The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการปฏิบัติงานของผู้นำองค์กรกิจกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ประจำปีการศึกษา 2558

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Rattana Hokkhee, 2020-07-15 01:24:40

คู่มือกิจกรรมนักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2558

คู่มือการปฏิบัติงานของผู้นำองค์กรกิจกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ประจำปีการศึกษา 2558

คำนำ

คมู่ ือกิจกรรมนักศึกษา ประจาปี 2558 งานกจิ กรรมนักศกึ ษาไดจ้ ัดทาขนึ้ เพ่อื เปน็ แนวทางในการ
กากบั ดแู ล การจดั ทากจิ กรรมนอกหลกั สตู รของนกั ศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปัตตานี
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใหก้ ารดาเนนิ กิจกรรมนักศึกษามีความถกู ตอ้ งตามระเบยี บและ สอดคลอ้ งกับนโยบาย
ของมหาวทิ ยาลัย โดยไดร้ วบรวมขอ้ มลู เนือ้ หา พร้อมตัวอย่างประกอบในแตล่ ะข้นั ตอนของการจดั ทากจิ กรรม
นกั ศกึ ษา ซึ่งเปน็ ความรเู้ บ้อื งต้นท่ผี ู้นาองคก์ รกิจกรรมนักศกึ ษาจะตอ้ งทราบและเรยี นรูก้ อ่ นทีจ่ ะดาเนนิ
กิจกรรม ไดแ้ ก่ ความรใู้ นการเขยี นโครงการภายใต้วงจรคุณภาพ PDCA และขัน้ ตอนการนาเสนอเอกสารใน
การทากจิ กรรมนักศกึ ษา ระเบียบดา้ นการเงนิ การจดั ทาสรุปผลการปฏบิ ตั ิงาน ตลอดจนขอ้ บังคบั ต่าง ๆ
ทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั องคก์ รกิจกรรมนักศึกษา เพอื่ ให้เกิดการเรยี นรู้ การสรา้ งความเขา้ ใจในกระบวนการปฏิบัติงาน
และการดาเนินกจิ กรรมนกั ศกึ ษาได้อย่างเปน็ ระบบ อนั จะสง่ ผลให้สามารถจัดกจิ กรรมนกั ศึกษาไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
และมีประสทิ ธิภาพมากขึ้น

งานกจิ กรรมนกั ศึกษา กองกิจการนักศกึ ษาวิทยาเขตปตั ตานี หวงั เป็นอยา่ งยง่ิ วา่ คู่มอื กิจกรรม
นกั ศึกษา ประจาปี 2558 เล่มน้ีจะเป็นประโยชนส์ าหรับผนู้ าองคก์ รกิจกรรมนกั ศึกษาทุกทา่ นใหส้ ามารถ
บรหิ ารและจัดโครงการต่างๆ ให้บรรลวุ ัตถุประสงค์และเปา้ หมายทีไ่ ด้วางไว้ตอ่ ไป

นางณฏั ฐนันท์ โรจน์สกลุ กจิ
หวั หนา้ งานกิจกรรมนกั ศึกษา

20 กรกฎาคม 2558

สารบญั 1
2
******************* 4-5

สวนที่ 1. นโยบายและแนวทางในการจดั กจิ กรรมนักศกึ ษา 6
- นโยบายในการจัดกจิ กรรมของนกั ศกึ ษา 7-10
- แนวทางในการจัดกจิ กรรมนกั ศึกษา 11-14
- แนะนาํ ผบู รหิ ารและบุคลากรทีค่ วรทราบ 15- 16
17 - 19
สว นที่ 2. การบรหิ ารงานองคก รบริหารองคการนกั ศกึ ษา
- โครงสรา งและสายงานการบรหิ ารขององคก รกิจกรรมนกั ศกึ ษา 20
- บทบาทและหนา ทข่ี องคณะกรรมการบริหารองคการบรหิ ารองคการนักศึกษา 21
- บทบาทและหนา ท่ขี องคณะกรรมการสภานักศึกษา องคก ารนกั ศึกษา 22
- บทบาทและหนาทค่ี ณะกรรมการบริหารสโมสรนักศกึ ษาคณะ 23-24
- บทบาทและหนาท่คี ณะกรรมการบรหิ ารชมรม
25
สว นท่ี 3. แนวปฏิบตั ใิ นการดําเนินกิจกรรมโครงการเพื่อพัฒนานกั ศึกษา 26
- การเขียนโครงการภายใตว งจรคณุ ภาพ PDCA 27
- ขน้ั ตอนการเขียนโครงการ 28
- รูปแบบการเขียนโครงการประจําปก ารศกึ ษา 2558 29
- การขออนมุ ตั จิ ดั กจิ กรรม 30
- ขน้ั ตอนการเสนอขออนมุ ตั จิ ัดกจิ กรรม 31
1.องคการบรหิ ารองคการนกั ศึกษา/สภานักศกึ ษา 32
2. สโมสรนักศึกษา 33
3. ชมรมกิจกรรมนกั ศกึ ษา 34
4. กลุม นักศกึ ษาวิชาเอก
5. กลุมนกั ศึกษาทั่วไป/พรรคนกั ศกึ ษา 35-37
- ขน้ั ตอนการขออนุมตั เิ ปล่ียนแปลงวัน เวลา และสถานทกี่ ารจดั โครงการ 38
- การยืมเงินทดรองจา ย 39-40
- ขน้ั ตอนการขออนุมัตเิ บกิ จา ยเงิน/สะสางหนเี้ งินยมื 14-43
- การตดิ ตอประสานงานหนวยงานภายนอกมหาวทิ ยาลยั
- การตดิ ตอ ขอใชบ ริการรถยนตข องมหาวทิ ยาลัย

สว นท่ี 4. การเงนิ และงบประมาณการจัดกิจกรรม
- อตั ราคาใชจายและเอกสารประกอบการเบกิ จาย
- อัตราคา เชาเหมารถโดยสารประจาํ ทาง ปการศกึ ษา 2558
- ขอตกลงความรวมมอื การดาํ เนินการรณรงค ลด ละ เลกิ การใชภาชนะโฟม
- รายละเอยี ด/ราคาผลิตภัณฑเกรซซมิ เปล บรรจุภฑั ณท างเลือกเพ่ือสิ่งแวดลอม

สว นที่ 5. แบบฟอรม เอกสารทค่ี วรทราบ 44-48
- แบบฟอรม ขออนุมัตจิ ดั กิจกรรม 49
- แบบฟอรมขออนุมตั เิ ปลีย่ นแปลงการจดั โครงการ 50-52
- แบบฟอรมขอยมื เงนิ ทดรองจาย 53-54
- แบบฟอรม ขออนุมัตเิ บิก 55
- แบบฟอรมหนงั สือบนั ทกึ ขอ ความ 56-57
- แบบฟอรม ใบสําคญั รบั เงนิ คาอาหารและอาหารวา ง 58-59
- แบบฟอรมใบสําคญั รบั เงิน คาตอบแทนวทิ ยากร/ตัวอยางหนังสือเชิญเปน วิทยากร
60
สวนท่ี 6. ตัวอยางหลกั ฐานการเบกิ เงินท่ถี กู ตอ ง 61
- ใบสําคัญรับเงินคาตอบแทนวิทยากร 62-63
- ใบสําคญั รบั เงินคาอาหารกลางวนั 64
- ใบสาํ คัญรับเงนิ คา เครื่องดมื่ /หลกั ฐานแนบใบสําคญั รบั เงนิ คาเครื่องดืม่ 65
- ใบเสรจ็ รบั เงินคาเชาเครอ่ื งเสียง 66
- ใบเสรจ็ รบั เงินคาถา ยเอกสาร 67
- ใบเสรจ็ รบั เงนิ คา วัสดุ 68
- ใบเสรจ็ รบั เงนิ คา อาหาร 69 -71
- ใบเสรจ็ รบั เงนิ คาไวนลิ
- หลักฐานการเบกิ จายคา เชาเหมารถโดยสาร 72
73-74
สวนที่ 7. ประกาศทีเ่ ก่ียวขอ ง 75
- มาตรการปองกันการจัดกจิ กรรมนักศกึ ษา 76
- หลกั เกณฑก ารจัดสรรและใชจา ยเงนิ บํารงุ กจิ กรรมนกั ศกึ ษา 77-78
- หลกั เกณฑและอัตราการจา ยเงนิ ชวยเหลือคาอาหารบุคลากรในการเดนิ ทางฯ
- กาํ หนดพ้นื ท่แี ละแนวปฏิบตั กิ ารทํากจิ กรรมนักศึกษา 79
- หลกั เกณฑก ารใชอาคารกจิ กรรมนักศึกษา
- หลกั เกณฑและแนวปฏิบตั ใิ นการขอใชร ถจกั รยานยนตพ ว งขาง 80-81
82
สว นท่ี 8. แนวปฏิบัติโครงสรางกจิ กรรมเสริมหลักสตู รเพอื่ พฒั นานักศกึ ษา 83
- โครงสรา งกจิ กรรมเสรมิ หลักสตู รเพ่อื พัฒนานักศึกษา 84-85
- การเทียบคาประสบการณผ นู ํากิจกรรมนกั ศกึ ษา
- แบบฟอรม การบันทกึ ชั่วโมงกิจกรรม
- แบบฟอรม บนั ทกึ รายชอื่ ผเู ขา รวมโครงการกจิ กรรมพฒั นานักศึกษา

1

นโยบายในการจัดกจิ กรรมของนกั ศึกษา มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร วทิ ยาเขตปตตานี
“ปริญญาทาํ ใหคนมงี านทํา กจิ กรรมทาํ ใหค นทาํ งานเปน ” จากคําพูดนที้ ําให

นักศึกษานอกจากต้งั ใจเรยี นในหองเรียนเพยี งอยา งเดยี วคงยงั ไมพอ แตย งั มคี วาม
เปน ตองฝก ทักษะการกจิ กรรมนอกหอ งเรียนอีกดวยเพราะรูปแบบของการทํากจิ กรรม
การทาํ กิจกรรมตาง ๆ นั้นมกี ระบวนการ (process) ทีน่ กั ศึกษาจะไดฝ กฝนและ
สามารถเรียนรู เพ่ิมทักษะชีวิตใหกับตนเอง ทําใหนักศึกษามีวิธีคิดหรือ mindset
ทก่ี วางข้นึ มีภมู ิคมุ กันในการอยูร วมกบั ปญ หาทแ่ี ตกตางกัน ซ่ึงโลกแหงความเปนจริงหรือโลกแหงการทํางานน้ัน
ยอ มรายลอมไปดว ยปญ หาและอปุ สรรคท่ีไมส ามารถหลกี เลย่ี ง แตด วยกระบวนการทํากิจกรรมสามารถหลอหลอม
ใหบรรดานกั กิจกรรมทงั้ หลายไดเรยี นรูวธิ ีการแกป ญ หาและสามารถทะลุทะลวงอปุ สรรคตาง ๆ ได
สว นกรอบของนโยบายระดบั มหาวิทยาลยั น้ันคงขอเนนยํ้าหรือใหความสําคัญ เรื่อง “การฝกทักษะการ
ทํางานเปน ทีม” การมสี วนรว มจากทกุ ฝา ยไมเฉพาะทมี งานท่ีจัดโครงการเทานัน้ แตหมายถึงผูเขารวมทุกคนดวย
โดยผานการแสดงออกในเชงิ สรางสรรค เชน การนําเสนอในที่สาธารณะ ซงึ่ จะไดท กั ษะการพูด การใชภ าษา การคิด
วิเคราะหไปดวย ไมเฉพาะภาษาไทยเทานั้น มหาวิทยาลัยฯ ขอสงเสริมและรณรงคการใชภาษาอังกฤษดวย
เพราะภาษาองั กฤษถอื เปน อกี ทกั ษะหน่ึงท่ีจําเปนสําหรับการใชชีวิตในศตวรรษท่ี 21 การพัฒนาทักษะการใช
ภาษาองั กฤษนัน้ ไมอยากใหเกิดขึ้นเฉพาะในหอ งเรยี นเทานั้น แตควรจะเกิดขึ้นหรือใชในชีวิตจริงดวย ใชสําหรับ
การส่อื สารจริง นกั ศึกษาตอ งกาวขา มความอายและกลา ที่จะใชภาษาอังกฤษใหไดกอนในระยะแรก โดยไมอายท่ี
พดู ผดิ กอ น เม่อื เรากลา พูดแลว ความถูกตอ งทางภาษาสามารถนาํ มาพฒั นาตอ ยอดได ตลอดจนสรา งความเขาใจใน
วฒั นธรรมทห่ี ลากหลาย เปด ใจยอมรบั ความแตกตางในสิง่ ทไี่ มใ ช “ความเปนตัวเรา” มากข้ึน เพราะโลกในความ
เปน จริงแลว เปนเรื่องที่เปนไมไดท่ีจะทําใหทุกคนมีความคิดเหมือนเรา สรุปคือทักษะทั้งหมดท่ีกลาวมาขางตน
อยากใหน กั ศกึ ษาที่ทาํ กิจกรรมโดยเฉพาะกลมุ นักศกึ ษาทอี่ อกแบบกิจกรรมไดตระหนัก และพยายามนําประเด็น
เหลานไี้ ปสูระดับปฏิบตั กิ ารใหได ผานโครงการตาง ๆ ซึ่งในหน่ึงกิจกรรมน้ันสามารถบูรณาการหลายทักษะเขา
ดว ยกนั ได
โลกของเราในปจ จุบันมกี ารเปล่ียนแปลงไปเรว็ มาก บางครั้งนักศึกษาที่อยูในร้ัวมหาวิทยาลัยไมสามารถ
ตามทันตอกระแสการเปลี่ยนแปลงน้ีทัน โลกยุคใหมใหความสําคัญกับทักษะ (skills) มากกวาเนื้อหา
(contents) เพราะเนื้อหาในโลกปจจุบันมีการเปล่ียนชุดเร็วมาก และหลาย ๆ คร้ังสามารถตรวจสอบไดทาง
อินเทอรเ นต็ แตเ รอ่ื งทักษะนน้ั มีการฝงตัว (embed) อยูในตัวของนักศึกษาแตละคน ไมสามารถสรางทักษะได
ผา นอนิ เทอรเ นต็ หรือทาํ ครั้งเดียวเกิดทักษะเลย แตถาอยากไดทักษะขางตนตองลงมือทําเทาน้ัน ยิ่งทําบอยแค
ไหน นกั ศกึ ษากจ็ ะเกดิ ทักษะมากข้นึ เทา นัน้ และสุดทา ยทกั ษะจะสามารถฝง อยใู นตวั ของนักศกึ ษาไปตลอดชีวติ

