The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kapood boon, 2020-03-16 23:00:42

1-16(9)

1-16(9)

2 ประจาํ เดือน พฤศจกิ ายน 2562 - เมษายน 2563 สารสัมพันธ สอ.ครเู พชรบรุ ี

ÊÒèҡ»Ãиҹ¡ÃÃÁ¡ÒÃ

ÊˡóÍÍÁ·Ã¾Ñ ¤ ÃÙྪúÃØ Õ ¨íÒ¡´Ñ

เรยี น สมาชิกสหกรณออมทรัพยครเู พชรบุรี จาํ กดั ทุกทาน
ตามทม่ี ตขิ องคณะกรรมการสหกรณอ อมทรพั ยค รเู พชรบรุ ี จาํ กดั มกี ารปรบั อตั ราดอกเบย้ี เงนิ กู

ลดลง 0.25% และปรบั อตั ราดอกเบยี้ เงนิ ฝากลดลง 0.25% เชน เดยี วกนั ซงึ่ การปรบั ลดอตั ราดอกเบยี้
ดังกลาว เปนไปตามทิศทางของการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารแหงประเทศไทย
ซง่ึ ธนาคารแหง ประเทศไทยใชเ ปน เครอื่ งมอื สง สญั ญานโยบายการเงนิ เดมิ ดอกเบยี้ นโยบายประเทศไทย
อยทู อ่ี ตั รา 1.50% มกี ารปรบั ลดลง 0.25% มาอยทู ี่ 1.25% ดงั นนั้ เมอ่ื มกี ารปรบั ลดอตั ราดอกเบยี้ เงนิ กู
ก็ตองปรับลดอตั ราดอกเบยี้ เงินฝากเชนเดยี วกนั เพอ่ื รกั ษาสวนตางของอตั ราดอกเบีย้ ใหเหมาะสม

ผลท่ีเกิดข้ึนเมื่อมีการปรับลดอัตราดอกเบ้ียเงินฝากและอัตราดอกเบ้ียเงินกู การลดอัตรา
ดอกเบ้ียเงินฝาก 0.25% ทําใหสมาชิกไดผลตอบแทนนอยลง แตเม่ือเปรียบเทียบกับอัตราดอกเบ้ีย
เงินฝากประจําของธนาคารพาณชิ ยท่ปี ลอดภาษอี ัตราดอกเบยี้ เฉลี่ยอยทู ่ี 2.50% สว นอตั ราดอกเบีย้
เงินฝากออมทรัพยพิเศษของสหกรณออมทรัพยครูเพชรบุรี จํากัด ลดลงจาก 3.50% เหลือ 3.25%
และปลอดภาษีดอกเบ้ียเงินฝากเชนเดียวกัน อัตราดอกเบี้ยเงินฝากยังสูงกวาของธนาคารพาณิชย
ในลักษณะเดียวกนั

สมาชิกท่ีมีสินเช่ือหรือกูเงินกับสหกรณออมทรัพยครูเพชรบุรี จํากัด ผลของการลดอัตรา
ดอกเบีย้ เงินกู จะทาํ ใหภาระดอกเบย้ี ลดลง ถือเปนโอกาสท่ดี ีของสมาชิกทเี่ ขา มาใชบ ริการสินเชือ่ หรอื
เงินกตู ามศกั ยภาพของสมาชกิ

กลา วโดยสรปุ จากผลการลดอตั ราดอกเบยี้ ดงั กลา ว จะทาํ ใหส หกรณอ อมทรพั ยค รเู พชรบรุ ี จาํ กดั
สญู เสยี รายไดล ดลงจากอตั ราดอกเบยี้ เงนิ กขู องสมาชกิ แตเ พอ่ื เปน การแบง เบาภาระของสมาชกิ ลดลงไดบ า ง
ในขณะเดียวกันสหกรณฯ ตองลดอัตราดอกเบ้ียเงินฝากที่จายใหกับสมาชิกเงินฝาก เชนเดียวกัน
อยางไรก็ตามผลตอบแทนอัตราดอกเบี้ยเงินฝากของสหกรณฯ ก็ยังคงใหคาตอบแทนที่สูงกวา
ของธนาคารพาณิชยใ นรูปแบบเดยี วกัน

(ดร.สงั เวียน ออ นแกว )
ประธานกรรมการสหกรณอ อมทรัพยครเู พชรบุรี จํากดั

ประจาํ เดือน พฤศจิกายน 2562 - เมษายน 2563 สารสมั พนั ธ สอ.ครูเพชรบุรี 3

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒôíÒà¹Ô¹¡ÒÃÊˡóÍÍÁ·ÃѾ¤ÃàÙ ¾ªÃºØÃÕ ¨Òí ¡´Ñ ª´Ø ·èÕ 63

ดร.สงั เวียน ออ นแกว
ประธานกรรมการดําเนนิ การ

นายสุรพล เก็งทอง นายสมศกั ดิ์ แตงอวบ นายไพโรจน ชอผกา

รองประธานกรรมการ คนท่ี 1 รองประธานกรรมการ คนท่ี 2 รองประธานกรรมการ คนท่ี 3

นางอารีย คําเพง็ น.ส.รัสรินร สุรพรรณทพิ ย ผศ.ธีรพิทย โตต อบ ดร.วิโรจน บญุ ดี
กรรมการและเลขานุการ
กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและผูช วยเลขานกุ าร กรรมการและผชู วยเหรัญญกิ

นายประสทิ ธ์ิ มากมูล นายสามารถ แสงกระจา ง นายวิวัฒน โกยม นายวีรพงศ เกษมสงคราม
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

นางพรทิพย สวางลาภ นายธนาวุฒิ แกวนอย นายชาญศักดิ์ ทองอินที
กรรมการ กรรมการ กรรมการ

