕) วางระเบยี บเกีย่ วกบั การปฏบิ ตั หิ น้าท่ีของคณะกรรมการเฉพาะเร่ืองและคณะอนกุ รรมการ (๖)
สอดส่องเร่งรดั พนักงานเจา้ หนา้ ท่ี สว่ นราชการ หรอื หนว่ ยงานอืน่ ของรฐั ให้ปฏบิ ตั ิการตามอานาจและหน้าที่ท่ี
กฎหมายกาหนด ตลอดจนเรง่ รดั พนักงานเจ้าหนา้ ทใ่ี หด้ าเนินคดใี นความผิดเกย่ี วกับการละเมิดสิทธขิ องผ้บู ริโภค
(๗) ดาเนนิ คดีเกย่ี วกบั การละเมดิ สทิ ธิของผบู้ รโิ ภคท่ีคณะกรรมการเหน็ สมควร หรือมีผู้รอ้ งขอตาม มาตรา ๓๙ (๘)
รบั รองสมาคมตามมาตรา ๔๐ (๙) เสนอความเหน็ ต่อคณะรัฐมนตรเี กี่ยวกบั นโยบายและมาตรการในการคมุ้ ครอง
ผบู้ ริโภค และพิจารณาให้ความเห็นในเรื่องใด ๆ ที่เกยี่ วกบั การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคตามทีค่ ณะรัฐมนตรหี รือรฐั มนตรี
มอบหมาย (๑๐) ปฏิบัติการอ่ืนใดตามที่มีกฎหมายกาหนดไว้ใหเ้ ปน็ อานาจและหน้าท่ีของคณะกรรมการ ในการ
ปฏิบตั หิ นา้ ทต่ี ามมาตราน้ี คณะกรรมการอาจมอบหมายใหส้ านักงานคณะกรรมการคมุ้ ครองผ้บู ริโภคเปน็ ผู้
ปฏบิ ตั ิการหรือเตรียมข้อเสนอมายังคณะกรรมการเพอื่ พจิ ารณาดาเนินการตอ่ ไปได้ มาตรา ๑๑ ใหก้ รรมการซ่งึ
คณะรัฐมนตรแี ตง่ ตงั้ อยใู่ นตาแหนง่ คราวละสามปี กรรมการทพ่ี น้ จากตาแหนง่ อาจไดร้ ับแต่งตงั้ อีกได้ มาตรา ๑๒
นอกจากการพ้นจากตาแหนง่ ตามวาระตาม

มาตรา ๑๑ กรรมการซ่ึงคณะรัฐมนตรแี ต่งต้ังพน้ จากตาแหน่ง เม่ือ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะรฐั มนตรี
ใหอ้ อก (๔) เปน็ บุคคลล้มละลาย (๕) เป็นคนไร้ความสามารถหรอื คนเสมือนไร้ความสามารถ (๖) ได้รบั โทษจาคุกโดย
คาพิพากษาถึงท่สี ดุ ให้จาคุก เว้นแตเ่ ปน็ โทษสาหรบั ความผิดทไ่ี ด้กระทาโดยประมาทหรอื ความผดิ ลหโุ ทษ ในกรณีที่
กรรมการพน้ จากตาแหน่งก่อนวาระ คณะรัฐมนตรอี าจแต่งต้ังผู้อนื่ เป็นกรรมการแทนได้และให้ผ้ทู ี่ไดร้ บั แต่งตัง้ ให้
ดารงตาแหนง่ แทนอยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลอื อย่ขู องกรรมการซงึ่ ตนแทน ในกรณีท่คี ณะรัฐมนตรีแตง่ ต้งั
กรรมการเพ่มิ ข้นึ ในระหวา่ งท่ีกรรมการซึ่งแตง่ ต้ังไวแ้ ล้วยังมีวาระอยู่ในตาแหน่ง ใหผ้ ทู้ ่ไี ด้รับแตง่ ตง้ั ใหเ้ ป็นกรรมการ
เพิ่มขนึ้ อยู่ในตาแหนง่ เท่ากบั วาระท่ีเหลืออยู่ของกรรมการท่ีไดร้ ับแตง่ ต้ังไวแ้ ล้ว