ดร. นายบดนิ ทร แวลาเตะ
รองอธกิ ารบดฝี ายพัฒนานกั ศึกษา วทิ ยาเขตปตตานี

2

 แนวทางในการจดั กิจกรรมนกั ศึกษา
1. กิจกรรมดานบาํ เพญ็ ประโยชนและรักษาส่งิ แวดลอม
1.1 สงเสรมิ โครงการที่สอดคลองกับความชํานาญของนักศึกษาสอดคลองกับแผนพัฒนาความ
พรอมของชุมชน เพื่อใหชุมชนสามารถดูแล รักษา และพัฒนา ใหผลของกิจกรรมคงอยูอยางยืนยาว
ตอ ไป และใหค วามสาํ คญั ตอกิจกรรมท่สี ามารถพฒั นาชุมชนในลกั ษณะการพฒั นาแบบยั่งยนื
1.2 สง เสริมโครงการที่ใหนักศึกษาไดเรียนรูกระบวนการ เรียนรูการทํางาน และตระหนักรูถึง
ความเสียสละ และหนาท่ขี องปญญาชนในการรบั ใชสังคม
1.3 การดาํ เนนิ งานควรเนน ท่ตี ัวนกั ศึกษา ใหนักศกึ ษาเปน ผูด ําเนนิ การเองภายใตการแนะนาํ ของ
อาจารยที่ปรึกษา เพ่ือใหน ักศึกษาไดรบั ประสบการณ ไดฝ กปฏิบตั ิในการทําโครงการดว ยตนเอง
1.4 การเลือกพื้นท่ีดําเนินโครงการ ควรคํานึงถึงปลอดภัยเปนสําคัญ การคมนาคมไมหางไกล
มีความสะดวกพอสมควร และงายตอ การตดิ ตามและประเมนิ ผล
1.5 ไมเปน การสรา งถาวรวตั ถขุ นาดใหญ เนน การซอมแซม ปรับปรงุ และพฒั นาอาคาร, สถานท,่ี
สนามกีฬา หากมงี บประมาณสนบั สนนุ วสั ดกุ อสรางจากหนวยงานอืน่ งบกิจกรรมนักศกึ ษา จะสนบั สนนุ
เฉพาะคาใชจ ายในการดําเนนิ การเทานนั้
1.6 เนน พ้นื ทก่ี ารพัฒนากลุม เปา หมาย ไดแก
1.6.1 สังคมชนบทและกลมุ ผดู อ ยโอกาส
1.6.2 ในพน้ื ท่ีชมุ ชนรอบมหาวิทยาลยั
1.6.3 ในพน้ื ที่ 4 จงั หวดั ชายแดนใต/ ไมเกินจังหวัดนครศรีธรรมราช
2. กิจกรรมดา นสงเสริมศิลปวัฒนธรรม และภมู ิปญ ญาทอ งถิ่น
2.1 เปนโครงการทก่ี ระตนุ ใหน กั ศกึ ษาในมหาวทิ ยาลัยตระหนักในคณุ คา
ของศลิ ปวฒั นธรรมและภมู ิปญญาทองถิ่น มีความภาคภูมใิ นความเปนไทยในการพัฒนาประเทศ
2.2 เปนโครงการท่ีมีวัตถุประสงคเพ่ือทํานุบํารุงศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถ่ิน
ดว ยการอนรุ ักษ สง เสรมิ เผยแพร สืบสาน ปลกู ฝงคานิยม และแลกเปลย่ี นเรยี นรูซ่ึงกันและกนั
2.3 เปน กจิ กรรมทีร่ ว มกับชุมชน หรอื หนวยงานภายนอก เพอื่ เผยแพรช ือ่ เสยี งของมหาวิทยาลัย
ในดานศลิ ปะ วัฒนธรรม และภมู ปิ ญญาทอ งถน่ิ ใหเ ปน ท่ปี ระจักษตอ สงั คม
3. กิจกรรมดา นสง เสรมิ สราง คุณธรรม จรยิ ธรรม
3.1 สงเสริมการใชหลกั ธรรมทางศาสนา เพอ่ื พัฒนานกั ศึกษาใหม คี ุณธรรม
จรยิ ธรรม มสี มาธแิ ละระเบยี บวินัย ความรับผิดชอบ เพือ่ สามารถใชชีวิตอยูใ นสังคม
อยางมคี วามสุข

3

3.2 สนบั สนุนการจดั กิจกรรมตามวันสาํ คัญทางศาสนาทุกศาสนาโดยยดึ หลักคําสอนและนกึ ถงึ
แกน แทของวันสําคัญน้นั ๆ

3.3 สนับสนนุ โครงการที่สรางคานิยมที่ถกู ตองใหแ กน กั ศึกษา
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี เชน การอนุรักษพลังงานและส่ิงแวดลอมภายใน
มหาวิทยาลยั , การแตง กายท่ถี ูกตองตามระเบยี บของมหาวิทยาลัย , การปฏิบัติตามกฎและวินัยจราจร
และการสรา งความเขาใจทถี่ ูกตองเพ่ือลดปญหาทางสังคมทีเ่ กิดจากคา นิยมท่ผี ิด เชน การพนันฟุตบอล ,
การรริ กั ในวยั เรยี น การอยูรว มกันกอนแตงงาน , ยาเสพตดิ และอบายมขุ ท้ังปวง ฯลฯ

3.4 สนบั สนุนโครงการทเี่ สริมสรา งประชาธิปไตย สรางจติ สาํ นึกทางการเมอื ง การรูจ กั สทิ ธิ
หนาท่ีของตนเอง รวมถงึ บทบาทของการเปนนกั ศึกษา และบทบาทของประชาชนพลเมืองดีในระบอบ
ประชาธปิ ไตย
4. กิจกรรมดานสงเสรมิ กีฬาและสง เสริมสุขภาพ

4.1 สนับสนุนกิจกรรมทส่ี งเสริมใหนักศกึ ษามีทกั ษะการเลนกีฬาและออกกาํ ลงั กายเพอ่ื สุขภาพ
ตลอดจนมีน้ําใจเปน นักกีฬา สรางความสามคั คใี นหมูค ณะ

4.2 มงุ เนนการเลน กฬี าและการออกกาํ ลังกายเพ่อื สขุ ภาพ เพอ่ื ตอบสนองความตอ งการ
ประชาคม มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร วทิ ยาเขตปต ตานี

4.3 สําหรบั กีฬาเพอ่ื ความเปน เลศิ ใหพจิ ารณาจากศักยภาพและความพรอ มของนักกฬี าใน
ชมรม และควรมเี ปา หมายการแขง ขันในทุกระดบั อยา งชัดเจน

4.4 สําหรบั กีฬาบางประเภททมี่ คี วามพรอ มในการจดั การแขงขัน สนับสนนุ ใหเ ปน แกนนําใน
การจัดการแขงขันใหก บั องคกร / หนว ยงานตาง ๆ และชุมชน
5. กิจกรรมดานสง เสริมสรา งวชิ าการ

5.1 ใหความรวมมอื กบั องคกรกจิ กรรมอื่น ๆ ในการนาํ ความรู ความสามารถของชมรมมาใชใ ห
เปนประโยชนในการจดั กิจกรรมของมหาวิทยาลัย

5.2 สง เสรมิ การนําองคค วามรูใ นวิชาชพี /วิชาการที่มกี ารเรยี นการสอน ในมหาวทิ ยาลัยมา
รณรงคห รือเผยแพร เพอื่ ใชใหเ กดิ ประโยชนกบั ประชาคมในมหาวิทยาลยั
6. กจิ กรรมดา นนันทนาการ

6.1 สงเสรมิ ใหนักศกึ ษาไดรจู กั ใชเ วลาวางใหเ กิดประโยชน
6.2 เปน กจิ รรมทส่ี มัครใจทาํ ในยามวาง เพือ่ ใหเกดิ ความเพลดิ เพลนิ ผอนคลายความตงึ เครยี ดท้งั
รางกายและจิตใจ ตลอดจน ชว ยพฒั นาทักษะตาง ๆ

*** ** *  * ** ***

4

ทําเนียบผูบริหารและตาํ แหนง ท่ีควรทราบ

ลําดับที่ ตําแหนง ช่ือ – สกลุ
1 รองอธิการบดี วิทยาเขตปตตานี รศ.อิม่ จติ เลศิ พงษสมบัติ
2 รองอธิการบดฝี า ยระบบสารสนเทศและภายภาพ วิทยาเขตปต ตานี ผศ.นพพร เหรียญทอง
3 รองอธิการบดีฝา ยวชิ าการ วิทยาเขตปต ตานี ผศ.พชั รยี า ไชยลังกา
4 รองอธกิ ารบดฝี ายพัฒนานักศึกษา วิทยาเขตปตตานี ดร.บดินทร แวลาเตะ
5 ผูช ว ยอธกิ ารบดีฝายวิชาการและประกนั คุณภาพ วทิ ยาเขตปต ตานี นางสาวเล็ก แซจ วิ
6 ผชู วยอธกิ ารบดีฝายวเิ ทศสมั พันธ วิทยาเขตปตตานี นางสาวมนทิรา ลลี าเกรียงศกั ด์ิ
7 ผชู วยอธิการบดีฝา ยกิจการนักศึกษา วทิ ยาเขตปตตานี นายหริรักษ แกว กบั ทอง
8 ผูชว ยอธิการบดฝี า ยระบบความปลอดภัยและสงิ่ แวดลอม
วิทยาเขตปต ตานี นายขวัญชยั วัฒนศักดิ์
9 ผอู าํ นวยการกองธรุ การ
10 ผอู ํานวยการกองบริการการศึกษา นางสภุ าวดี ศิยะพงษ
11 ผอู ํานวยการสถาบนั วัฒนธรรมศกึ ษากัลยาณวิ ัฒนา นายสมชาย รตั นคช
12 ผอู าํ นวยการวทิ ยาลยั อิสลามศึกษา ผศ.กมล คงทอง
13 ผูอ าํ นวยการสํานักสง เสรมิ และการศกึ ษาตอเนอื่ ง ดร.ยโู ซะ ตาเละ
14 ผูอาํ นวยการสํานักวิทยบริการ ผศ.ดร.เสถียร แปน เหลอื
15 หวั หนา ศูนยพ ัฒนากีฬาและสุขภาพ รศ.อ่ิมจติ เลศิ พงษสมบัติ
16 ผอู ํานวยการโครงการจัดตั้งสถาบันสมทุ รรัฐเอเชยี ตะวันออกเฉียงใตศกึ ษา นายสริ ิชัย พลับชว ย
17 ผอู าํ นวยการศูนยคอมพิวเตอร วิทยาเขตปต ตานี ผศ. ดร.สามารถ ทองเฝอ
18 ผอู ํานวยการกองแผนงานวทิ ยาเขตปตตานี ผศ.นพพร เหรียญทอง
19 ผูอาํ นวยการกองอาคารสถานท่ีวิทยาเขตปตตานี นายวรี ะพงศ อาภารตั นคุณ
20 ผอู าํ นวยการกองกิจการนักศกึ ษาวทิ ยาเขตปตตานี นายสมยศ เอ่ียมหงษเหม
21 คณบดคี ณะศึกษาศาสตร นายบรรจง เฉลมิ วงศ
22 คณบดคี ณะมนษุ ยศาสตรและสังคมศาสตร ผศ.ดร.ณัฐวทิ ย พจนตันติ
23 คณบดีคณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รศ.ดร.ปรศิ วร ย้ินเสน
24 คณบดคี ณะวิทยาการสอ่ื สาร รศ.ดร.ซกุ รี หะยสี าแม
25 คณบดคี ณะศลิ ปกรรมศาสตร ผศ.วลกั ษณกมล จา งกมล
26 คณบดคี ณะรฐั ศาสตร ผศ.ดร.นภดล ทิพยรตั น
27. คณบดคี ณะพยาบาลศาสตร ผศ.ชิดชนก ราฮิมมลู า
28. คณบดวี ทิ ยาลัยอสิ ลามศึกษา ผศ.พัชรียา ไชยลังกา
29. รองคณบดฝี ายกจิ การนักศกึ ษาและศษิ ยเกาสัมพันธ ดร.ยูโซะ ตาเละ
คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร นายเชาวนเ ลิศ ลอ มล้ิม
30. รองคณบดีฝายพฒั นานักศึกษาและกิจการพเิ ศษ
คณะวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี นายสุธา เกลาฉดี
31. รองคณบดีฝายกิจการนกั ศกึ ษา คณะวทิ ยาการสื่อสาร
นายสิทธิกร เทพสวุ รรณ
32. รองผูอํานวยการฝา ยพัฒนานักศกึ ษาและวิเทศสมั พันธ วทิ ยาลยั อิสลามศึกษา
ดร.อสั มัน แตอาลี

5

ทาํ เนียบผูบรหิ ารและตาํ แหนงทค่ี วรทราบ (ตอ)

ลาํ ดบั ที่ ตาํ แหนง ชอ่ื – สกลุ
33. รองคณบดฝี ายพฒั นานกั ศึกษาและวฒั นธรรม ดร.โอภาส เกาไศยาภรณ
คณะศกึ ษาศาสตร
34. รองคณบดีฝายกจิ การนกั ศึกษาและสหกิจศึกษา อาจารยไพซอล ดาโอะ
คณะรฐั ศาสตร
35. รองคณบดคี ณะศลิ ปกรรมศาสตร อาจารยศริ ชิ ยั พุมมาก

บุคลากรกองกจิ การนกั ศกึ ษา

ลาํ ดบั ท่ี ตําแหนง ชื่อ – สกลุ
1 หวั หนา งานบริหารและจดั การทั่วไป คุณวรรณี ศริ ิรตั น
2 รกั ษาการในตําแหนง หัวหนางานบรกิ ารและสวสั ดิการ คุณเครือมาส แกวทอน
นักศึกษา
3 หัวหนา งานแนะแนวการศกึ ษา คุณบรรจง เฉลมิ วงศ
4 หวั หนา งานกจิ กรรมนักศึกษา คณุ ณฏั ฐนนั ท โรจนสกุลกิจ
5 หนวยวินัยนักศึกษาและกิจการทหาร คุณวันสุไลมาน เจะแวมาแจ
6 หนว ยประสานงานกิจกรรมนักศกึ ษา คุณรตั นา ฮกคี
7 หนวยประสานงานดา นกีฬา คณุ ปย ะพล สทุ ธิพันธ
8 หนวยพยาบาล คุณสุธีรา โกมลมาลยั
9 หนวยทนุ กยศ. คณุ นันทิยา กลิ่นสมหวงั
10 หนว ยทนุ กยู ืมฉุกเฉนิ คุณปทมา หนูเนยี่ ว
11 หนวยใหคําปรกึ ษา คุณธดิ ารตั น มณีพรหม
12 หนว ยไปรษณีย คุณจรนิ ทร ชว ยชาํ แนก
13 หนว ยสวสั ดกิ ารอาหาร คณุ โรสนานี แวหะยี
14 หนว ยหอพักนักศึกษา คุณทวพี งษ ยนู ุ