4 ประจาํ เดือน พฤศจิกายน 2562 - เมษายน 2563 สารสัมพนั ธ สอ.ครเู พชรบรุ ี

§´ÃºÑ à§Ô¹½Ò¡ áÅÐ»ÃºÑ Å´ÍѵÃÒ´Í¡àºÂéÕ à§Ô¹½Ò¡¨Ò¡ÊˡóÍè×¹

ปจ จบุ นั สหกรณไ ดง ดรบั เงนิ ฝากจากสหกรณอ น่ื
และปรับลดอัตราดอกเบ้ียเงินฝากทุกประเภท
จากสหกรณอ ่ืนลง ดงั ตาราง

ประเภทเงนิ ฝาก อตั ราดอกเบยี้

เงนิ ฝากออมทรพั ย เดมิ ใหม
เงนิ ฝากออมทรพั ยพ ิเศษ
รอ ยละ 2.00 รอ ยละ 1.75

รอ ยละ 3.00 รอ ยละ 2.50

»ÃºÑ Å´ÍѵÃÒ´Í¡àºÂÕé à§¹Ô ÃºÑ ½Ò¡¨Ò¡ÊÁÒªÔ¡Êˡó

คณะกรรมการดําเนินการ
ชุดที่ 63 มีมติใหปรับลดอัตรา

รดออยกลเบะี้ย0เง.นิ 2ร5บั ฝตาอกปทุกดปงั รนะ้ี เภทลง

ประเภทเงินฝาก อตั ราดอกเบี้ย (ตอ ป)

เงนิ ฝากออมทรัพย เดิม ใหม
เงนิ ฝากออมทรัพยพเิ ศษ
เงินกองทุนโรงเรยี น รอ ยละ 2.00 รอยละ 1.75
เงินฝากประจาํ
- เงินฝากประจํา 3 เดอื น รอ ยละ 3.50 รอยละ 3.25
- เงินฝากประจาํ 6 เดอื น
- เงินฝากประจํา 12 เดอื น รอยละ 4.00 รอยละ 3.75
- เงนิ ฝากประจาํ 24 เดอื น
รอยละ 3.50 รอยละ 3.25
รอ ยละ 3.75 รอ ยละ 3.50
รอยละ 4.00 รอยละ 3.75
รอ ยละ 4.25 รอยละ 4.00

ประจําเดือน พฤศจกิ ายน 2562 - เมษายน 2563 สารสมั พันธ สอ.ครูเพชรบรุ ี 5

¡ÒÃÃºÑ ½Ò¡à§Ô¹¢Í§ÊÁÒª¡Ô

สหกรณอ อมทรพั ยครเู พชรบุรี จํากดั
งดใหส มาชกิ เปด บญั ชเี งนิ ฝากเพอื่ บคุ คลอนื่

ไทมกุ เ ปกนิระ5เภ0ท0แ,ล0ะใ0ห0ส มบาาชทกิ ฝ(หาากแเงสนิ นไบดาบ ทญั ถชว ลีนะ)

ตอ บญั ชตี อ เดอื น มผี ลตงั้ แตว นั ท่ี 25 กมุ ภาพนั ธ
2563 เปนตนไป

»ÃºÑ Å´ÍѵÃÒ´Í¡àºéÕÂà§Ô¹¡ŒÙãËŒá¡Ê‹ ÁÒªÔ¡

เพื่อเปนการแบงเบาภาระดอกเบ้ียของสมาชิกท่ีกูเงินของสหกรณ
และใหสอดคลองกับภาวะของตลาดเงินและสถานะทางการเงินของสหกรณ
คณะกรรมการดําเนินการ ชุดที่ 63 จึงมีมติใหปรับลดอัตราดอกเบ้ียเงินกูลง
มผี ลต้งั แตว ันที่ 2 มกราคม 2563 เปนตนไป ดังตาราง

ประเภทเงนิ กู อตั ราดอกเบ้ีย (ตอ ป)
เดิม ใหม

เงินกฉู กุ เฉิน รอยละ 5.25 รอยละ 5.00

เงินกูส ามญั ใชทนุ เรือนหุน และเงนิ ฝากค้าํ ประกัน รอ ยละ 5.25 รอยละ 5.00

เงินกสู ามัญใชบคุ คลคํา้ ประกัน รอ ยละ 5.25 รอยละ 5.00

เงนิ กูส ามัญรวมหน้สี ถาบันการเงนิ รอยละ 5.25 รอยละ 5.00

เงินกูโ ครงการย้ิมไดส ุขใจ รอยละ 5.25 รอยละ 5.00

เงินกพู เิ ศษ รอ ยละ 5.25 รอยละ 5.00

6 ประจาํ เดอื น พฤศจกิ ายน 2562 - เมษายน 2563 สารสัมพนั ธ สอ.ครูเพชรบรุ ี

¡Òèҋ ¤‹ÒàºéÕ»ÃÐ¡Ñ¹Ê¹Ô àªèÍ× ÃÒÂà´×͹

โดยมคี วาตมาคมมุ ทคสี่รอหงกกรรณณอเี สอยีมชทวี รติ พั 4ย0คร0ูเพ,0ช0รบ0รุ ีบจาทาํ กเัดบย้ี ไปดรจะัดกนัทาํ2ป,0ร7ะ2กบนั าสทินตเชอ ื่อคน(/1ต5อ 0ป)

โดยการหักเกบ็ คาเบย้ี ประกนั จากสมาชิกเดอื นละ 150 บาท (150*12 = 1,800 บาท
สวนตางสหกรณฯ เปนผูรบั ผิดชอบจายใหแกส มาชิก) ในป 2563 บรษิ ัทประกัน
ไดเรียกเก็บคาเบี้ยประกันเพิ่มเปน 2,548 บาทตอคน/ตอป เน่ืองจากปที่ผานมา
มีสมาชิกเสียชีวิตมาก

คณะกรรมการดาํ เนนิ การจงึ มมี ตใิ หห กั คา เบยี้ ประกนั จากสมาชกิ
เพิ่มจากเดิมเดือนละ 150 บาท เปน 180 บาท โดยจะเร่ิมต้ังแต
เดือนเมษายน พ.ศ.2563 เปนตน ไป