มาตรา ๑๓ ในการประชุมคณะกรรมการ ถา้ ประธานกรรมการไมม่ าประชุมหรือไม่อยใู่ นท่ปี ระชมุ ให้
กรรมการที่มาประชมุ เลอื กกรรมการคนหนง่ึ เป็นประธานในท่ปี ระชมุ การประชมุ คณะกรรมการทุกคราวต้องมี
กรรมการมาประชมุ ไมต่ ่ากวา่ ก่งึ หนงึ่ ของจานวนกรรมการท้ังหมด จึงจะเปน็ องค์ประชุม การวนิ ิจฉยั ชี้ขาดของที่
ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหน่ึงใหม้ เี สยี งหน่ึงในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสยี งเทา่ กัน ให้ประธานในที่
ประชุมออกเสยี งเพิม่ ข้นึ อีกเสียงหนึ่งเป็นเสยี งชี้ขาด

มาตรา ๑๔ ให้มีคณะกรรมการเฉพาะเรอื่ ง ดังตอ่ ไปน้ี (๑) คณะกรรมการวา่ ดว้ ยการโฆษณา
(๒) คณะกรรมการว่าด้วยฉลาก คณะกรรมการเฉพาะเร่ือง ประกอบด้วยกรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ใิ นเร่อื งที่เกยี่ วข้อง
ตามท่ีคณะกรรมการแตง่ ต้ังข้ึน มีจานวนไมน่ ้อยกวา่ เจ็ดคนแต่ไมเ่ กนิ สิบสามคน กรรมการเฉพาะเร่ือง อยู่ในตาแหนง่
คราวละสองปี และให้นามาตรา ๑๑ วรรคสอง และมาตรา ๑๒ มาใช้บังคับโดยอนุโลม คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง มี
อานาจและหน้าทีต่ ามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินแ้ี ละตามท่คี ณะกรรมการมอบหมาย (๓) คณะกรรมการวา่ ดว้ ย
สญั ญา

มาตรา ๑๕ คณะกรรมการและคณะกรรมการเฉพาะเรอื่ ง จะแต่งตงั้ คณะอนุกรรมการเพ่ือพจิ ารณาหรือ
ปฏิบตั ิการอยา่ งหนึ่งอย่างใดตามทีค่ ณะกรรมการหรือคณะกรรมการเฉพาะเรื่องมอบหมายก็ได้

มาตรา ๑๖ การประชมุ ของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องและคณะอนกุ รรมการให้นามาตรา ๑๓ มาใช้บังคับ
โดยอนุโลม

มาตรา ๑๗ คณะกรรมการและคณะกรรมการเฉพาะเรื่องมีอานาจสั่งให้บุคคลหน่งึ บุคคลใดสง่ เอกสารหรือ
ขอ้ มลู ที่เกยี่ วกับเรื่องที่มีผูร้ ้องทกุ ข์หรือเรือ่ งอน่ื ใดทีเ่ กยี่ วกบั การคมุ้ ครองสิทธขิ องผู้บรโิ ภคมาพจิ ารณาได้ ในการนจ้ี ะ
เรียกบุคคลท่ีเกยี่ วข้องมาชี้แจงด้วยก็ได้

มาตรา ๑๘ ในการปฏบิ ตั หิ น้าท่ีตามพระราชบัญญัตินี้ คณะกรรมการหรอื คณะกรรมการเฉพาะเรอ่ื งตอ้ งให้
โอกาสแกผ่ ู้ถูกกลา่ วหาหรือสงสัยว่ากระทาการอันเป็นการละเมดิ สทิ ธขิ องผู้บรโิ ภค เพ่ือชี้แจงข้อเท็จจริงและแสดง
ความคดิ เห็นตามสมควร เวน้ แต่ในกรณีทีจ่ าเป็นและเร่งดว่ น การกาหนดหรือการออกคาส่งั ในเรือ่ งใดตาม
พระราชบญั ญตั ิน้ี ใหค้ ณะกรรมการหรือคณะกรรมการเฉพาะเรอ่ื งคานึงถงึ ความเสยี หายที่อาจเกดิ ขน้ึ แก่ท้ังผู้บริโภค
และผู้ประกอบธรุ กจิ และในกรณีทเี่ หน็ สมควรคณะกรรมการหรือคณะกรรมการเฉพาะเรื่องจะกาหนดเง่ือนไขหรือ
วิธีการช่วั คราวในการบงั คับให้เปน็ ไปตามการกาหนดหรอื การออกคาสง่ั นนั้ ก็ได้