6

โครงสรา งและสายงานการบรหิ ารขององคก รกจิ กรรมนักศกึ ษา
มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร วทิ ยาเขตปต ตานี

องค์การนกั ศกึ ษา

องคก์ ารบริหารองคก์ ารนกั ศกึ ษา สภานกั ศกึ ษา

สโมสรนกั ศกึ ษา ชมรมนกั ศกึ ษา พรรคนกั ศกึ ษา

1. คณะศกึ ษาศาสตร์ พรรคศรีตรงั
2. คณะมนษุ ยศาสตร์ฯ พรรค ม.อ. เพือสงั คม
3.คณะวทิ ยาศาสตร์ฯ พรรคกจิ ประชา
4.คณะวทิ ยาการสอื สาร
5.คณะรฐั ศาสตร์
6.คณะศิลปกรรมศาสตร์
7.คณะพยาบาลศาสตร์
8.วทิ ยาลยั อิสลามศกึ ษา

ด้านบาํ เพ็ญประโยชน์ ด้านศิลปะและวฒั นธรรม ด้านวิชาการ ด้านกีฬา

- ชมรมอาสาพฒั นาชนบท - ชมรมพทุ ธศาสน์ - ชมรมวเิ ทศสมั พนั ธ์ - ชมรมฟตุ บอล
- ชมรมอนรุ กั ษ์ธรรมชาติ - ชมรมมุสลมิ - ชมรมหนงั สอื และ - ชมรมฟันดาบ
- ชมรมนาฏศิลป์ และดนตรีไทย วรรณกรรม - ชมรมเซปักตะกร้อ
และสงิ แวดล้อม - ชมรมสง่ เสริมศิลปวฒั นธรรม - ชมรมวรรณศิลป์ - ชมรมฮอกกี
- ชมรมเยาวชน ม.อ. ทาํ ความดี - ชมรมสงั คมศาสตร์ - ชมรมวอลเลย์บอล
มสุ ลมิ จงั หวดั ชายแดนใต้ - ชมรมนกั ศกึ ษารกั สนั ติ - ชมรมศิลปะป้ องกนั ตวั
สสู่ งั คม - ชมรมดนตรีสากล - ชมรมดนู ก - ชมรมเปตอง
- ชมรมเชียร์และสนั ทนาการ - ชมรมวาทนเิ ทศ - ชมรมเรือพาย
- ชมรมถ่ายภาพ - ชมรมไอที ม.อ. ปัตตานี -ชมรมมวยสากลสมคั รเลน่
- ชมรมวจิ ติ รศิลป์ - ชมรมเก้าแก่น้อย
- ชมรมช่อสะอาด

7

บทบาทและหนา ทข่ี องคณะกรรมการบรหิ ารองคก ารบริหารองคก ารนกั ศึกษา
องคก ารบริหาร

มาตรา 37 องคการบริหารมีคณะกรรมการองคการบริหาร เปน ผูบรหิ ารองคก ารนกั ศึกษาและเปน ผปู ระสานงานกับ
คณะกรรมการประสานงาน
สว นท่ี 1 คณะกรรมการองคการบรหิ าร

มาตรา 38 คณะกรรมการองคก ารบรหิ าร มีจํานวน 15 คน ดังตาํ แหนง ตอ ไปนี้

(1) นายกองคก ารบรหิ าร
(2) อุปนายกกิจกรรมภายใน
(3) อุปนายกกิจกรรมภายนอก
(4) เลขานุการ
(5) ประธานฝายการเงิน
(6) ประธานฝายประชาสัมพันธ
(7) ประธานฝายศลิ ปกรรม
(8) ประธานฝายพัสดุและแสงเสียง
(9) ประธานฝายสวัสดิการ
(10) ประธานฝา ยนกั ศึกษาสมั พันธ
(11) ประธานฝายวิเทศสัมพันธ
(12) ประธานฝา ยวิชาการ
(13) ประธานฝายศิลปะและวฒั นธรรม
(14) ประธานฝายบําเพ็ญประโยชน
(15) ประธานฝายกีฬา
(16) “กรรมการบริหารตําแหนงอนื่ ๆ ตามท่อี งคการฯ เห็นสมควรอีกไมเกิน 5 ตาํ แหนง ”

มาตรา 50 คณะกรรมการองคการบรหิ าร มอี ํานาจหนา ท่ดี งั ตอไปน้ี

(1) บริหารกจิ การทั้งปวงในองคก ารนกั ศึกษา
(2) ควบคุมและใหความสะดวกในการดําเนนิ งานขององคการนักศึกษาภายใตขอบเขตของธรรมนญู
(3) จดั ทาํ งบประมาณประจาํ ปข ององคการนักศึกษาเสนอตอสภาตามมาตรา 105
(4) พิจารณางบประมาณและโครงการของสภา องคการบริหาร สโมสร และชมรม ตามมาตรา 106
(5) เขารว มช้ีแจงตอ ที่ประชมุ สภาทุกคร้งั ทม่ี ีกจิ การเกยี่ วขอ ง
(6) แตงตง้ั สมาชิกเปน กรรมการ อนุกรรมการ เพอื่ ดแู ลและดําเนนิ การกิจกรรมขององคก ารบรหิ ารโดยกระทาํ

เปนลายลักษณอักษร
(7) มีอํานาจพิจารณาใหก รรมการองคการบริหารเปน รายบคุ คลพนตําแหนงแลวแจงใหส ภาทราบ
(8) เสนอกฎ ระเบียบ ขอ บงั คับเกี่ยวกับสมาชิกตอสภา
(9) รับรองการกอตง้ั ยบุ ชมรม ซ่งึ สามารถทาํ ไดต ามลําดับขั้นตอน ดังนี้

(9.1) คณะกรรมการองคการบรหิ ารเหน็ ชอบดวยคะแนนเสยี ง 2 ใน 3 ของคณะกรรมการท้ังหมด
(9.2) เสนอสภาใหร ับความเหน็ ชอบจากสมาชิกสภา 2 ใน 3 ของสมาชิกทงั้ หมด

8

(10) กําหนดระเบียบขอบังคบั เกี่ยวกับการเบิกจาย และเก็บรกั ษาเงินขององคก ารนักศึกษาดว ยความเห็นชอบของ
สภา

(11) กาํ หนดและควบคมุ ระบบบัญชี แบบรายงาน เอกสารเกีย่ วกับรบั จา ยเงิน
(12) ออกระเบยี บ ขอ บงั คบั และดําเนนิ การเลือกตั้งสมาชิกสภาและกรรมการประสานงานองคก ารบริหาร

สโมสรนกั ศึกษา ผแู ทนช้ันป ผูแ ทนหอพักดวยความเห็นชอบของสภา
(13) รายงานสรปุ กจิ การทดี่ ําเนินการไปใหสภาและมหาวทิ ยาลัยรับทราบอยา งนอยภาคการศึกษาละ 1 ครัง้

มาตรา 51 อํานาจหนาท่ีของกรรมการองคการบรหิ าร มดี ังน้ี

(1) นายกองคก ารบริหาร มีอํานาจหนาท่ี
(1.1) เปน ตัวแทนขององคการบรหิ ารในกิจกรรมตาง ๆ
(1.2) เปน ประธานในท่ปี ระชุมกรรมการองคก ารบรหิ าร
(1.3) เสนอรายชื่อสมาชิกสภาเพ่ือใหม หาวทิ ยาลยั แตงตั้งตามความในมาตรา 22 (2)
(1.4) เสนอรายชื่อคณะกรรมการองคการบรหิ ารเพื่อใหมหาวทิ ยาลยั แตงตั้งตามความในมาตรา 43
(1.5) เสนอการจดั ต้ัง ยุบชมรมตอมหาวิทยาลยั ตามความในมาตรา 50 (9)
(1.6) มีอาํ นาจพิจารณาและเสนออนมุ ัติการจัดกิจกรรมตาง ๆ ของคณะกรรมการประสานงาน และของ
สมาชกิ ตอ มหาวิทยาลยั
(1.7) เขารวมประชมุ หรือสังเกตการณในการประชุมสภามหาวิทยาลยั ท่ปี ระชุมคณบดี สภาอาจารย
คณะกรรมการสอบสวนทางวินัยการศึกษา เมอ่ื ไดร ับอนุญาตจากประธานในทป่ี ระชุมและรายงานให
คณะกรรมการและองคก ารบรหิ ารทราบ

(2) อุปนายกกิจกรรมภายใน มอี าํ นาจหนาที่ ดงั น้ี
(2.1) กาํ กบั ดแู ลงานสํานักงานองคก ารบริหาร
(2.2) ปฏิบตั งิ านแทนนายกองคการบริหาร ในกรณีท่นี ายกองคก ารบรหิ ารไมสามารถปฏิบตั ิหนาท่ีได
(2.3) รับผดิ ชอบเกย่ี วกับกิจการภายในขององคการบริหาร
(2.4) แตง ต้งั อนุกรรมการตามมาตรา 50 (6) เพ่อื ปฏิบตั หิ นาที่เก่ียวกบั งานสาํ นักงานขององคก ารบริหาร
(2.5) ปฏิบตั หิ นา ทีอ่ ื่น ๆ ตามท่ีนายกองคการบริหารมอบหมาย

(3) อุปนายกกิจกรรมภายนอก มีอํานาจหนาที่ ดงั นี้
(3.1) กํากบั ดูแลงานดา นกิจการภายนอกมหาวิทยาลยั กิจกรรมรวมกบั องคก รนกั ศึกษานอกมหาวิทยาลัย
(3.2) ปฏิบตั ิงานแทนนายกองคการบรหิ าร ในกรณีที่นายกองคการบรหิ ารและอปุ นายกกิจกรรมภายในไม
สามารถปฏบิ ตั ิหนาท่ไี ด
(3.3) เสนอแตง ตั้งอนุกรรมการตามมาตรา 50 (6) เพื่อปฏิบตั หิ นาท่ีเกย่ี วกับงานกิจการภายนอก
(3.4) ปฏบิ ัติหนาท่ีอื่น ๆ ตามที่นายกองคก ารบริหารมอบหมาย

(4) เลขานุการ มอี าํ นาจหนา ที่
(4.1) จัดทาํ ระเบยี บวาระการประชมุ องคการบริหาร
(4.2) บันทึกและทํารายงานการประชมุ องคการบริหาร และสงใหคณะกรรมการองคการบริหารกอ นมกี าร
ประชมุ ครง้ั ตอไปลว งหนา อยางนอ ย 3 วัน
(4.3) รับ – สงและโตตอบหนังสือขององคการบริหาร
(4.4) เก็บรวบรวมเอกสารตา ง ๆ ขององคการบริหาร
(4.5) ปฏบิ ตั หิ นา ท่ีอื่น ๆ ตามที่นายกองคการบริหารมอบหมาย

9

(5) ประธานฝายการเงิน มีอาํ นาจหนา ท่ี
(5.1) กาํ กบั ดูแลงานทีเ่ กย่ี วกับงบประมาณทุกประเภทขององคการนักศกึ ษา
(5.2) ควบคุมรายรับ – จายเงนิ ทุกประเภทขององคการบริหารใหเ ปน ไปตามระเบียบองคการบรหิ าร
(5.3) จดั ทาํ งบประมาณเสนอตอกรรมการองคการบรหิ าร
(5.4) จดั ทาํ บญั ชรี ายรบั รายจายเสนอตอ ท่ปี ระชมุ องคการบริหาร
(5.5) รายงานฐานะของการเงินขององคการบรหิ ารตอ ท่ปี ระชมุ องคการบริหารอยางนอยภาคการศึกษาละ
2 คร้งั
(5.6) เสนอแตง ตั้งอนุกรรมการตามมาตรา 50 (6) เพอื่ ปฏบิ ตั หิ นา ท่ีเกย่ี วกบั การเงนิ

(5.7) ปฏิบตั หิ นาท่อี ่นื ๆ ตามที่นายกองคการบริหารมอบหมาย
(6) ประธานฝายประชาสัมพันธ มีอํานาจหนาที่

(6.1) กํากับดูแลงานดา นการประชาสัมพันธแ ละสงิ่ พิมพขององคการบรหิ าร
(6.2) เสนอแตงตง้ั อนุกรรมการตามมาตรา 50 (6) เพ่ือปฏบิ ัติหนา ทเ่ี กี่ยวกบั การประชาสัมพนั ธแ ละ

สาราณยี กร
(6.3) ปฏิบตั ิหนา ท่อี น่ื ๆ ตามทน่ี ายกองคก ารบรหิ ารมอบหมาย
(7) ประธานฝายศิลปกรรม มอี ํานาจหนาที่
(7.1) กํากับดูแลงานดา นศิลปกรรมขององคการบริหาร
(7.2) เสนอแตงตั้งอนุกรรมการตามมาตรา 50 (6) เพ่ือปฏบิ ตั หิ นา ทเ่ี กย่ี วกับงานดานศลิ ปกรรมของ

องคการบรหิ าร
(7.3) ปฏบิ ัติหนา ที่อน่ื ๆ ตามทีน่ ายกองคการบริหารมอบหมาย
(8) ประธานฝายพสั ดแุ ละแสงเสยี ง มอี ํานาจหนาท่ี
(8.1) กาํ กบั ดูแลงานดา นพัสดุและแสงเสียงขององคการนักศกึ ษา
(8.2) จัดทาํ บัญชรี ายการพัสดุองคการบรหิ าร
(8.3) จดั หาและซอมบาํ รงุ รักษาพสั ดขุ ององคก ารบริหารใหเปน ไปตามระเบียบองคการบรหิ าร
(8.4) ควบคุมการเบิกจายพัสดขุ ององคการบรหิ าร
(8.5) ตรวจสอบพัสดขุ ององคก ารภายในองคการนักศกึ ษา
(8.6) รบั ผดิ ชอบงานดา นแสงเสียงขององคการนักศึกษา
(8.7) เสนอแตงตงั้ อนุกรรมการตามมาตรา 50 (6) เพือ่ ปฏิบัติหนาทเี่ กี่ยวกบั งานพัสดแุ ละแสงเสียงของ