ᨌ§à»ÅÕè¹á»Å§¡Òí ˹´¡ÒÃà´¹Ô ·Ò§â¤Ã§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ´Ù§Ò¹
áÅзÈÑ ¹È¡Ö ÉÒ »‚ 2563

ตามทสี่ หกรณอ อมทรพั ยค รเู พชรบรุ ี จาํ กดั ไดจ ดั ทาํ โครงการศกึ ษาดงู านและทศั นศกึ ษา
ประจําป 2563 ในปน ้มี ีผสู มคั รเขา รว มโครงการดังกลา ว ท้ังในเสนทางมาเลเซีย – สงิ คโปร
และเสน ทางเวยี ดนามเหนอื ซงึ่ ไดก าํ หนดวนั เวลาการเดนิ ทางไวเ รยี บรอ ยแลว นน้ั ดว ยสถานการณ
ปจ จุบันเกิดการแพรระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโควคิ -19 (COVID-19) ทม่ี ีการเปล่ยี นแปลง
ตลอดเวลา และมีโอกาสที่จะเกิดการแพรระบาดของโรคในวงกวางซึ่งไมสามารถคาดคะเน
ความรุนแรงของการระบาดได คณะกรรมการจึงเล็งเห็นถึงความปลอดภัยของสมาชิก
และครอบครัว จึงขอเปลย่ี นแปลงการทศั นศึกษา ดังนี้

1. เลอื่ นการเดินทางไปทศั นศึกษาเสน ทางเวียดนามเหนอื
- กลุมท่ี 1 เดนิ ทางไปวนั ที่ 11 – 15 มีนาคม 2563
ใหเล่ือนการเดนิ ทางเปน วันที่ 9 – 13 กรกฎาคม 2563
- กลุมท่ี 2 เดินทางไปวันท่ี 19 – 23 มีนาคม 2563
ใหเลื่อนการเดินทางเปนวันที่ 2 – 6 กรกฎาคม 2563

2. ยกเลิกการเดนิ ทางทัศนศึกษาเสนทางมาเลเซยี – สงิ คโปร

»ÃСÒÈÇѹË嫯 ·Òí ¡ÒÃÊˡóϏ

à´×͹àÁÉÒ¹ 2563

Çѹ·èÕ 7 àÁÉÒ¹ 2563 ª´àªÂÇѹ¨¡Ñ ÃÕ
Çѹ·èÕ 16 àÁÉÒ¹ 2563 ª´àªÂÇ¹Ñ Ê§¡ÃÒ¹µ

ประจําเดอื น พฤศจกิ ายน 2562 - เมษายน 2563 สารสัมพนั ธ สอ.ครูเพชรบรุ ี 7

¡ÒÃ½Ò¡à§¹Ô à¢ÒŒ ºÞÑ ªÊÕ Ë¡Ã³¼ Ò‹ ¹¸¹Ò¤ÒÃ

เพ่ืออํานวยความสะดวกใหกับสมาชิกในการนําเงินมาฝากกับสหกรณหรือชําระหนี้สหกรณ
โดยไมต อ งเดนิ ทางนาํ เงนิ มาฝากทสี่ หกรณฯ สมาชกิ สามารถฝากเงนิ และชาํ ระหนผ้ี า นทางธนาคารพาณชิ ย
ตา ง ๆ โดยมเี งื่อนไข ดงั นี้

1. ใหสมาชิกนําเงินท่ีจะฝากหรือชําระหนี้ไปเขาบัญชีเงินฝากตามประเภทบัญชีของสหกรณฯ
ชอ่ื บญั ชี “สหกรณอ อมทรพั ยค รเู พชรบรุ ี จาํ กดั ” ทม่ี อี ยกู บั ธนาคารตา งๆดงั รายละเอยี ดและหมายเลขบญั ชี
ตอ ไปน้ี

ธนาคาร สาขา เลขท่ีบญั ชี ประเภท

กรุงไทย เพชรบรุ ี 703-1-22379-2 ออมทรพั ย
กรุงไทย พระนครคีรี 731-1-10877-2 ออมทรพั ย
ธกส. เพชรบรุ ี 010042786719 ออมทรัพย
ธนชาต เพชรบรุ ี 547-6-01638-8 ออมทรพั ย
กรงุ เทพฯ เพชรบรุ ี 278-3-00657-6 กระแสรายวัน
กรงุ ศรีฯ จอมเกลา 325-0-00174-5 กระแสรายวนั
กสิกรไทย เพชรบรุ ี 207-1-01588-5 กระแสรายวนั
ทหารไทย เพชรบุรี 357-1-07013-9 กระแสรายวัน
ไทยพาณิชย เพชรบุรี 504-3-01588-6 กระแสรายวัน
ไทยพาณิชย บก๊ิ ซีเพชรบรุ ี 884-3-00015-2 กระแสรายวัน
ออมสิน เพชรบุรี 020131181487 เผือ่ เรียก

2. เมื่อสมาชิกไดฝากเงินผานบัญชีเงินฝากของสหกรณฯ แลว เพื่อประโยชนของสมาชิก

โปรดนําสําเนาหลักฐานใบนําฝากเงินของธนาคารติดตอเจาหนาท่ีสหกรณฯ
หรือสงสลิปผานไลน @phetcoop โดยแจงวัตถุประสงคการโอนใหชัดเจน
เชน ฝากเขาบญั ชเี ลขท่ี ชอ่ื บัญชี หรอื ชาํ ระหนี้ เลขทะเบียนสมาชกิ สญั ญา
เลขท่ี เพื่อบนั ทึกรายการฝากเงนิ ในบัญชีเงนิ ฝากของทา นหรือนําไปชําระหนี้
ของทานภายในวันเดียวกัน