มาตรา ๑๙ ให้จดั ตง้ั สานักงานคณะกรรมการค้มุ ครองผบู้ รโิ ภคขนึ้ ในสานักนายกรฐั มนตรใี หม้ เี ลขาธิการ
คณะกรรมการคุ้มครองผบู้ ริโภคมอี านาจหนา้ ทคี่ วบคุมดแู ลโดยทวั่ ไปและรับผิดชอบในการปฏิบัตริ าชการของ
สานักงานคณะกรรมการคุม้ ครองผ้บู รโิ ภค และจะให้มรี องเลขาธิการและผชู้ ่วยเลขาธกิ ารเป็นผชู้ ว่ ยปฏิบัติราชการ
ดว้ ยก็ได้

มาตรา ๒๐ ให้สานกั งานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บรโิ ภคมีอานาจและหน้าทีด่ งั ต่อไปน้ี (๑) รบั เรือ่ งราวรอ้ ง
ทกุ ข์จากผู้บริโภคท่ไี ดร้ ับความเดอื ดร้อนหรือเสียหายอันเน่ืองมาจากการกระทาของผู้ประกอบธรุ กจิ เพื่อเสนอต่อ
คณะกรรมการ (๒) ติดตามและสอดส่องพฤตกิ ารณ์ของผูป้ ระกอบธรุ กิจ ซ่งึ กระทาการใดๆ อนั มีลักษณะเป็นการ
ละเมดิ สิทธิของผ้บู ริโภค และจัดใหม้ กี ารทดสอบหรือพสิ จู น์สนิ ค้าหรือบริการใดๆ ตามทเี่ หน็ สมควรและจาเป็นเพือ่
ค้มุ ครองสิทธขิ องผบู้ ริโภค (๓) สนบั สนุนหรือทาการศึกษา วจิ ัยปญั หาเกยี่ วกับการคมุ้ ครองผ้บู รโิ ภครว่ มกบั
สถาบันการศึกษาและหน่วยงานอ่นื (๔) ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ใหม้ ีการศึกษาแก่ผบู้ รโิ ภคในทุกระดับการศึกษา
เก่ยี วกบั ความปลอดภยั และอันตรายทีอ่ าจไดร้ บั จากสินค้าหรอื บริการ (๕) ดาเนินการเผยแพร่วิชาการ และให้ความรู้
และการศึกษาแกผ่ บู้ ริโภคเพื่อสรา้ งนิสยั ในการบริโภคทเี่ ป็นการสง่ เสรมิ พลานามัย ประหยัด และใชท้ รพั ยากรของ
ชาติให้เปน็ ประโยชนม์ ากทสี่ ุด (๖) ประสานงานกบั ส่วนราชการหรือหนว่ ยงานของรัฐท่ีมีอานาจหน้าทีเ่ ก่ยี วกับการ
ควบคมุ สง่ เสรมิ หรือกาหนดมาตรฐานของสินค้าหรอื บรกิ าร (๗) ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามท่คี ณะกรรมการหรือ
คณะกรรมการเฉพาะเร่ืองมอบหมาย

หมวด ๒
การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค
มาตรา ๒๑ ในกรณีที่กฎหมายวา่ ดว้ ยการใดไดบ้ ัญญัตเิ ร่ืองใดไว้โดยเฉพาะแลว้ ใหบ้ ังคับตามบทบญั ญัติแหง่
กฎหมายวา่ ดว้ ยการนนั้ และให้นาบทบญั ญัตใิ นหมวดนีไ้ ปใช้บังคบั ไดเ้ ท่าที่ไมซ่ า้ หรือขัดกับบทบญั ญัตดิ งั กลา่ ว เว้น
แต่ (๑) ในกรณีทม่ี ีความจาเป็นเพือ่ ประโยชนแ์ ก่ผบู้ ริโภคเป็นส่วนรวม หากปรากฏว่าเจ้าหนา้ ทผี่ มู้ อี านาจตาม
กฎหมายดงั กลา่ วยังมไิ ด้มกี ารดาเนนิ การหรอื ดาเนินการยงั ไม่ครบขั้นตอนตามกฎหมายว่าด้วยการน้นั และมิได้ออก
คาสั่งเกย่ี วกับการคุ้มครองผูบ้ ริโภคตามกฎหมายดังกลา่ วภายในเก้าสบิ วันนับแต่วันท่ีไดร้ ับหนังสือแจ้งจาก
คณะกรรมการเฉพาะเรื่องหรือคณะกรรมการ ให้คณะกรรมการเฉพาะเรื่องหรือคณะกรรมการเสนอเรื่องให้
นายกรฐั มนตรีพิจารณาออกคาสง่ั ตามความในหมวดนี้ได้ (๒) ในกรณตี าม (๑) ถา้ มีความจาเปน็ เรง่ ด่วนอนั มิอาจ


Click to View FlipBook Version