องคก ารนกั ศึกษา
(8.8) ปฏบิ ัตหิ นา ท่อี ื่น ๆ ตามที่นายกองคการบริหารมอบหมาย
(9) ประธานฝายสวัสดิการนักศึกษา มีอาํ นาจหนาที่
(9.1) กํากบั ดแู ลงานดานสวสั ดิการนักศึกษา
(9.2) จดั สวัสดกิ ารดา นตา ง ๆ ใหแ กนักศึกษาตามนโยบายขององคการบริหาร
(9.3) เสนอแตงตั้งอนุกรรมการตามมาตรา 50 (6) เพอ่ื ปฏิบัติหนาท่ีเก่ยี วกับงานสวัสดกิ ารนกั ศึกษา
(9.4) ปฏิบตั ิหนา ท่อี ืน่ ๆ ตามท่ีนายกองคการบรหิ ารและชมรมดา นวิชาการมอบหมาย

(10) ประธานฝายนักศกึ ษาสัมพันธ มีอํานาจหนา ท่ี

(10.1) กํากับดูแลงานดานการสรา งความสัมพันธอนั ดีในหมูนกั ศึกษา
(10.2) พฒั นานกั ศกึ ษาทางดานอารมณ สงั คม จิตใจ รวมท้งั วนิ ยั ในสงั คม
(10.3) ประสานงานกับผูแ ทนชั้นป ผูแทนหอพัก

10

(10.4) เสนอแตงตัง้ อนุกรรมการตามมาตรา 50 (6) เพื่อปฏบิ ตั ิหนาทด่ี านการสรา งความสมั พันธอนั ดีใน
หมูน กั ศึกษาและพัฒนานักศึกษา

(10.5) ปฏบิ ตั ิหนา ทอ่ี ่ืน ๆ ตามท่ีนายกองคการบรหิ ารมอบหมาย

(11) ประธานฝา ยวเิ ทศสมั พันธ มอี ํานาจหนา ที่

(11.1) กํากับดูแลงานดานกิจกรรมทส่ี มั พันธกับตางประเทศ
(11.2) เสนอแตง ตั้งอนุกรรมการตามมาตรา 50 (6) เพอ่ื ปฏิบตั ิหนา ทดี่ านวเิ ทศสัมพันธ
(11.3) ปฏบิ ตั หิ นาทอี่ น่ื ๆ ตามท่นี ายกองคการบริหารมอบหมาย
(12) ประธานฝา ยวิชาการ มอี าํ นาจหนา ที่

(12.1) กาํ กับดแู ลงานดา นวิชาการขององคก ารบรหิ ารและชมรมดา นวชิ าการ
(12.2) เรียกประชุมชมรมดานวิชาการและทําหนาทเ่ี ปนประธานทีป่ ระชุม
(12.3) เสนอแตงตง้ั อนุกรรมการตามมาตรา 50 (6) เพื่อปฏิบตั ิหนา ทเ่ี กย่ี วกับงานดานวชิ าการขององคการ

บรหิ าร
(12.4) ปฏบิ ตั หิ นาทอ่ี นื่ ๆ ตามทน่ี ายกองคก ารบริหารมอบหมาย
(13) ประธานฝายศลิ ปะและวฒั นธรรม มีอํานาจหนาที่
(13.1) กาํ กับดแู ลงานดานศลิ ปะและวฒั นธรรมขององคก ารบรหิ ารและชมรมดานศิลปะและวัฒนธรรม
(13.2) เรยี กประชุมชมรมดา นศิลปะและวฒั นธรรม และทําหนาทเ่ี ปนประธานท่ีประชุม
(13.3) เสนอแตง ตั้งอนุกรรมการตามมาตรา 50 (6) เพ่อื ปฏิบัตหิ นา ทีเ่ กยี่ วกับงานดานศลิ ปะและ

วฒั นธรรมขององคก ารบริหารและชมรมดา นศิลปะและวัฒนธรรม
(13.4) ปฏิบตั หิ นาที่อ่นื ๆ ตามท่ีนายกองคการบรหิ ารมอบหมาย
(14) ประธานฝายบาํ เพญ็ ประโยชน มอี ํานาจหนาท่ี

(14.1) กํากบั ดแู ลดานบําเพ็ญประโยชนข ององคการบรหิ ารและชมรมดา นบําเพ็ญประโยชน
(14.2) เรยี กประชมุ ชมรมดา นบําเพ็ญประโยชน และทําหนา ท่ีประธานทปี่ ระชมุ
(14.3) เสนอแตงตั้งอนุกรรมการตามมาตรา 50 (6) เพอ่ื ปฏบิ ัติหนา ท่ีเกย่ี วกบั งานดานบําเพญ็ ประโยชน

ขององคการบริหารและชมรมดา นบําเพ็ญประโยชน
(14.4) ปฏิบัตหิ นาทอ่ี ่ืน ๆ ตามทน่ี ายกองคการบริหารมอบหมาย
(15) ประธานฝายกีฬา มีอํานาจหนาที่
(15.1) กาํ กบั ดูแลงานดานกีฬาขององคการบรหิ ารและชมรมดานกฬี า
(15.2) เรียกประชมุ ชมรมดานกฬี า และทําหนาท่ปี ระธานทปี่ ระชมุ
(15.3) เสนอแตงตง้ั อนุกรรมการตามมาตรา 50 (6) เพอื่ ปฏิบัติหนา ที่เก่ยี วกับงานดา นกฬี าขององคการ

บริหารและชมุ รมดานกฬี า
(15.4) ปฏิบัติหนา ทอ่ี นื่ ๆ ตามทน่ี ายกองคการบรหิ ารมอบหมาย

11

บทบาทและหนา ที่ของคณะกรรมการสภานกั ศึกษา องคก ารนกั ศกึ ษา
สภานักศึกษา

มาตรา 18 สภามีตาํ แหนง คณะกรรมการบริหารสภาดังตอไปน้ี

(1) ประธานสภา
(2) รองประธานสภา 1
(3) รองประธานสภา 2
(4) เลขานุการสภา
(5) รองเลขานกุ ารสภา 1
(6) เหรัญญิกสภา
(7) ประชาสมั พันธสภา
(8) กรรมการบริหารตําแหนง อื่นตามท่ีสภาเห็นสมควรอีกไมเ กิน 7 ตําแหนง

มาตรา 19 คณะกรรมาธกิ ารสภามดี ังน้ี

(1) คณะกรรมาธกิ ารงบประมาณและตรวจสอบการเงนิ
(2) คณะกรรมาธิการติดตามและประเมินผลกจิ กรรมนักศกึ ษา
(3) คณะกรรมาธกิ ารขอ มูลและขา วสาร
(4) คณะกรรมาธกิ ารสวัสดิการและรบั ฟง ความคดิ เหน็
(5) คณะกรรมาธกิ ารวินยั และนกั ศึกษาสัมพันธ
(6) คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั อ่นื ๆ ท่ีสภาเห็นสมควร

มาตรา 26 อาํ นาจหนาที่ของสภามีดังนี้

(1) ควบคมุ และดําเนินการใหเปน ไปตามธรรมนูญนี้
(2) ตรวจสอบประเมนิ ผลและใหข อทวงติงตา ง ๆ ในการดําเนินงานขององคการบริหารใหเปนไปตามนโยบายท่ี
แถลงไวต อสภา
(3) พิจารณารับรองการออกระเบยี บขององคการบริหารที่ออกภายใตเ งือ่ นไขของธรรมนญู น้ี
(4) พจิ ารณาใหค วามเห็นชอบตอนโยบายขององคการบริหาร นอกเหนือจากทีเ่ คยแถลงไวตอนทร่ี ับสมัครรับ
เลอื กตง้ั
(5) เปน ตวั แทนสมาชกิ ในการพิทกั ษผลประโยชนรบั คาํ รอ ง และดําเนนิ ตามมติของสภา
(6) สภาตอ งกาํ หนดระเบียบการทาํ งาน การลงโทษสมาชกิ สภาทีท่ าํ ผดิ ระเบยี บและสามารถถอดถอนสมาชิก
บคุ คลใดบุคคลหน่งึ กไ็ ด โดยมติ 2 ใน 3 ของสมาชิกสภาทัง้ หมด
(7) พิจารณาใหความเห็นชอบหรอื ไมเหน็ ชอบตอการจัดทํางบประมาณตามมาตรา 105 และ 106
(8) รว มกบั องคการบรหิ ารในการเสนอความคดิ เหน็ ตอมหาวิทยาลัยในสิง่ ทเ่ี ปน ประโยชนตอนักศึกษา
(9) เปดอภิปรายไมไ ววางใจกรรมการองคการบรหิ ารเปน รายบุคคลในกรณีไมดาํ เนนิ ตามนโยบาย หรือกระทําผดิ
วนิ ยั อยางรา ยแรง โดยบุคคลนน้ั มีสทิ ธชิ แี้ จงเหตผุ ลตอที่ประชมุ สภาได หากสภาลงมติไมไ ววางใจดวยคะแนนเสยี ง 2 ใน 3

12

ของสมาชิกสภาท้ังหมด ใหแจงตอองคการบรหิ าร ในกรณที ่ีองคการบรหิ ารไมเห็นดว ย องคการบริหารมีสทิ ธยิ ่ืนอุทธรณต อสภา
ภายใน 7 วัน นับต้งั แตวนั ท่ีไดร ับเร่ือง ถา หากสภายังยืนยันตามมติเดมิ ใหองคก ารบรหิ ารดาํ เนนิ การถอดถอนและสรรหาบุคคล
มาดาํ รงตาํ แหนง แทน ยกเวนนายกองคก ารบรหิ ารจะกระทาํ ไดก็ตอ เม่ือลงมติไมไ ววางใจทั้งคณะ

(10) เปด อภิปรายไมไววางใจคณะกรรมการองคก ารบรหิ ารท้ังคณะ ในกรณีที่ไมดาํ เนนิ ตามนโยบายหรือกระทํา
ผิดวินยั นักศึกษาอยา งรายแรง ท้ังนี้คณะกรรมการองคก ารบริหารมีสิทธชิ ้แี จงเหตุผลตอ ที่ประชุมได หากสภาลงมตไิ มไววางใจ
ดว ยคะแนนเสยี ง 2 ใน 3 ของสมาชกิ สภาทัง้ หมด ใหแ จง ตอ องคการบรหิ าร หากองคการบรหิ ารไมเ ห็นดวยองคการบริหารมี
สทิ ธิยืน่ อุทธรณตอ สภาภายใน 7 วัน นบั แตว นั ท่ีไดร บั เรือ่ งจากสภา ถา สภายังยนื ยันตามมติเดมิ ใหสมาชิกลงประชามติชขี้ าดวา
สภาหรอื องคการบรหิ ารฝายใดฝา ยหนึ่งจะตอ งส้ินสุดสมาชิกสภาพ

(11) จาํ นวนสมาชิกสภาไมน อยกวา 1 ใน 3 มีสิทธเิ ขา ช่อื เสนอเปดอภิปรายไมไวว างใจ คณะกรรมการ
องคก ารบริหารตอ ประธานสภาได

(12) ในกรณที ี่คณะกรรมการองคการบริหารสน้ิ สดุ สมาชิกสภาพ ตามความในมาตรา 26 (10) และลาออกทัง้
คณะ ใหสภาเปนผูด าํ เนินการเลอื กตง้ั ซอมคณะกรรมการองคการบริหารใหแ ลว เสรจ็ ภายใน 15 วัน นบั ต้ังแตว ันทีล่ าออก ใน
ระหวา งคณะกรรมการองคการบรหิ ารชุดใหมยังไมไดร บั การแตง ตงั้ จากมหาวทิ ยาลัยใหค ณะกรรมการองคการบรหิ ารชุดเดิม
รักษาการ ในกรณีท่สี ภาส้นิ สมาชกิ สภาพท้ังคณะตามความในมาตรา 26 (10) ใหอ งคการบรหิ ารเปนผูดาํ เนินการเลือกตง้ั ซอม
สมาชิกสภาใหแลวเสรจ็ ภายใน 15 วันนับแตว ันที่สิ้นสดุ สมาชกิ สภาพ

(13) พจิ ารณาขอขดั แยง ระหวา งนักศกึ ษา และการกระทาํ ท่ลี ะเมดิ ธรรมนญู นี้ รวมท้ังการกระทาํ ใด ๆ ทีไ่ มได
บญั ญัตไิ วใ นขอบังคบั ของมหาวิทยาลยั ทว่ี า ดวยวนิ ัยนกั ศึกษา

(14) เสรมิ สรา งความสมั พันธอนั ดีในหมูนักศึกษาและบคุ ลากรของมหาวทิ ยาลัย

มาตรา 27 สมาชกิ สภามีอํานาจหนาท่ีดงั ตอ ไปน้ี

(1) สมาชิกสภามีหนา ท่ีรับฟงความคิดเหน็ ของนกั ศึกษา อนั จะเปน ประโยชนตอสวนรวม เพื่อสว นรวม
เพื่อเสนอใหสภาวินิจฉัย

(2) ประธานสภามอี ํานาจหนา ที่
(2.1) บริหารงานสภาใหบ รรลุตามนโยบายทไี่ ดแถลงไว
(2.2) เรยี กประชุมสภา
(2.3) แตง ต้งั สมาชิกสภา เพอ่ื ปฏบิ ัติหนาทข่ี องสภาโดยความเห็นชอบของสภา
(2.4) เปนประธานการประชมุ สภา และการดาํ เนินการของสภา
(2.5) เปน ผูลงนามในนามของสภา
(2.6) แตงตง้ั คณะกรรมการเพอ่ื มอบงานของสภาแกสภานกั ศึกษาชุดใหม
(2.7) เขารวมประชมุ หรือสงั เกตการณในการประชุมสภามหาวิทยาลัยทปี่ ระชมุ คณบดี ที่ประชุมสภา

อาจารย และคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยนักศกึ ษา ในเมื่อไดรับอนญุ าตจากประธานในที่ประชุม และรายงานใหสมาชิก
สภาทราบ

13

(3) รองประธานสภามีอํานาจหนาที่ปฏบิ ตั ิงานแทนประธานสภาในกิจการทัง้ ปวง เมื่อประธานสภาไมอยูหรือไม
สามารถปฏิบตั ิหนาที่ได ใหรองประธานสภาคนท่ี 1 ทําการแทน แตถา รองประธานสภาคนท่ี 1 ไมอ ยู หรือไมส ามารถปฏิบัติ
หนา ท่ีได ใหรองประธานสภาคนที่ 2 เปนผูดําเนนิ การแทนประธานสภา และปฏบิ ัตหิ นาทอี่ ื่น ๆ ทีป่ ระธานมอบหมาย