8 ประจาํ เดอื น พฤศจกิ ายน 2562 - เมษายน 2563 สารสมั พนั ธ สอ.ครเู พชรบรุ ี

¼Å¡ÒôíÒà¹¹Ô §Ò¹¢Í§ÊˡóÍÍÁ·Ã¾Ñ ¤ ÃÙྪúØÃÕ ¨íÒ¡Ñ´
³ Çѹ·èÕ 29 ¡ØÁÀÒ¾¹Ñ ¸ ¾.È. 2563

รายการ พ.ย.62 ธ.ค.62 ม.ค.63 ก.พ.63
สมาชกิ (คน) 8,672 8,678 8,678 8,712
สินทรพั ย (ลบ.) 9,772.16 9,534.37 9,619.53 9,570.60
เงินใหกูแกส มาชิก (ลบ.) 8,095.59 8,096.63 8,095.60 8,100.45
เงินใหส หกรณอืน่ กู (ลบ.) 310.60 301.40 277.20 253.00
เงินรบั ฝาก (ลบ.) 6,057.84 6,065.61 6,061.00 6,069.27
ทุนเรอื นหุน (ลบ.) 3,044.21 3,038.00 3,045.77 3,054.22
รายได (ลบ.) 113.18 147.16
รายจาย (ลบ.) 35.33 70.79
กาํ ไรสทุ ธิ (ลบ.) 13.13 16.97 72.27 74.08
22.20 53.82 40.91 73.08

à¾èÁÔ à¾Íè× ¹à¾Íè× ÃѺ¢Ò‹ Ç

สหกรณออมทรพั ยค รเู พชรบรุ ี จาํ กดั
ไดพ ฒั นาแอปพลเิ คชน่ั Line สอ.ครเู พชรบรุ ี
เพอื่ เปน อกี ชอ งทางใหส มาชกิ ไดร บั ขา วสาร
ประชาสมั พนั ธต า งๆ ไดโ ดยตรง และรวดเรว็
สมาชิกสามารถติดตอสอบถามขอมูล
ผา นทางชอ งทางนี้

ประจําเดอื น พฤศจกิ ายน 2562 - เมษายน 2563 สารสมั พนั ธ สอ.ครูเพชรบรุ ี 9

¤ÅÒ¤ÇÒÁʧÊÑÂàÃ×èͧà§Ô¹à´×͹µÍŒ §àËÅÍ× 30%

¼àŒµÙ¾Ã×èÍÇÁ¨ÊÍࡺ´Ô¡á¨Ô ¡¡ÇŒÒÃ

ตามที่เพ่ือนสมาชกิ สหกรณอ อมทรัพยครเู พชรบุรี จํากดั ไดใ หค วามไววางใจเลือกพวกเราเปน
คณะผูตรวจสอบกิจการฯ พวกเราตระหนักเสมอวาตองปฏบิ ัติหนาทตี่ ามบทบาทของผตู รวจสอบกิจการฯ
ใหบ งั เกดิ ผลดตี อ สหกรณแ ละมวลสมาชกิ สหกรณฯ เมอ่ื พบสงิ่ ใดทจ่ี ะสง ผลกระทบถงึ สมาชกิ สหกรณ พวกเรา
ขออาสาวา จะตดิ ตามความเปน มาเปน ไปเพอ่ื หาความชดั เจน แจง ใหท ราบ ตวั อยา งเชน ในชว ง 3 - 4 เดอื น
ทผี่ า นมา ประเดน็ ทเี่ พอื่ นสมาชกิ สหกรณฯ ใหค วามสนใจอยา งมาก คอื กรณกี ารหกั เงนิ เดอื น หรอื เงนิ บาํ เหนจ็ บาํ นาญ
เพอ่ื ชาํ ระหนเ้ี งนิ กจู ะตอ งมสี่ ว นทเ่ี หลอื สทุ ธหิ ลงั หกั แลว ไมน อ ยกวา 30% หลายคนสงสยั วา เรอ่ื งนม้ี นั คอื อะไร
มที ่มี าอยา งไร และจะสงผลอยา งไรในอนาคต คณะผูตรวจสอบกิจการฯจึงขอใชโอกาสน้ีทําความเขาใจ
เรือ่ งดงั กลาว ดงั นี้

สืบเน่ืองมาจากกระทรวงศึกษาธิการไดออกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการหักเงินเดือน
เงนิ บาํ เหนจ็ บาํ นาญขา ราชการเพอ่ื ชาํ ระหนเี้ งนิ กใู หแ กส วสั ดกิ ารภายในสว นราชการและสหกรณ พ.ศ. 2551
เมอื่ วนั ที่29 มกราคม 2551 ดว ยเหตผุ ลเพอ่ื ใหก ารดาํ เนนิ การหกั เงนิ เดอื น เงนิ บาํ เหนจ็ บาํ นาญเพอ่ื ชาํ ระหนเ้ี งนิ กู
มคี วามชดั เจนถกู ตอ งเหมาะสม และเกดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ สง ผลใหข า ราชการครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา
สามารถดาํ รงตนไดอ ยา งมศี กั ดศ์ิ รี มคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ตี ามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง รวมทงั้ การจดั ระเบยี บวนิ ยั
ทางการเงนิ ใหเ หมาะสมกบั รายได โดยมสี าระสาํ คญั ของระเบยี บดงั กลา วอยทู ่ี ขอ 7 ความวา “ ขา ราชการ
ที่ประสงคจะใหสวนราชการหักเงินเดือนหรือเงินบําเหน็จบํานาญเพื่อชําระหนี้เงินกูมีสิทธ์ิที่จะเลือกใช
สวัสดิการภายในสวนราชการหรือสหกรณไดตามความประสงค แตทั้งนี้การจะใหสวนราชการหักเงิน
ณ ท่ีจา ยเพื่อชําระหนเ้ี งินกนู ้นั จะตอ งมีเงนิ เดอื นสทุ ธิหลังจากหกั ชําระหน้ีแลวไมนอ ยกวาอตั ราดังตอ ไปนี้
(1) รอ ยละ 10 ตงั้ แตเ ดอื นตลุ าคม พ.ศ. 2551 , (2) รอ ยละ 15 ตง้ั แตเ ดอื นตลุ าคม พ.ศ. 2552 , (3) รอ ยละ 20
ตงั้ แตเ ดอื นตลุ าคมพ.ศ.2553, (4) รอ ยละ25 ตงั้ แตเ ดอื นตลุ าคม
พ.ศ. 2554 , (5) รอ ยละ 30 ตัง้ แตเดอื นตุลาคม พ.ศ. 2555
ในกรณที ไ่ี มเ ปน ไปตามหลกั เกณฑต ามวรรคหนง่ึ ใหส ว นราชการ
งดหกั เงนิ จนกวา จะมกี ารดาํ เนนิ การใหเ ปน ไปตามหลกั เกณฑ
ตามวรรคหนง่ึ ”