(4) เลขานุการสภา มอี ํานาจหนาทีด่ งั ตอ ไปน้ี
(4.1) จัดวาระการประชุม และออกหนงั สือเชิญประชุมสภา
(4.2) จดั ดาํ เนินงานการประชมุ
(4.3) จดั ทาํ รายงานการประชมุ
(4.4) เกบ็ และรวบรวมเอกสารตาง ๆ ของสภา และทําหนา ที่ธรุ การของสภา
(4.5) กํากับดูแลสํานักงานสภา

(5) รองเลขานุการสภา มอี าํ นาจหนาที่ปฏบิ ัติงานตามที่เลขานกุ ารมอบหมายใหและทาํ หนาทแ่ี ทนเลขานุการเมื่อ
เลขานุการไมอยู

(6) เหรญั ญกิ สภา มีอํานาจหนาทใ่ี นการควบคุมการใชจายเงนิ ของสภาใหเปน ไปตามงบประมาณทไี่ ดรับอนมุ ตั ิ
และถกู ตองตามระเบยี บการเงินของมหาวิทยาลยั เกบ็ รักษาหลักฐานเอกสารการเงนิ ทําบัญชเี งิน และรายงานดา นการเงนิ ของ
สภาตอ ท่ปี ระชมุ สภา

(7) ประชาสัมพนั ธส ภา มีอํานาจหนา ที่ดังน้ี
(7.1) เผยแพรข าวสารทเี่ กยี่ วกับสภาใหนักศกึ ษาทราบ
(7.2) แลกเปลีย่ นขาวสารของสภากบั องคก รและสังคมภายนอกมหาวิทยาลัย

(8) คณะกรรมาธิการงบประมาณและตรวจสอบการเงนิ มอี ํานาจหนาท่ี
(8.1) ดําเนินการพิจารณางบประมาณองคการนักศึกษา หลังจากสภานักศึกษาใหความเห็นชอบในวาระ

ที่ 1 แลว
(8.2) ตรวจสอบสถานะการเงินและการใชจ า ยงบประมาณที่ไดร ับอนุมัติจากสภาขององคการบริหาร

ชมรม สโมสร และสภานกั ศึกษาเพ่ือเสนอใหสภาทราบ
(8.3) มสี ทิ ธิขอตรวจสอบรายละเอียดการใชจา ยเงินของหนว ยงานสังกดั องคการนักศึกษา
(8.4) เรียกกรรมการองคการบรหิ าร ชมรม สโมสร สมาชิก มาสอบถามขอ เท็จจรงิ ในงานทเ่ี กย่ี วของกบั

งบประมาณและการตรวจสอบการเงนิ
(8.5) งานอน่ื ๆ ทีส่ ภามอบหมาย

(9) คณะกรรมาธกิ ารติดตามและประเมนิ ผลกจิ กรรมนักศกึ ษา มอี ํานาจหนา ที่
(9.1) ติดตามและประเมินผลโครงการตาง ๆ ท่ีไดร ับการอนุมตั แิ ลว ขององคก ารนักศกึ ษา รวมถึงกิจการตาง

ๆ ของมหาวทิ ยาลัยที่เกยี่ วของกบั นกั ศึกษา
(9.2) เสนอแนะแนวการพฒั นารปู แบบกิจกรรมนกั ศึกษาใหแกองคก ารบรหิ าร ชมรม สโมสร
(9.3) เรียกกรรมการองคก ารบริหาร ชมรม สโมสร สมาชกิ มาสอบถามขอเท็จจรงิ เก่ยี วกับกิจกรรม

นักศกึ ษา
(9.4) งานอื่น ๆ ที่สภามอบหมาย

(10) คณะกรรมาธกิ ารขอมูลและขา วสาร มีอํานาจหนาท่ี
(10.1) รบั ผดิ ชอบตองานการศึกษา จัดหาและเตรยี มเอกสาร โดยเฉพาะอยางย่งิ เอกสารเผยแพรค วามรู

ทางวิชาการ การเคลอ่ื นไหวในสงั คม สารสนเทศที่นักศกึ ษาควรรับรู และพจิ ารณากลัน่ กรอง หาขอ มูลประกอบเพ่ือเสนอตอ
สมาชิกสภา ตลอดจนนักศกึ ษาทัง้ ปวง

(10.2) อน่ื ๆ ที่สภามอบหมาย

14

(11) คณะกรรมาธกิ ารสวัสดิการและรบั ฟง ความคิดเหน็ มีอํานาจหนาที่
(11.1) รักษาสิทธแิ ละเรียกรอ งสวัสดกิ ารของนักศกึ ษาทพี่ ึงจะไดร ับ
(11.2) รับฟง ความคดิ เห็นและคํารองเรยี นของนักศกึ ษา เพื่อพจิ ารณาดําเนินการตอไป
(11.3) งานอืน่ ๆ ท่ีสภามอบหมาย

(12) คณะกรรมาธิการวินัยและนักศึกษาสัมพันธ มีอํานาจหนา ที่
(12.1) ศกึ ษาหาแนวทางในการเสรมิ สรางความสัมพันธอันดใี นหมูนกั ศึกษา และนักศกึ ษากบั บคุ ลากรอ่ืน ๆ

ของมหาวทิ ยาลยั
(12.2) แกไ ขปญหาความขดั แยงในหมูนกั ศึกษา
(12.3) ศึกษาแนวทางในการพฒั นานักศึกษา ท้งั บคุ ลกิ ภาพ จริยธรรม วินัย เพ่อื ดําเนินการหรอื เพ่อื เสนอ

ตอ องคการบรหิ าร สโมสร หอพัก และมหาวิทยาลัยในการดาํ เนินงานตอไป
(12.4) เรียกกรรมการองคก ารบริหาร ชมรม สโมสร สมาชิกมาช้แี จงขอเท็จจรงิ ในงานท่ีเกีย่ วของกบั วินยั

และนักศึกษาได
(12.5) งานอืน่ ๆ ท่ีสภามอบหมาย

15

บทบาทและหนาทค่ี ณะกรรมการบรหิ ารสโมสรนักศกึ ษาคณะ

สโมสรนกั ศกึ ษา

มาตรา 64 สโมสรเปน ศนู ยกลางกิจกรรมนักศกึ ษาคณะวทิ ยาลัย และดําเนนิ งานตามวตั ถุประสงคท ่สี อดคลอ งกับ

วัตถุประสงคข ององคก ารนกั ศึกษา

มาตรา 65 ช่อื ยอ เครอื่ งหมายสโมสร ใหสโมสรคณะน้ัน ๆ เปน ผูกําหนด

มาตรา 66 สมาชกิ สโมสร ไดแก นักศึกษาทสี่ ังกัดคณะนั้น ๆ

มาตรา 67 สทิ ธแิ ละหนาท่ีสมาชิกสโมสร ใหเปน ไปตามระเบยี บขอบังคบั ของคณะ วาดวยสโมสรคณะน้นั ๆ

มาตรา 68 สมาชิกภาพของสมาชิกสโมสร จะส้ินสุดลงเมอ่ื พนสภาพการเปน นักศึกษาคณะน้ัน ๆ

สวนที่ 1 คณะกรรมการบริหารสโมสรนักศึกษา

มาตรา 69 สโมสรประกอบดว ยคณะกรรมการบริหาร ซง่ึ ประกอบดวยตําแหนงตาง ๆ ดังตอ ไปนี้

(1) นายกสโมสร
(2) อุปนายกกิจการภายใน
(3) อุปนายกกิจการภายนอก
(4) เลขานุการ
(5) เหรัญญิก
(6) ประธานฝายประชาสัมพันธ
(7) ประธานฝายสวัสดิการ
(8) ประธานฝายวชิ าการ
(9) ประธานฝายศิลปะและวฒั นธรรม
(10) ประธานฝายบาํ เพญ็ ประโยชน
(11) ประธานฝายกีฬา

สว นท่ี 2 อาํ นาจหนาท่ี
มาตรา 80 คณะกรรมการบรหิ ารสโมสรมีอาํ นาจหนาทแี่ ละความรับผิดชอบรวมกัน ดังตอ ไปน้ี

(1) บรหิ ารกิจการทั้งปวงที่เกีย่ วกับกิจกรรมตาง ๆ
(2) ควบคมุ และใหค วามสะดวกในการดาํ เนนิ งานของกลมุ วิชาเอกในคณะน้ัน ๆ ภายใตขอบเขตของธรรมนูญ
(3) จัดทํางบประมาณประจําปของสโมสร เสนอตอองคการบริหารตามความในมาตรา 106
(4) เขาช้แี จงตอ สภาเม่ือไดรบั แจงจากสภา
(5) รายงานกิจกรรมตาง ๆ ที่ไดด าํ เนนิ การไปใหอ งคการบริหารและคณะวทิ ยาลยั ทส่ี ังกัดอยา งนอย
ภาคการศึกษาละ 1 คร้งั
(6) มีอํานาจใหกรรมการสโมสรเปน รายบคุ คลพนจากตําแหนง แลว แจงใหองคก ารบรหิ ารทราบ

มาตรา 81 อํานาจหนาทก่ี รรมการบริหารสโมสร มดี งั นี้

(1) นายกสโมสรมีอาํ นาจหนา ทใ่ี นการบริหารกิจการของสโมสร เปนผเู รียกประชุม และเปนประธานในการ
ประชุมคณะกรรมการ

16

(2) อปุ นายกกิจการภายในมอี ํานาจหนาที่กํากับดูแลสํานักงานสโมสร กจิ การภายในตา ง ๆ ของสโมสร ทําหนาที่
แทนนายกเม่ือไมอยหู รือไมสามารถปฏิบตั ิหนา ทไ่ี ด และชว ยเหลือนายกสโมสรในการดาํ เนินงานของสโมสรตามที่ไดรบั มอบหมาย

(3) อุปนายกกิจการภายนอก มีอํานาจหนาทีก่ ํากบั ดูแลงาน ดา นกจิ การภายนอกคณะและปฏบิ ัติหนา ทีแ่ ทน
เมื่อนายกสโมสรและอุปนายกกจิ การภายในไมอยหู รอื ไมสามารถปฏบิ ตั ิหนาทไ่ี ด

(4) เลขานุการ มอี าํ นาจหนา ที่ในการจดั เตรียมการประชมุ และจดบนั ทึกรายงานการประชุมและควบคุมงานสาร
บรรณของสโมสร

(5) เหรญั ญิกมอี ํานาจหนา ทใ่ี นการควบคมุ การใชจา ยเงินของสโมสรใหเ ปน ไปตามงบประมาณที่ไดรับอนุมัติ และ
ถกู ตองตามระเบียบการเงนิ ของมหาวิทยาลยั เกบ็ รกั ษาหลักฐานการเงิน ทาํ บญั ชี และรายงานฐานะการเงินของสโมสรตอท่ี
ประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารสโมสรอยางนอยภาคการเรียนละ 2 คร้ัง

(6) ประธานฝายประชาสมั พันธ มีอํานาจหนาท่ใี นการควบคุมการดําเนินงานดา นประชาสมั พันธของสโมสร
(7) ประธานฝายสวัสดกิ ารมีอํานาจหนาที่ งานดานสวัสดิการของนักศกึ ษาและสโมสร
(8) ประธานฝายวิชาการ มีอํานาจและหนา ท่ีในดา นวชิ าการของสโมสร โดยประสานงานกบั นกั ศึกษาวิชาเอก
ตา ง ๆ ในคณะ วทิ ยาลยั
(9) ประธานฝายศลิ ปะและวัฒนธรรมมีอาํ นาจหนาท่ีงานดานศิลปะและวัฒนธรรมของสโมสร โดยประสานงาน
กบั นกั ศึกษาวิชาเอกตา ง ๆ ในคณะ วทิ ยาลยั
(10) ประธานฝายบําเพ็ญประโยชน มอี ํานาจหนาท่ใี นดานบําเพ็ญประโยชนข องสโมสร
(11) ประธานฝายกีฬา มอี ํานาจหนาท่ใี นดานกีฬาของสโมสร โดยประสานงานกับนกั ศึกษาวิชาเอกตา ง ๆ ใน
คณะ วิทยาลยั
(12) กรรมการตาํ แหนงอื่น ๆ ชว ยเหลือโดยทั่วไป ในการดาํ เนนิ งานของสโมสรตามทนี่ ายกสโมสรมอบหมาย

17

บทบาทและหนา ทค่ี ณะกรรมการบรหิ ารชมรม
ชมรม

มาตรา 86 ชมรม หมายถงึ การรวมตวั ของสมาชกิ องคการนักศกึ ษาท่รี วมกันทํากิจกรรมทีเ่ ปน ประโยชนแ กสมาชิก
ชมรม หรือทํากิจกรรมตามความเหมาะสมของชมรมเพ่อื บําเพญ็ ประโยชนตอสังคม และเปนกรรมการดําเนินงานของฝายตา ง ๆ
ในองคการบรหิ าร

มาตรา 87 ชมรมมี 4 ประเภท ดังนี้

(1) ชมรมดานวชิ าการ
(2) ชมรมดา นศิลปะและวัฒนธรรม
(3) ชมรมดานบําเพ็ญประโยชน
(4) ชมรมดา นกฬี า
ระเบยี บของชมรม ตอ งระบุประเภทของชมรมดว ย และชมรมประเภทใดตองขน้ึ อยูกับฝา ยนน้ั ขององคการบริหาร
มาตรา 88 การจดั ต้งั ชมรม

(1) จะตอ งมีระเบยี บหรอื ขอ บังคับของชมรมที่เสนอตอ ฝายองคการบรหิ าร และไดรบั ความเหน็ ชอบจากฝา ยสภา
นักศกึ ษา และมหาวิทยาลยั

(2) ชมรมแตละชมุ รมตอ งมสี มาชิกแรกกอตง้ั ไมนอยกวา 100 คน สมาชิกแรกกอต้ังตองเปนสมาชิกสามัญ
และตองไมเ ปนสมาชกิ ชมรมอื่นเกินกวา 3 ชมรม

(3) ตอ งมคี ณะกรรมการบริหารชมรม
(4) ตองจัดตง้ั เพอื่ สมาชิกท่ัวไปทงั้ มหาวทิ ยาลยั
(5) มโี ครงการบริหารนักศกึ ษาท่ัวไปทั้งมหาวทิ ยาลยั และตองอยูภายใตการควบคมุ ขององคก ารบริหาร
(6) จะตอ งจดทะเบียนชมรมตอองคก ารบรหิ าร และประกาศจัดต้ังโดยมหาวิทยาลัย
(7) ตอ งมีอาจารยท่ีปรึกษาชมรม ชมรมละไมเกิน 2 คน การรายงานเท็จเพ่อื จดั ตั้งชมรม แมพ บในภายหลังให
เพกิ ถอนการจัดต้ังชมรมนัน้ ได

มาตรา 89 คณุ สมบัติของสมาชิกชมรม

(1) ตองเปน สมาชกิ ขององคก ารนักศกึ ษา
(2) สมาชิกองคการนกั ศกึ ษา 1 คน สามารถเปน สมาชิกของชมรมไดไมเ กิน 3

ชมรม ในแตละปการศกึ ษา หากฝา ฝนจะเพกิ ถอนสิทธใิ นการเปน สมาชกิ ชมรมเปนเวลา 2 ป โดยองคก ารบรหิ ารเสนอให
มหาวิทยาลัยประกาศ

มาตรา 90 คณะกรรมการบรหิ ารชมรม จะตองเปนสมาชิกสามัญและไดร ับการเลอื กตงั้ จากสมาชิกชมรม
มาตรา 91 คณะกรรมการบริหาร ประกอบดว ย

(1) ประธานชมรม
(2) รองประธาน
(3) เลขานุการ
(4) เหรญั ญกิ
(5) ประชาสมั พนั ธ
(6) พัสดุ

18

(7) “กรรมการบริหารอ่ืน ๆ ทเ่ี ห็นสมควรไมเ กิน 14 ตําแหนงโดยไดร ับการแตงตัง้ จากมหาวทิ ยาลยั ”

มาตรา 92 อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบรหิ าร

(1) บริหารงานทั่วไปใหเปนไปตามวตั ถุประสงคข องชมรม
(2) กําหนดนโยบายจัดทําแผนงาน โครงการ และงบประมาณประจาํ ปของชมรมเสนอตอองคการบริหารตาม

มาตรา 106
(3) เสนอระเบียบปฏิบตั ิของชมรมตอองคการบริหารเพ่ือขออนมุ ัติจากสภา
(4) ประชมุ ใหญส มาชิกชมรมไมนอ ยกวาภาคการศึกษาละ 1 คร้ัง
(5) เสนอรายงานกจิ การชมรมใหแกส มาชิกชมรม องคการบรหิ าร และมหาวิทยาลัยภาคการศกึ ษาละ 1 ครงั้
(6) จดั ทาํ บตั รสมาชิกใหแ กสมาชกิ ชมรม
(7) รับผิดชอบดแู ลเอกสารพัสดขุ องชมรม
มาตรา 93 รายไดข องชมรม ไดม าจาก

(1) งบประมาณที่องคก ารบรหิ ารจัดสรรให
(2) งบประมาณที่มหาวิทยาลยั จดั สรรให
(3) เงินคาสมาชกิ ชมรม คาบํารุงตา ง ๆ ของชมรม
(4) การรบั บริจาคจากสมาชิก บคุ คล หรือหนวยงานโดยไมม ีเงอื่ นไข
(5) การหารายไดข องชมรม

มาตรา 94 คณะกรรมการบรหิ ารชมรม มวี าระการดํารงตําแหนง 1 ปการศึกษาและพนตําแหนง ทั้งคณะเมื่อ

(1) ออกตามวาระ
(2) ประธานชมรมพนจากตําแหนง
(3) การพน ตําแหนง เน่ืองมาจากมาตรา 50 (9)

มาตรา 95 กรรมการบรหิ ารชมรมพนตําแหนง เมื่อ

(1) ออกตามวาระ
(2) ตาย
(3) ลาออกเปนลายลักษณอักษรตอ ประธานชมรม
(4) คณะกรรมการ 2 ใน 3 มมี ติใหอ อก
(5) หมดสภาพนักศึกษา

มาตรา 96 กอ นปดภาคการศกึ ษาท่ี 2 คณะกรรมการชมรมชดุ เกาจะตอ งมอบงานใหค ณะกรรมการบรหิ ารชมรมชุด
ใหมใ หเ สรจ็ ส้ินภายใน 15 วนั นับแตวันเลือกต้งั

มาตรา 97 กรรมการบรหิ ารชุดใหมจะตองเสนอโครงการและงบประมาณ รวมถึงวตั ถปุ ระสงคของชมรมตอ องคการ
บริหารภายใน 10 วัน นับแตเ ปดภาคการศึกษาที่ 1

มาตรา 98 ใหค ณะกรรมการบริหารชมรมจดั ทาํ รายงานประเมนิ กจิ การของชมรมในรอบปเ สนอตอสมาชกิ ชมรม
องคการบริหาร และมหาวิทยาลยั กอนส้ินสุดวาระกรรมการชมรมในปนน้ั

มาตรา 99 กรณีสิน้ สุดสภาพของชมรมใหโ อนทรัพยส นิ ทั้งหมดของชมรมตอองคก ารบริหาร

19

มาตรา 100 ใหชมรมติดตอประสานงานกับองคการบรหิ ารในการดําเนนิ การของชมรม โดยผา นประธานฝายทีช่ มรม
สังกัดอยู

มาตรา 101 การยบุ หรอื เลิกชมรมอาจกระทําไดโ ดยเหตุใดเหตุหน่งึ ดงั ตอ ไปน้ี

(1) ไมไ ดด ําเนินงานตามวัตถปุ ระสงคของชมรม หรือดาํ เนินการฝาฝนวัตถุประสงค
(2) ฝา ฝนไมป ฏบิ ัติตามธรรมนญู น้ี
(3) ขาดคณุ สมบัตติ ามมาตรา 88
(4) ตามมาตรา 50 (9)
(5) สมาชิกชมรมนอ ยกวา 100 คน

มาตรา 102 ทกุ ชมรมตอ งมอี าจารยทีป่ รึกษา ซง่ึ เปน ขาราชการของมหาวทิ ยาลยั โดยใหประธานชมรมเสนอช่ือ
รายงานผานองคก ารบรหิ ารเพ่ือใหม หาวทิ ยาลยั แตงตั้งบคุ คลอ่ืนทไ่ี มไดเ ปนขาราชการของมหาวิทยาลยั สามารถเปน อาจารยท่ี
ปรึกษารวมได

20

การเขยี นโครงการภายใตว งจรคณุ ภาพ PDCA

Plan (การวางแผน) หมายถงึ ทกั ษะในการกําหนดเปา หมาย การวเิ คราะหและสังเคราะห หาวิธกี ารและ
กระบวนการใหบ รรลเุ ปา หมายน้นั ๆ โดยจะตองมกี ารกําหนดตัวบง ชี้กํากับไว เพ่อื จะไดนําไปใชในการประเมินผล
ดาํ เนินการ

Do (การดําเนินงาน) หมายถึง ทกั ษะในการปฏบิ ตั ติ ามแผน ตามขั้นตอนและเงอ่ื นไขตางๆท่กี ําหนดไว กรณีทีไ่ ม
สามารถดาํ เนินการได เนอ่ื งจากมกี ารเปล่ียนแปลงปจ จยั สิ่งแวดลอ มท้งั ภายในและภายนอกจะตอ งมกี ารปรับแผน
ในระหวางดาํ เนนิ การโดยมีคําอธบิ ายและเหตผุ ลประกอบ

Check (การประเมนิ ผล) หมายถงึ ทักษะในการรวบรวมขอ มลู ของผลการดําเนินงานที่สอดคลองกบั ประเด็นตวั
บง ชท้ี ่ีต้ังไวเพอื่ นํามาใชเปรยี บเทยี บกบั เปา หมายของแผนในข้นั ที่ 1 ในการประเมินนีจ้ ะตอ งพจิ ารณาในเชงิ
ปรมิ าณและเชิงคุณภาพ ของผลงานดวย ซง่ึ ควรจะดําเนินการในลักษณะกรรมการ โดยใหผ ทู เ่ี กีย่ วขอ งและไม
เก่ียวขอ งมารวมในกระบวนการประเมินดว ย เพอื่ จะไดล ดอคติ และลดปจ จัยในการประเมนิ ผลงานของตัวเอง โดย
อาจใชวิธีการในหลายรูปแบบ เชน ใชแ บบสอบถาม ใชก ารสงั เกตสภาพจรงิ หรือใชการสัมภาษณผ ทู มี่ สี ว นไดส ว น
เสยี ก็ได
Act (การปรับปรุง) หมายถึง ทักษะท่ีตองการใหน ําผลการประเมนิ มาใชเ ปน แนวทางในการปรบั ปรงุ ผลการ
ดาํ เนนิ งานในครั้งตอไป ใหมคี ุณภาพมากยงิ่ ข้ึน เชน สรา งความพงึ พอใจใหม ากข้นึ ผลงานไดรบั รางวัลคุณภาพ มี
การประหยดั เวลา ประหยดั คาใชจา ย มีปรมิ าณงานมากขนึ้ สรางความคุม คา หรือสรา งคุณคา ของผลงานใหส ูงขน้ึ

วงจรคุณภาพ

- กําหนดมาตรฐาน - ชี้บงปญหา
- ปรับปรุงและพัฒนา - วิเคราะห
- สรปุ ผล - สงั เคราะห (แนวทางแกไข)
- วางแผน

- การควบคุม ลงมอื ปฏบิ ัติ
- การประเมนิ ผล

21

ขน้ั ตอนการเขยี นโครงการ

1. ชอื่ โครงการ
2. หลกั การและเหตุผล โดยมวี ิธกี ารเขยี นดังนี้ เชน

- ระบุสภาพปญ หา และความตองการแกป ญ หา
- ระบุความจาํ เปนเรง ดว น และความสําคัญเรง ดว น
- ระบกุ ฎ ระเบยี บ ขอบงั คบั หรอื กฎหมายทีเ่ ก่ียวของทจ่ี ําเปน ตองจัดทาํ โครงการ
- ระบุนโยบาย หนวยงาน และแผนพฒั นาหนว ยงานท่ีเก่ียวขอ งที่จําเปน ตอ งจดั ทําโครงการ

3. วัตถปุ ระสงค (เขียนเปน ขอ ๆ )
4. อาจารยทปี่ รึกษาโครงการ
5. ผรู ับผิดชอบโครงการ
6. จาํ นวนผเู ขารวมโครงการ
7. วัน เวลา และ สถานทก่ี ารจดั โครงการ
8. รปู แบบการดาํ เนนิ กิจกรรม/ การบรรยาย/ การฝกปฏบิ ัติ ฯลฯ
9. วธิ กี ารดําเนินงาน/ข้ันตอนการดําเนนิ งาน/ตามกระบวนการ PDCA
10. งบประมาณ
11. ผลทีค่ าดวา จะไดร บั

22

รปู แบบการเขียนโครงการประจําปก ารศึกษา 2558

1. ชอ่ื โครงการ....................................................................

2. หลักการและเหตผุ ล

..................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

3. วัตถปุ ระสงค เขียนเปน ขอ ๆ

1..........................................................................................................................................

2........................................................................................................................................

3.......................................................................................................................................

4.......................................................................................................................................

4. อาจารยท ป่ี รกึ ษาโครงการ

5. ผูร บั ผดิ ชอบโครงการ

6. จํานวนผูเขารว มโครงการ รวม จาํ นวน ..... คน ประกอบดวย

1.นกั ศึกษา..............คน

2. อาจารยท ปี่ รกึ ษา.............คน

7. วัน เวลา และ สถานทีจ่ ดั โครงการ

8. รูปแบบการดําเนินกจิ กรรม / การบรรยาย /การฝก ปฏิบตั ิ ฯลฯ

9. วธิ กี ารดําเนินงาน / ขั้นตอนการดาํ เนินงาน ตามการประกนั คณุ ภาพการศึกษากระบวนการ PDCA

กระบวนการดาํ เนินงาน รูปแบบการดําเนินงาน ระยะเวลาในการดาํ เนนิ งาน

ขนั้ การเตรยี มการ/วางแผน (Plan) ................................................
...............................................

ขน้ั การดาํ เนินการ (Do) ................................................
...............................................

ขั้นตดิ ตามตรวจสอบขณะดาํ เนินการ (Check) ................................................
...............................................

ขั้นการปรับปรงุ การดาํ เนินการใหเ หมาะสม (Act) ................................................
...............................................

10. งบประมาณ

11. ผลท่ีคาดวา จะไดร บั

23

การขออนุมัติจดั กจิ กรรม

รายละเอยี ด เอกสารประกอบ หมายเหตุ

1. ขออนมุ ัติจัดกจิ กรรม - แบบฟอรม ตามทงี่ านกจิ กรรมนักศึกษา - จะตองนาํ เสนอโครงการกอ น
โครงการ
กาํ หนดของแตล ะองคก าร การจดั กิจกรรมอยางนอ ย

- รายละเอยี ดโครงการและกําหนดการ 1 ชดุ 7 วัน

2. การขออนมุ ัติเปลีย่ นแปลง - แบบฟอรม ตามที่งานกจิ กรรมกําหนด - จะตอ งขอเปล่ยี นแปลงกอน
วันทแี่ ละสถานที่ และแนบโครงการที่ ไดรบั การอนมุ ตั ิ การจัดกิจกรรมอยา งนอ ย
มาประกอบการพิจารณาดวย 3 - 5 วนั

3. การขออนมุ ัติยมื เงิน ทดรอง - แบบฟอรม ใบขออนมุ ตั ยิ ืมเงิน - อาจารยทีป่ รึกษาเปนผกู รอก
จาย - สาํ เนาโครงการทไ่ี ดร บั การอนุมตั ิ แบบฟอรม ใหค รบถว น
เรียบรอ ยแลวจํานวน 1 ชดุ - สงเอกสารการยมื เงินหลงั จาก
4. การขออนมุ ัตเิ บิกจายเงนิ ทไี่ ดร ับการอนมุ ัติโครงการ
และสะสางหนเ้ี งนิ ยืมทดรอง 1. แบบฟอรม ขออนมุ ตั เิ บิกเงนิ พรอมเขียน เรยี บรอ ยแลว และกอนการ
จาย รายละเอยี ดใหเ รยี บรอ ยทม่ี มุ ขวามอื ดานลา ง ดาํ เนนิ โครงการอยางนอ ย
ของเอกสารระบุดวยวาอาจารยท ป่ี รกึ ษาเปน 7 วัน
- สงเอกสารทง่ี านกจิ กรรม
- ผรู บั เงนิ (กรณีไมย ืมเงนิ ) หรอื นกั ศึกษา
- ผยู มื เงิน (กรณีเปนผูย ืมเงนิ ) - แจงอาจารยท ปี่ รึกษาเปน
ผูรบั เงินทีง่ านการเงินและบญั ชี
2. โครงการฉบบั จรงิ ทีไ่ ดร บั การอนุมตั ิ (อาคารสาํ นกั งานอธิการบด)ี
เรยี บรอ ยแลว - กรรมการตรวจรบั คอื บคุ คล
ทไ่ี ดระบุชื่อไวใ นโครงการ
3. หลักฐานการจายเงนิ ประกอบดวย เทาน้ันทจ่ี ะเซน็ เอกสารตรวจ
ใบเสรจ็ รับเงิน ใบสําคัญรบั เงิน ที่ออก รบั ไดดูจากโครงการทเี่ สนอขอ
โดยรานคาและถูกตองตามระเบยี บงาน อนมุ ัตจิ ดั กจิ กรรมมจี าํ นวน 3
การเงิน คนประกอบ ดวย
1. อาจารยทป่ี รึกษา
2. รายช่อื คณะกรรมการอกี 2
คน
- การสง เบิกจายใหด ําเนนิ การ
เสรจ็ สิน้ ภายใน 15 – 30 วัน
นบั จากการจัดโครงการ