แตในความเปนจริง สวนราชการไมไดถือปฏิบัติ
ตามหลกั เกณฑใ นระเบยี บฯ ขา ราชการบางคนมเี งนิ เดอื นสทุ ธิ
ไมถึง 30% กลุมขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

10 ประจําเดือน พฤศจกิ ายน 2562 - เมษายน 2563 สารสมั พนั ธ สอ.ครเู พชรบรุ ี

จํานวน 2919 คน จึงไดยื่นฟองรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการกับพวก ตอศาลปกครองกลาง
เมอ่ื วนั ที่ 30 ตลุ าคม พ.ศ. 2561 รวม 45 สาํ นวนคดี โดยกลา วอา งวา รฐั มนตรวี า การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานละเลยตอหนาท่ี อีกท้ัง
ศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ผอู าํ นวยการสาํ นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา รวมทงั้ หวั หนา สถานศกึ ษาในสงั กดั กระทรวง
ศกึ ษาธกิ าร ยงั คงฝา ฝน ขอ กาํ หนดตามระเบยี บฯ ตอ มาศาลปกครองไดม คี าํ พพิ ากษา เมอ่ื วนั ท่ี 26 กนั ยายน
พ.ศ. 2562 พพิ ากษาให รัฐมนตรีวาการกระทรวงศกึ ษาธิการ ปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ และเลขาธกิ าร
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปฏิบัติหนาที่ในการควบคุมดูแลหรือสั่งการใหหนวยงานในสังกัด
ดาํ เนนิ การหกั เงนิ เดอื นหรอื เงนิ บาํ เหนจ็ บาํ นาญใหเ ปน ไปตามระเบยี บฯ กบั ใหศ กึ ษาธกิ ารจงั หวดั ผอู าํ นวยการ
สาํ นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา รวมทงั้ หวั หนา สถานศกึ ษาในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ดาํ เนนิ การหกั เงนิ เดอื น
หรือเงินบําเหน็จบํานาญใหเปนไปตามหลักเกณฑของระเบียบฯ โดยใหดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน
หนึง่ รอ ยแปดสบิ วันนับแตว ันท่ีศาลมีคําพพิ ากษาถงึ ท่ีสุด

กรณีดังกลาวสงผลกระทบถึงเพื่อนสมาชิกสหกรณฯ เฉพาะสมาชิกที่อยูในสังกัดกระทรวง
ศกึ ษาธกิ าร เพราะสว นราชการผหู กั เงนิ ดาํ เนนิ แกไ ขปญ หาเปน 2 กรณีคอื 1) กรณตี อ งการกเู งนิ ใหมถ า เงนิ เดอื น
สุทธิไมถึง 30% สวนราชการผูหักเงินจะไมรับรองรายไดและการหักเงินเพื่อชําระหน้ี สงผลใหสมาชิก
สหกรณไ มส ามารถกเู งนิ ไดต ามตอ งการ 2) กรณสี มาชกิ ทมี่ เี งนิ กอู ยกู อ นแลว สว นราชการผหู กั เงนิ บางแหง
ทาํ การปรับลดยอดการหกั เงินเดือนหรอื เงนิ บาํ นาญเพ่อื ชําระหน้ี สงผลใหยอดสง เงนิ งวดชําระหนไ้ี มเ ปน
ไปตามสัญญาเงนิ กูสมาชิกตอ งนาํ สงสว นทขี่ าดโดยตรงทีส่ หกรณฯ เปน รายบุคคล

ที่เลามาทั้งหมดเพื่อจะชี้ใหเห็นวาเรื่องเงินเดือนตองเหลือ 30 % เปนนโยบายของหนวยงาน
ภายนอกซง่ึ สง ผลกระทบตอ สหกรณแ ละมวลสมาชกิ สาํ หรบั คาํ ถามทว่ี า ตอ ไปนส้ี หกรณจ ะมวี ธิ แี กไ ขปญ หา
เรอื่ งนอี้ ยา งไร คงเปน ภารกจิ ทฝี่ า ยบรหิ ารทตี่ อ งดาํ เนนิ การวางแนวปฏบิ ตั ทิ เ่ี หมาะสม หากมคี วามคบื หนา
อยา งไรพวกเราคณะผตู รวจสอบกจิ การฯ จะรวบรวมนาํ เสนอใหเพอื่ นสมาชิกสหกรณฯ ทราบในโอกาส
ตอไป

คณะผูตรวจสอบกจิ การฯ

ประจําเดือน พฤศจิกายน 2562 - เมษายน 2563 สารสัมพันธ สอ.ครูเพชรบุรี 11

¡®ËÁÒÂÊˡó. ...¹‹ÒÃŒÙ

ÊÒÂÊ¹Ø Õ 梯 à¡ÉÁ ¹µÔ ¡Ô Ã

¤Òéí »ÃС¹Ñ .....¤íéÒà¢Ò àÃÒÍҨŌÁ?