24

รายละเอยี ด เอกสารประกอบ หมายเหตุ

5. การตดิ ตอ ประสานงาน 4. ดาํ เนนิ การตรวจรับหลักฐานการใช - โครงการทจ่ี ดั ในภาค
ภายในมหาวิทยาลยั
จายในเอกสารทกุ แผนใหเรียบรอย การศกึ ษาที่ 1 (ระหวา งเดือน
6. การตดิ ตอประสานงาน
หนว ยงานภายนอก 5. รายชือ่ และลายมอื ชอื่ ผเู ขารวม ส.ค. – ธ.ค. ใหด ําเนินการสง
มหาวทิ ยาลัย
7. การติดตอขอใชบริการ โครงการประกอบการเบกิ คาอาหาร เบิกใหเรียบรอ ยกอ นการเปด
รถยนตของมหาวทิ ยาลยั
พรอมสาํ เนาบตั รนกั ศึกษาของทกุ คน ภาคการศึกษาที่ 2 มิฉะน้นั จะ

ระงบั การขออนมุ ตั จิ ดั กิจกรรม

ของภาคการศกึ ษาท่ี 2 หรอื

จนกวาจะดาํ เนินการเบิกจา ย

ทุกโครงการเรียบรอ ยแลว

1. ไปตดิ ตอประสานงานดวยวาจา แจง ความ -บางหนวยงานจะมีแบบฟอรม

ประสงคทหี่ นวยงานตางๆ เบื้องตนกอ น เพอื่ ไวบริการไมต อ งทําหนังสอื จาก

รับทราบขอมลู ของทัง้ สองฝา ย องคก รกจิ กรรมและตอ งผาน

2. นําแบบฟอรมทไ่ี ดรับจากหนวยงานท่ไี ป ความเห็นชอบจากงานกจิ กรรม

ขอรบั บรกิ าร กรอกขอ มลู พรอ มแนบสําเนา นกั ศกึ ษา

โครงการและย่ืนเอกสารท่ีงานกจิ กรรม - กรณหี นวยงานใดไมมี

นักศกึ ษาเพือ่ ผานความเหน็ ชอบกอนการ แบบฟอรม บริการ ใหจดั ทํา

นําสงหนวยงานน้นั ๆ หนังสือบนั ทึกขอ ความและผา น

ความเหน็ ชอบทงี่ านกจิ กรรม

นักศกึ ษา

1. รับแบบฟอรม คาํ รอ งขอหนงั สอื ติดตอ - ควรย่นื แบบฟอรม ลว งหนา

หนวยงานภายนอกไดท ่ีงานกจิ กรรมนักศึกษา อยางนอย 5 วนั กอนการจดั

หรอื ดาวนโหลดจากเวบ็ ไซดก องกจิ การ โครงการ

นกั ศึกษาวทิ ยาเขตปต ตานี

2. สําเนาโครงการท่ีไดรับอนุมตั เิ รียบรอยแลว

เพอ่ื แนบไปกับหนังสือ

- สาํ เนาโครงการ 1 ฉบับ เพอื่ นาํ สงงานยาน - ให องคก ารบรหิ ารฯ ,สภา

ยนตมหาวิทยาลัย นกั ศกึ ษา,ชมรม,พรรค ติดตอท่ี

งานกจิ กรรมนักศกึ ษาเพือ่

ประสานงานยานยนต โดยการ

ขอใชรถจะตองลงรายละเอยี ด

ในระบบออนไลน

- สโมสรนกั ศึกษาตดิ ตอ

ประสานงานเจา หนาที่ฝา ย

พฒั นานักศกึ ษาตามทสี่ ังกัด

25

ขั้นตอนการเสนอขออนุมตั ิจดั กิจกรรมและยมื เงนิ ทดรองจา ย

1.องคก ารบรหิ ารองคการนกั ศกึ ษา/สภานกั ศกึ ษา

แบบฟอรม ขออนมุ ตั จิ ดั กจิ กรรมพรอ มโครงการ
องคการบรหิ ารฯ/สภานักศกึ ษาผานการลงความเหน็ เรยี บรอ ยแลว

งานกจิ กรรมนกั ศกึ ษาตรวจสอบ สง คืนองคก รกิจกรรม
เอกสารความถกู ตอ ง/บนั ทกึ เพอื่ แกไข
งบประมาณ/นาํ เสนอโครงการ
ไมถ่ ูกตอง
ถูกตอ ง
ผูอํานวยการกองกจิ การนกั ศึกษา ลงความเหน็

คําสั่งผชู ว ย/รองอธกิ ารบดที ร่ี บั ผิดชอบลงนามอนมุ ัติ

กาํ หนดชวั่ โมงกจิ กรรม/ปรน้ิ รายละเอียดโครงการ

รับเอกสารโครงการที่งานกิจกรรมนกั ศึกษา

26

2. สโมสรนกั ศกึ ษา

แบบฟอรมขออนมุ ัติจดั กจิ กรรมพรอ มโครงการ
นําเสนอรองคณบดฝี า ยพฒั นานกั ศกึ ษาคณะตา งๆ ลงความเห็นเรียบรอยแลว

องคก ารบรหิ ารฯ/สภานักศกึ ษาผานการ สง คืนองคก รกิจกรรม
ลงความเห็นเรยี บรอ ยแลว เพอ่ื แกไ ข

สง เอกสารทงี่ านบรหิ ารและจดั การท่วั ไปลงรบั เอกสาร/ ไมถ่ ูกตอ ง
สงตองานใหกจิ กรรมนักศึกษา

งานกิจกรรมนักศึกษาตรวจสอบ
เอกสารความถกู ตอง/บันทึก
งบประมาณ/นาํ เสนอโครงการ

ถกู ตอ ง
ผูอาํ นวยการกองกจิ การนกั ศึกษา ลงความเหน็

คําส่ังผูช ว ย/รองอธกิ ารบดที ร่ี ับผิดชอบลงนามอนมุ ตั ิ

รับเอกสารโครงการทีง่ านกิจกรรมนักศกึ ษา

27

3. ชมรมกิจกรรมนกั ศกึ ษา

แบบฟอรมขออนมุ ัตจิ ดั กจิ กรรมพรอ มโครงการ
นําเสนออาจารยท ่ีปรึกษาชมรม ตา งๆ

นาํ เสนอเอกสารที่องคก ารบริหารฯ/สภานักศึกษา สงคืนองคกรกิจกรรม
ผา นการลงความเห็นเรยี บรอ ยแลว เพ่ือแกไ ข

สงเอกสารทง่ี านบริหารและจัดการทัว่ ไปลงรบั เอกสาร/ ไมถ่ กู ตอง
สงตอ งานใหกจิ กรรมนกั ศกึ ษา

งานกิจกรรมนกั ศกึ ษาตรวจสอบ
เอกสารความถูกตอง/บันทกึ
งบประมาณ/นาํ เสนอโครงการ

ถูกตอ ง
ผูอาํ นวยการกองกจิ การนกั ศึกษา ลงความเห็น

คาํ สั่งผูช วย/รองอธกิ ารบดีทร่ี บั ผิดชอบลงนามอนมุ ัติ

กําหนดชัว่ โมงกจิ กรรม/ปร้ินรายละเอียดโครงการ

รบั เอกสารโครงการท่ีงานกจิ กรรมนกั ศกึ ษา

28

4. กลุมนกั ศกึ ษาวชิ าเอก

แบบฟอรม ขออนมุ ัติกิจกรรมพรอมโครงการ /
เสนอ หัวหนา แผนก หวั หนาภาควิชา ลงความเห็น

นาํ เสนอนายกสโมสรของคณะทสี่ งั กัด ลงความเหน็

นําเสนอเอกสารท่ีองคก ารบรหิ ารฯลงความเหน็ สง คนื องคก ร
กิจกรรมเพอ่ื แกไข
นําเสนอเอกสารที่ฝายพฒั นา
นกั ศึกษาคณะ/นําเสนอรองคณบดี ไมถ่ ูกตอ ง

ฝา ยพัฒนาฯลงความเหน็

ถกู ตอง
รองคณบดฝี ายพฒั นานกั ศกึ ษาลงนามอนมุ ตั ิ

รับเอกสารโครงการทฝ่ี า ยพัฒนานกั ศกึ ษา

29

5. กลมุ นกั ศกึ ษาท่ัวไป/พรรคนักศกึ ษา

แบบฟอรม ขออนมุ ตั จิ ัดกิจกรรมพรอมโครงการ

นาํ เสนออาจารยท ีป่ รึกษากลุม/พรรค ลงความเหน็ สงคืนองคก ร
กจิ กรรมเพ่ือแกไข
นําเสนอเอกสารทีอ่ งคการบรหิ ารฯลงความเห็น
ไมถ่ ูกตอง
สงเอกสารทง่ี านบรหิ ารและจัดการทัว่ ไปลงรบั
เอกสาร/สง ตองานใหก จิ กรรมนกั ศึกษา

งานกจิ กรรมนกั ศึกษาตรวจสอบ
เอกสารความถกู ตอ ง/บันทึก
งบประมาณ/นาํ เสนอโครงการ

ถูกตอง
ผอู ํานวยการกองกจิ การนักศึกษา ลงความเห็น
คําส่ังผชู ว ย/รองอธกิ ารบดที รี่ บั ผดิ ชอบลงนามอนุมตั ิ
กาํ หนดช่ัวโมงกจิ กรรม/ปริ้นรายละเอียดโครงการ
รบั เอกสารโครงการท่ีงานกิจกรรมนกั ศึกษา

30

ข้ันตอนการขออนุมตั ิเปลยี่ นแปลงวนั เวลา และสถานทก่ี ารจดั โครงการ

บันทกึ ขอ ความรายละเอียดการขออนุมตั เิ ปลี่ยนแปลง
พรอมสําเนาโครงการท่ีไดรบั การอนมุ ตั เิ รยี บรอ ยแลว

สงเอกสารทงี่ านบรหิ ารและจัดการทว่ั ไปลงรบั
เอกสาร/สง ตองานใหก จิ กรรมนกั ศกึ ษา

งานกิจกรรมนักศึกษาตรวจสอบความ
ถูกตอ ง/บันทกึ การเปล่ยี นแปลง/
นาํ เสนอโครงการ

คาํ สงั่ ผูชวย/รองอธิการบดที ร่ี ับผดิ ชอบลงนามอนุมตั ิ
รบั เอกสารโครงการท่ีงานกิจกรรมนกั ศึกษา

31

การยืมเงนิ ทดรองจา ย

แบบฟอรม ใบยมื เงินทดรองจา ยพรอ มแนบสาํ เนา
โครงการท่อี นมุ ตั ิเรยี บรอ ยแลวจํานวน 1 ชุด

สง เอกสารทงี่ านบริหารและจดั การทว่ั ไปลงรบั เอกสาร/
สงตอ งานใหก จิ กรรมนกั ศกึ ษา

งานกจิ กรรมนักศกึ ษาตรวจสอบความถกู ตอ งและลงความเหน็ /
สง ตอ ไปยงั งานการเงินและบญั ชีของมหาวิทยาลัยเพอ่ื

ดาํ เนินการในสวนท่เี กี่ยวขอ งใชเวลา อยางนอ ย 3 - 5 วนั

อาจารยท ป่ี รกึ ษาติดตามการอนมุ ัติเงนิ ยมื โดยโทรสอบถามงาน
การเงนิ และบญั ชโี ทร (1054)

อาจารยทปี่ รกึ ษาขอรบั เงนิ ท่งี านการเงนิ และบญั ช/ี
สง มอบผนู าํ กจิ กรรมนกั ศกึ ษา

ผูนาํ กิจกรรมนกั ศึกษารบั เงนิ ยืมจาก
อาจารยท ปี่ รกึ ษา

32

ขน้ั ตอนการขออนุมตั เิ บกิ จา ยเงนิ /สะสางหนเี้ งนิ ยมื

แบบฟอรมขออนมุ ัตเิ บิกเงนิ +โครงการฉบบั จริง+หลักฐานทาง
การเงนิ คา ใชจาย+รายชอ่ื ผูเขา รว มโครงการดาํ เนนิ การตรวจ

สง เอกสารทง่ี านบรหิ ารและจดั การท่วั ไปลงรบั เอกสาร/
สงตอ งานใหก จิ กรรมนกั ศกึ ษา

งานกจิ กรรมนักศึกษาตรวจสอบ
ความถูกตอง/สงคืนแกไข/ลง
บนั ทึกงบประมาณรายจา ยจริง

ไมถกู ตอง ถกู ตอง

สงคนื องคกร สง เอกสารใหงานการเงนิ
กจิ กรรมเพ่ือแกไข ตรวจสอบความถกู ตอง

งานการเงินและบญั ชตี รวจสอบความ
ถูกตอง

งานการเงนิ และบญั ชสี ะสางหนเ้ี งินยมื /คนื เงินให
อาจารยทปี่ รกึ ษาสามารถตรวจสอบ ในเวบ็ มหาวิทยาลัยโดยไปท่ี Intranet
“ตรวจสอบขอมลู ทางการเงิน” จะมขี อ มลู แจง * เคลยี รเงนิ ยมื แลว /* โอนเงินแลว

33

การตดิ ตอ ประสานงานหนว ยงานภายนอกมหาวิทยาลยั

เขียนแบบฟอรม การติดตอประสานงานหนว ยงานภายนอกมหาวทิ ยาลัย
พรอมแนบสําเนาโครงการที่อนุมตั เิ รียบรอยแลวจาํ นวน 1 ชุด

สง เอกสารแบบฟอรม /สําเนาโครงการทง่ี าน
กิจกรรมนกั ศกึ ษา

งานกิจกรรมนกั ศึกษาดาํ เนนิ การจัดทาํ เอกสารหนงั สอื ภายนอก
ตดิ ตอประสานงานหนวยงานภายนอก

สง เอกสารทงี่ านบริหารและจัดการทั่วไปออกเลขสง เอกสาร/
สง กลับงานใหกจิ กรรมนักศกึ ษา