‘เนือ้ ไมไดกิน หนงั ไมไดร องนงั่ เอากระดูกมาแขวนคอ’ สุภาษิตไทยบทน้ี อธิบายความหมาย
ของการเปน ผคู ํา้ ประกันไดเปนอยางดี หลายครงั้ ท่ีตามขา วหนาหนงั สือพิมพ หรือแมแตป ระสบการณต รง
จากชวี ติ ของใครหลายคนมกั พบเจอกบั ความโชครา ยจากการเปน ผคู า้ํ ประกนั ทเ่ี มอื่ ลกู หนหี้ นหี นี้ ไมช าํ ระหน้ี
ใหก บั เจา หน้ี ผคู าํ้ ประกนั กม็ กั จะเปน เปา หมายแรกของเจา หนใ้ี นการบงั คบั คดเี อากบั ทรพั ยส นิ ของผคู าํ้ ประกนั
จนผคู า้ํ ประกนั หลายรายตอ งหมดตวั ถกู ยดึ ทด่ี นิ ของตนเอง กลายเปน หนหี้ ลายลา นบาท ทงั้ ๆ ทหี่ นดี้ งั กลา ว
ตนไมไดเ ปนคนกอแตอยา งใด

อา นมาถงึ ตรงน้ี สมาชกิ ของสหกรณฯ หลายทา นทอ่ี ยใู นฐานะของผคู า้ํ ประกนั อาจเกดิ ความสงสยั ขนึ้
มาวา แลวทาํ ไมตองรบั ผดิ ในมลู หน้เี ทากับลกู หน้ี เพราะเปน เพียงคนคํ้าประกัน เงนิ กไ็ มไดใชด ว ยสกั บาท
ทําไมเจาหนี้ตองมาบังคับเอากับผูค้ําประกันดวย กอนอื่นอยากใหทานไดเขาใจความหมายของคําวา
“คา้ํ ประกนั ” กอน

ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา 680 วางหลกั ไวว า “อนั วา คา้ํ ประกนั นนั้ คอื สญั ญา
ซงึ่ บุคคลภายนอกคนหน่ึง เรียกวา ผคู าํ้ ประกัน ผูกพนั ตนตอเจาหนีค้ นหน่ึง เพื่อชําระหนี้ในเมื่อลูกหน้ี
ไมชําระนัน้

อนงึ่ สญั ญาคา้ํ ประกนั นน้ั ถา มไิ ดม หี ลกั ฐานเปน หนงั สอื อยา งใดอยา งหนงึ่ ลงลายมอื ชอ่ื ผคู า้ํ ประกนั
เปน สําคญั ทานวา จะฟองรองใหบงั คบั คดีหาไดไ ม”

จากความหมายของคําวา “ค้ําประกัน” ขางตน จึงพอจะอธิบายแบบใหเขาใจงาย ๆ ไดวา
คํา้ ประกัน คือ การทที่ า นซ่ึงเปน ผคู ้าํ ประกนั เสนอตวั และเสนอทรพั ยสินของทานตอ เจา หน้ี เพ่อื ยนื ยันวา
ทานยินดที ีจ่ ะชาํ ระหนใ้ี หแกเจา หน้ีแทนลกู หนแี้ นนอน เมื่อลกู หนไ้ี มช าํ ระเงนิ คืน เปรียบไดกบั ทานเอาเงิน
และทรัพยส ินไปวางตอหนาเจา หนี้ แลวพดู กบั เจา หน้วี า ไมต อ งกงั วลนะ หากลูกหน้ไี มจ ายหนี้ กม็ ายดึ เงนิ
และทรพั ยส นิ ของฉันไปไดเ ลย

ดงั นนั้ ตอ ไปหากมคี นรอ งขอใหท า นเปน ผคู า้ํ ประกนั ขอใหค ดิ ดี ๆ กอ นทจี่ ะเซน็ จรดปากกาลงลายมอื ชอ่ื
ไปในสญั ญาคาํ้ ประกนั เพราะในอนาคตทา นอาจตอ งหมดตวั หรอื ลม ละลาย เพราะลกู หนที้ ไี่ มม คี วามรบั ผดิ ชอบ
ก็เปน ไปได แตใ นกรณีที่ไมสามารถหลีกเลีย่ ง หรือมคี วามจาํ เปน โดยเฉพาะในกระบวนการของสหกรณฯ
ท่กี ารคํ้าประกันมกั จะเปน ไปในลักษณะการจับคู ตา งตอบแทนการคาํ้ ซึง่ กนั และกนั คณุ ค้าํ ใหฉ นั ฉนั ค้าํ
ใหค ณุ ดว ยแลว สมาชกิ ทตี่ อ งการจะกเู งนิ กค็ งไมส ามารถหลกี เลย่ี งการเปน ผคู าํ้ ประกนั ได จงึ มขี อ แนะนาํ ใหร ไู ว
กอ นเซน็ เปน ผคู ํ้าประกนั ดังนี้

12 ประจาํ เดอื น พฤศจิกายน 2562 - เมษายน 2563 สารสัมพันธ สอ.ครเู พชรบรุ ี

1. ไมค วรคา้ํ ประกนั ใหก บั บคุ คลทไ่ี มร จู กั หรอื แมแ ตก ารคาํ้ ประกนั ใหก บั คนทร่ี จู กั คนทส่ี นทิ เชอ่ื ใจ
หรือคนในครอบครวั เองกค็ วรที่จะตรวจสอบขอ มูล หรอื คดิ ใครค รวญใหดีกอ นจะตกลงเปนผูคํา้ ประกัน

2. ควรตรวจสอบประวัติของลูกหน้ี สถานะทางการเงิน หรือสังเกตพฤติกรรมของลูกหน้ีวา
เปนคนทเ่ี สี่ยงตอการลม ละลาย มีหนีม้ ากเกินความสามารถในการรับผดิ ชอบหรือไม

3. กอ นจะตกลงเปน ผคู า้ํ ประกนั ใหก บั ลกู หนี้ ควรทาํ ความตกลงกบั ลกู หนโ้ี ดยการใหล กู หนท้ี าํ บญั ชี
ทรพั ยส นิ ของลกู หนี้ หรอื แจง รายละเอยี ดเกยี่ วกบั ทรพั ยส นิ ของลกู หนวี้ า มอี ะไรบา งทเ่ี ปน กรรมสทิ ธข์ิ องลกู หน้ี
แลกกับการตกลงยอมเปน ผูคา้ํ ประกนั เพอ่ื ทีใ่ นอนาคตหากลกู หนี้หนีหน้ี ไมช ําระ จะไดดําเนินการแจง กบั
เจาหนี้ วาลกู หน้ยี งั พอมที รพั ยสนิ ท่จี ะบังคบั คดไี ดอ ยู ใหเจา หน้ไี ปบงั คับเอากับทรพั ยสินของลกู หนีก้ อน