รบั เอกสารหนงั สอื ภายนอกทงี่ านกิจกรรม
นักศกึ ษาเพ่ือสงใหห นว ยงานที่ติดตอ
ประสานงานตอ ไป

34

การตดิ ตอขอใชบ รกิ ารรถยนตข องมหาวทิ ยาลัย

เขยี นแบบฟอรม ขอใชบรกิ ารรถยนตข องมหาวิทยาลัย
พรอมแนบสาํ เนาโครงการท่ีอนมุ ตั เิ รยี บรอ ยแลว จาํ นวน 1 ชุด

สงเอกสารแบบฟอรม /สําเนาโครงการทง่ี าน
กิจกรรมนกั ศึกษา

งานกิจกรรมนักศึกษาดําเนนิ การขอใชบริการรถยนตข อง
มหาวิทยาลยั ในระบบ

รับเอกสารการขอใชบรกิ ารรถมหาวิทยาลัย
ท่ีงานกจิ กรรมนกั ศกึ ษาเพอ่ื ยนื่ ยนั ในวันเดินทาง

35

 อัตราการเบิกจายและเอกสารประกอบการเบกิ จายงบประมาณ

รายการ อตั ราคา ใชจ าย เอกสารประกอบการเบกิ จา ย การลงตรวจรับในหลักฐาน
การใชเ งิน

1. คา อาหารนักศกึ ษา 1. จัดกิจกรรมภายใน 1. ใบเสร็จรับเงิน/ใบสาํ คัญรบั เงนิ ไดตรวจรบั คาอาหาร ไวถูกตอง
แลว
2. คาอาหารวา ง อตั รา 35 บาท/คน/มือ้ จากรานคา และสําเนาบัตร
และเครือ่ งดืม่ (ลงชื่อ).....................ประธาน
ไมเกนิ 2 มื้อ/วนั ประจาํ ตวั ประชาชนพรอมรับรอง (ลงชื่อ).....................กรรมการ
(ลงชื่อ).....................กรรมการ
2. จดั กิจกรรมภายนอก สาํ เนาถูกตอง
อตั รา 50 บาท/คน/ม้ือไม 2. ใบลงชอื่ และลายมือชื่อของ ......... /......... /.........
เกิน 3 ม้อื /วัน นักศึกษาท่ีเขารวมกิจกรรม
ตามแบบฟอรมทงี่ าน กจิ กรรม ไดตรวจรับ คาอาหารวางและ
เครื่องดมื่ ไวถูกตอ งแลว
1. จดั กจิ กรรมภายใน นกั ศกึ ษากําหนดและสาํ เนาบัตร
อตั รา 15 บาท/คน/มือ้ ประจาํ ตัว (ลงชื่อ).....................ประธาน
นกั ศกึ ษาพรอมรบั รองสําเนา (ลงช่ือ).....................กรรมการ
2. จัดกจิ กรรมภายนอก ถกู ตอ ง (ลงช่ือ).....................กรรมการ
อัตรา 20 บาท/คน/มื้อ
......... /......... /.........

3. คา อาหารในกรณี - ใหเ ฉพาะวันเดนิ ทางไป - ใบสาํ คญั รบั เงนิ และสาํ เนาบตั ร ไดต รวจรับ คาเบีย้ เล้ียงเดินทาง
เดินทางไปเขารวม และ เดนิ ทางกลับอตั รา ประจําตวั นักศกึ ษาพรอม ไวถกู ตองแลว
ประชมุ /อบรม/ สัมมนา คนละ 150 บาท/วัน รบั รองสาํ เนาถูกตอง
และมกี ารเก็บคา (ลงชื่อ).....................ประธาน
ลงทะเบียน (ลงชื่อ).....................กรรมการ
(ลงช่ือ).....................กรรมการ

......... /......... /.........

4. คา พาหนะเดินทางใน 1.โดยสารรถไฟชั้น 3 - ใบรบั รองแทนใบเสรจ็ รับเงนิ ไดตรวจรับ คาพาหนะ ไวถูกตอง
แลว
การไปเขารวมประชุม/ 2. รถโดยสารประจาํ พรอ มแนบกากต๋ัวของรถไฟ
อบรม/สมั มนา ทางปรับอากาศมาตรฐาน หรือรถโดยสารประจําทาง (ลงชื่อ).....................ประธาน
(ลงช่ือ).....................กรรมการ
1 (ข) /รถโดยสารปรับ (ลงช่ือ).....................กรรมการ

อากาศชั้น 1 ......... /......... /.........

รายการ อตั ราคา ใชจา ย เอกสารประกอบการเบิกจา ย 36

การลงตรวจรับในหลักฐาน
การใชเ งนิ

5. คา เบี้ยเลีย้ ง/คาทพี่ กั 1. อัตราคาเบย้ี เลยี้ ง 1. เอกสารการการขอใชร ถ ไดต รวจรบั คาตอบแทน ไวถูกตอ ง
เหมาจา ย พนักงานขบั พนกั งานขบั รถบัสและ มหาวทิ ยาลัย แลว
รถมหาวทิ ยาลยั มนิ บิ สั มหาวิทยาลัย 2. ใบสําคญั รับเงินพรอมสําเนา ไดตรวจรบั วัสดุ ไวถูกตองแลว
- วันปกติ วนั ละ 300 บัตรประจาํ ตัวประชาชนของ
บาท พนักงานขบั รถ (ลงช่ือ).....................ประธาน
- วันหยุดราชการ วันละ 3. ใบเสรจ็ คา น้ํามันรถ (เอกสาร (ลงชื่อ).....................กรรมการ
500 บาท ท้ัง 3 รายการงานยานยนตจ ะ (ลงชื่อ).....................กรรมการ
2. อตั รา คาทพี่ ัก คนละ สงกลับมาใหห ลังจากเดินทางถึง
400 บาท /คืน มหาวทิ ยาลยั ......... /......... /.........

6. คาตอบแทนวิทยากร 1.วิทยากรภายใน 1. ใบสําคญั รบั เงินของวทิ ยากร ไดตรวจรบั คาตอบแทน ไวถูกตอ ง
มหาวิทยาลยั ระบเุ รื่องที่ พูด /เวลาใหช ัดเจน แลว
- อัตรา 300 - 600 2. สําเนาบตั รประจาํ ตวั ประชาขน
บาท/คน/ชม. ไมเ กนิ 3 (บคุ คลท่ัวไป) หรือ สาํ เนาบตั ร (ลงชอ่ื ).....................ประธาน
ชม./คน/วัน นักศกึ ษา(กรณเี ชิญนักศกึ ษา) (ลงชื่อ).....................กรรมการ
3. ลกั ษณะอภิปราย 3. หนงั สือเชิญวิทยากรกําหนดการ (ลงชอื่ ).....................กรรมการ
เสวนาเปน คณะจายไดไม จัดกจิ กรรม/โครงการ
เกนิ 5 คน ......... /......... /.........

2. วทิ ยาการภายนอก 1. ใบสําคญั รับเงินของวทิ ยากร
และเปน ผูทรงคณุ วฒุ ิ ระบุเรอ่ื งท่พี ดู /เวลาใหชดั เจน
- อัตรา 300 – 600 2. สาํ เนาบตั รประจําตัวประชาขน
บาท/คน/ชม. ไมเกิน 3 (บุคคลท่วั ไป) หรือ สําเนาบัตร
ชม./คน/วัน นกั ศึกษา(กรณีเชิญนักศึกษา)
3. ลกั ษณะอภปิ ราย 3. หนังสอื เชิญวทิ ยากรกําหนดการ
เสวนาเปน คณะจายไดไม จัดกจิ กรรม/โครงการ
เกนิ 5 คน

7. คา โทรศัพท 1. โครงการไมเกิน 3 วนั 1. ใบเสรจ็ รับเงินจากรา นคา ท่ี ไดต รวจรบั คา ใชส อย ไวถ ูกตอง
เหมาจายไดโครงการละ ถกู ตองตามระเบยี บ แลว
100บาท กระทรวงการคลัง (ลงชอื่ ).....................ประธาน
2. โครงการตัง้ แต 4 วนั (ลงชอ่ื ).....................กรรมการ
ขน้ึ ไปเหมาจายได 2. แบบฟอรมรายละเอยี ดการ (ลงช่อื ).....................กรรมการ
โครงการละ 200 บาท ใชโ ทรศัพทตามระเบียบ
การเงนิ ......... /......... /.........

รายการ อัตราคา ใชจ าย เอกสารประกอบการเบิกจา ย 37

การลงตรวจรบั ในหลักฐาน
การใชเ งนิ

8. คาอดั ภาพดิจิตอล - โครงการละไมเกนิ 300 - ใบเสรจ็ รบั เงนิ จากรา นคา ที่ ไดตรวจรับ คาวัสดุ ไวถูกตองแลว
บาท ถูกตองตามระเบยี บ (ลงช่ือ).....................ประธาน
(ลงชื่อ).....................กรรมการ
กระทรวงการคลัง (ลงชื่อ).....................กรรมการ

......... /......... /.........

9. คาไวนลิ - ใชร าคากลางเปนเกณฑ - ใบเสรจ็ รบั เงนิ จากรา นคาท่ี ไดตรวจรับ คาวัสดุ ไวถูกตองแลว
โดยเปรียบเทยี บ ถกู ตอ งตามระเบียบ (ลงช่ือ).....................ประธาน
คา ใชจ ายในการจัดทํา กระทรวงการคลัง (ลงช่ือ).....................กรรมการ
ตารางเมตรละ 120 บาท (ลงช่ือ).....................กรรมการ

......... /......... /.........

10. คาเชา เหมารถ - ใชร าคากลางเปนเกณฑ 1. ใบเสรจ็ รับเงิน/ใบกาํ กบั ไดตรวจรับ คาใชสอย ไวถูกตอง
(กรณรี ถยนต โดยเปรยี บเทียบ ภาษีออกโดยบริษทั ท่เี ชารถ แลว
มหาวทิ ยาลยั ไมวา งรถท่ี คา ใชจา ยในการเชา เหมา 1 ฉบบั
เชา ตองเปน รถที่จด รถกบั การขอใชร ถยนต (ลงชื่อ).....................ประธาน
ทะเบยี นเปน รถ ของมหาวิทยาลัย 2. ในกรณีเชารถสองแถวตอง (ลงชื่อ).....................กรรมการ
รับจางหรอื รถประจาํ แนบเอกสารตอไปน้ี (ลงชื่อ).....................กรรมการ
ทาง ไมอนุญาตใหเชา ประกอบการเบกิ จาย
เหมารถสว น ......... /......... /.........
บุคคล) 2.1 ใบสาํ คญั รบั เงินและ
สําเนาบัตรประชาชน
ของผเู ปนเจา ของรถ

2.2 ใบคูม ือจดทะเบียน

ก). ถายเอกสารหนา
รายการจดทะเบียน
1 ฉบบั

ข). ถายเอกสารหนา
รายการแสดงความ
เปน เจา ของรถ 1 ฉบับ

38

ประกาศรายละเอียดอตั ราคา เชาเหมารถโดยสารประจาํ ทาง ป 2558

อัตราคาเชา เหมา

ลาํ ดบั สถานที่ 1 วัน 2 วันขึ้นไป หมายเหตุ
(ไป-กลบั ) เพ่มิ วันละ

1 จ.ปต ตานี 8 อําเภอ 600 500

2 อ.ปาโจ จ.นราธวิ าส 1,100 800

3 อ.เมอื ง จ.นราธิวาส 1,300 800

4 อ.เทพา จ.สงขลา 600 500

5 เกาะยอ จ.สงขลา 1,400 800

6 อ.มะนัง จ.สตลู 2,400 1,000

7 อ.ละงู จ.สตลู 2,400 1,000

8 อ.ควนโดน จ.สตูล 2,200 1,000

9 อ.แมข ร,ี อ.ตะโหมด ,อ.กงหรา จ.พัทลงุ 2,200 1,000

10 อ.ทะเลนอ ย , อ.ปาพะยอม จ.พัทลุง 2,500 1,000

11 หนานมดแดง จ.พทั ลงุ 2,500 1,000

12 จ.นครศรีธรรมราช 4.400 1,500

13 ศ.อบต. จ.ยะลา 700 500

14 อ.เบตง จ.ยะลา 2,400 1,000

**สํารวจเมอ่ื วนั ท่ี 8 กรกฎาคม 2558

39

บันทกึ ขอ ตกลงความรวมมอื การดําเนนิ การรณรงค ลด ละ เลกิ การใชภาชนะโฟม

40

รายละเอียด/ราคาผลติ ภณั ฑเ กรซซิมเ

รหัสสนิ คา้ ชอื สนิ คา้ ชนิ /แพ็ค แพ็ค/กลอ่ ง

B001 กลอ่ งอาหาร ขนาด 7 นวิ / 600 มล. 50 16

B004 กลอ่ งอาหาร ขนาด 6 นวิ / 450 มล. 50 16

B030 กลอ่ งอาหาร 3 ชอ่ ง ขนาด 7 นวิ /450 50 5
มล.

L001 ชาม 500 มล. 50 12

เปล บรรจภุ ฑั ณท างเลอื กเพ่อื ส่งิ แวดลอ ม 41
ตวั อย่างสนิ คา้
ง ชนิ /กลอ่ ง ชนิ ละ แพ็คละ กลอ่ งละ
800 2.25 115 1840

800 2.00 105 1680

250 4.20 215 1075
600 1.75 90 1080

รหสั สนิ คา้ ชอื สนิ คา้ ชนิ /แพ็ค แพ็ค/กลอ่ ง
L006 ชาม 680 มล. 50 18

L026 ชาม 350 มล. 50 24

L038 ชาม 875 มล. 50 18

L051 แกว้ นํา 260 มล. 50 20

42

ง ชนิ /กลอ่ ง ชนิ ละ แพ็คละ กลอ่ งละ ตวั อย่างสนิ คา้
900 1.90 100 1800

1200 1.50 80 1920

900 1.90 100 1800

1000 1.25 65 1300

รหสั สนิ คา้ ชอื สนิ คา้ ชนิ /แพ็ค แพ็ค/กลอ่ ง

P009 จาน วงรขี อบสเี หลยี ม 6.5 นวิ 50 24

P011 จาน 7 นวิ มขี อบ 50 30

P013 จาน 9 นวิ มขี อบ 50 16

P009 จาน วงรขี อบสเี หลยี ม 6.5 นวิ 50 24

43

ง ชนิ /กลอ่ ง ชนิ ละ แพ็คละ กลอ่ งละ ตวั อย่างสนิ คา้

1200 1.50 80 1920

1500 1.50 80 2400

800 2.10 110 1760

1200 1.50 80 1920


Click to View FlipBook Version