4. ตองอานสัญญาค้ําประกันใหครบถวนทุกขอกอนจะลงชื่อในสัญญาคํ้าประกัน ควรทราบวงเงิน
ท่ลี ูกหนี้กูยมื เปน จํานวนเทา ไหร การสงชําระหนี้ตอ งสงเดอื นละเทาไหร เปน เวลากี่เดอื น

คําถามตอไปคือ หากลูกหน้ีไมยอมชําระหน้ีตามสัญญา เราในฐานะผูค้ําประกันจะทําอยางไร
ทางแกท่ดี ีท่ีสุด คอื การเจรจาขอความเหน็ ใจจากเจาหน้เี พอ่ื ขอลดยอดหน้ี และหากผคู ํ้าประกนั ไดช าํ ระหน้ี
ใหกับเจาหนี้แทนลูกหนี้แลว ผูคํ้าประกันยอมเขารับชวงสิทธิของเจาหน้ีบรรดามีเหนือลูกหน้ีดวย ทั้งนี้
ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา 693 วางหลกั ไวว า “ผคู าํ้ ประกนั ซงึ่ ไดช าํ ระหนแี้ ลว ยอ มมสี ทิ ธิ
ท่ีจะไลเบ้ียเอาจากลูกหนี้ เพื่อตนเงินกับดอกเบี้ยและเพื่อการท่ีตองสูญหายหรือเสียหายไปอยางใด ๆ
เพราะการคา้ํ ประกนั นน้ั

อนึง่ ผูค้าํ ประกนั ยอมเขา รับชวงสทิ ธิของเจาหน้ีบรรดามีเหนอื ลูกหนด้ี ว ย”
ผคู าํ้ ประกนั ทไี่ ดช าํ ระหนแ้ี ลว มสี ทิ ธฟิ อ งไลเ บย้ี เอาจากลกู หนี้ เพอื่ เรยี กเอาตน เงนิ และดอกเบย้ี ทเ่ี รา
ตอ งเสยี ไปในการชาํ ระแทนลกู หนนี้ นั่ เอง โดยมอี ายคุ วามในการฟอ งไลเ บยี้ 10 ป ตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย มาตรา 193/30 นับแตว นั ที่ผคู ํ้าประกันไดช าํ ระตน เงนิ และดอกเบ้ียใหแกเ จาหน้ี กรณมี ูลหน้ี
รายเดยี วกนั แตมีผคู ํ้าประกนั หลายคน ผูค า้ํ ประกนั ทไ่ี ดช ําระหนีแ้ ลว ยอมมสี ิทธไิ ลเบยี้ เอาจากผูค ้าํ ประกัน
รายอ่นื เชนเดยี วกนั แตฟอ งไลเ บย้ี ไดเพยี งก่ึงหนง่ึ เทา นนั้
อยางไรก็ตาม ขึ้นชื่อวา “ลกู หน้ี” ยอ มเขาสโลแกนประจําใจของลกู หนที้ วี่ า “ไมมี ไมห นี ไมจ าย”
ลกู หนส้ี ว นใหญจ งึ มกั ไมม ที รพั ยส นิ พอทจ่ี ะบงั คบั ชาํ ระหนไ้ี ด แมเ จา หนจี้ ะเขา สขู นั้ ตอนบงั คบั คดที าํ การสบื ทรพั ย
ของลูกหน้ี เพ่ือขายทอดตลาดนําเงินมาชําระหนี้ แตก็มักจะลมเหลว ไมพบทรัพยของลูกหน้ีแตอยางใด
ฉะนน้ั การทผ่ี คู าํ้ ประกนั จะคาดหวงั ใหเ จา หนไี้ ปบงั คบั เอากบั ทรพั ยส นิ ของลกู หนก้ี อ นตามกฎหมายคา้ํ ประกนั
ที่มีการแกไขใหมน้ัน คงจะเปนหนทางท่ีริบหร่ี การปองกันในเร่ืองของการค้ําประกันท่ีดีที่สุดก็คงจะเปน
การทองคําวา “เอ็นดูเขา เอ็นเราขาด” ในทุกครั้งที่มีใครมาขอใหเราคํ้าประกันนั่นเอง เพราะหาไม

จากสรอยช้ินเล็ก ๆ ที่เขามอบใหเปนของกํานัลแทนการเปนผูค้ําประกัน
อาจกลายเปน กระดกู ชา งชน้ิ ใหญท เ่ี ราเอามาแขวนคอ โดยไมจ าํ เปน กระดกู
ทหี่ นกั จนเราไมส ามารถยนื หรอื กา วตอ ไปขา งหนา ไดอ ยา งสงา งาม เพราะมี
หนี้อันเกิดจากการคํ้าประกันใหเราตองรับผิดชอบไปจนกวาจะใชหน้ีหมด
น่นั เอง

ประจาํ เดอื น พฤศจิกายน 2562 - เมษายน 2563 สารสมั พันธ สอ.ครเู พชรบรุ ี 13

ᨧŒ ÊÁÒªÔ¡·ÃÒº ¡àÅ¡Ô ¡Òç´Ê‹§à§¹Ô §Ç´ªÒí ÃÐ˹Õé

ระเบยี บสหกรณฯ วา ดว ยเงนิ ใหก แู กส มาชกิ หมวดเงนิ งวดชาํ ระหนส้ี าํ หรบั เงนิ กู
ขอ 21 (2) วรรค 3 ในกรณีทผ่ี กู ูมีคํารองขอผอนเวลาการสง เงินงวดชาํ ระหนเ้ี ปน หนังสอื
และคณะกรรมการ เหน็ วา มเี หตอุ นั สมควรจะผอ นเวลาการสง เงนิ งวดชาํ ระหนสี้ าํ หรบั เงนิ กู
สามญั ทก่ี าํ หนดไวใ น (2) ใหแ ก ผกู คู ราวละหนงึ่ หรอื หลายงวดกไ็ ดโ ดยตอ งชาํ ระหนมี้ าแลว
ไมน อ ยกวา 6 งวด ทงั้ นใี้ หม กี ารผอ นเวลารวมกนั ทงั้ หมดสาํ หรบั เงนิ กสู ามญั สญั ญาหนงึ่ ๆ
ตองไมเ กิน 6 งวด ทางสหกรณฯ จงึ ยกเลกิ การงดสง เงนิ งวดชําระหนี(้ ตน สามัญ) ตั้งแต
วันที่ 23 มกราคม 2563 เปนตนไป

เหตผุ ลเนอ่ื งจากสมาชกิ งดสง เงนิ ตน จงึ ทาํ ใหก ารหกั เงนิ รายเดอื นลดลง เงนิ เดอื น
เหลอื มากขน้ึ ซง่ึ หนว ยงานตน สงั กดั ไมท ราบชว งระยะเวลาในการงดสง ตน หรอื ชว งเวลาจดั เกบ็
จึงทาํ ใหเ กิดผลกระทบในการจดั เกบ็ เงนิ จากหนวยงานรายเดือน หากหนวยงานตน สังกัด
นาํ เงนิ สว นทเ่ี หลอื เกนิ 70%ไปหกั ชาํ ระหนส้ี ถาบนั การเงนิ อนื่ เมอ่ื ถงึ กาํ หนดเรยี กเกบ็ เปน ปกติ
ทําใหเงินคงเหลือไมถึง 30% ขณะน้ีทางเจาหนาท่ีการเงินของสํานักงานเขตพ้ืนที่การ
ศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบรุ ี ท้ัง 2 เขต และหนวยงานสาํ นักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามัธยม
เขต 10 ไดแจงยอดจดั เก็บใหสหกรณฯ ภายใน 70% สมาชิกมเี งินคงเหลือไวใ ช 30%

สหกรณฯ แจงใหส มาชกิ ทราบ และถือปฏบิ ตั ิอยางเครงครดั
หากเพิกเฉยไมปฏิบัติตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการกําหนด
ถอื วามีความผิด

»ÃºÑ â¤Ã§ÊÌҧ˹ÕéµÒÁ¹âºÒÂ
¡ÃзÃÇ§È¡Ö ÉÒ¸Ô¡ÒÃ

ตง้ั แตเ ดอื นมกราคม 2563 ทางสาํ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบรุ ี
เขต 1, เขต 2 และสํานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามัธยมเขต 10 ไดประสานแจง ยอด
หักชาํ ระหน้รี ายเดือนของสมาชิก ใหอยูใ นเกณฑ 70% สหกรณฯ จงึ เริ่มดําเนินการปรบั ยอดการสงชําระหน้ีของสมาชิก
ลงทําใหสมาชกิ ตองนําเงนิ มาชําระเพม่ิ มบี างทานอาจจะยังไมท ราบวา เงนิ เดอื นทีโ่ อนเขาเมอื่ สิน้ เดอื นมกราคม 2563 นัน้
มเี งนิ คงเหลอื มากกวา ทกุ ๆเดอื น เนอ่ื งจากอะไร มผี ลกระทบตอ หนส้ี นิ สหกรณฯ และหนสี้ นิ ของสถาบนั การเงนิ ได ทางสหกรณฯ
จงึ ประชาสมั พนั ธใ หส มาชกิ ชว ยบอกตอ ใหเ พอ่ื นสมาชกิ ทไี่ มม ไี ลนก ลมุ ทราบดว ย และขอใหส มาชกิ ตามมาชาํ ระเพม่ิ เตมิ ไดท ี่
สหกรณฯ ทั้งนี้ เพ่ือประโยชนข องสมาชิกเอง

สมาชกิ ทา นใดสนใจปรบั ยอดเงนิ กใู หมเ พอ่ื ใหเ ขา เกณฑ 70 % หรอื สมาชกิ ทา นใดทมี่ เี งนิ คงเหลอื ไมถ งึ 30 % เพอื่ ปรบั
โครงสรา งการสง ชาํ ระเงนิ รายเดอื นใหอ ยใู นเกณฑต ามทห่ี นว ยงานการเงนิ ตน สงั กดั แจง การหกั ชาํ ระหนต้ี อ สหกรณฯ หรอื คาํ นวณ
แลว อาจมเี งนิ เหลือแลว แตกรณี ใหน ําสลปิ เงนิ เดือนมาคํานวณยอดกูใ หมไ ดที่สหกรณฯ

14 ประจาํ เดือน พฤศจกิ ายน 2562 - เมษายน 2563 สารสัมพนั ธ สอ.ครเู พชรบรุ ี

¡ÒäéíÒ»ÃСѹÃÒÂÇѹ

ตั้งแตวันที่ 24 ธันวาคม 2562 เปนตนมา
การกูเงินทุกประเภทท่ีใชบุคคลค้ําประกันตองให
ผูค้ําประกันมาแสดงตนที่สหกรณฯ ทุกราย
เพอื่ ปอ งกนั การปลอมแปลงเอกสารหลกั ฐานการกเู งนิ
เม่ือเอกสารครบถวนสามารถรบั เงินกไู ดทนั ที

»ÃСÒȼÅâ¤Ã§¡ÒâͧâçàÃÂÕ ¹ã¹ÃдѺ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ¢é¹Ñ ¾×¹é °Ò¹ »ÃШíÒ»‚ 2563

โครงการ โรงเรยี น อําเภอ รบั รางวลั
1. สงเสรมิ ทักษะชวี ิตเศรษฐกิจพอเพียง บา นทาเสลา หนองหญา ปลอ ง 10,000.00
2. สงเสริมการผลิตสรา งรายได “สนู ักเรยี นยากจน” บานเนินรกั
3. ขนมไทยจากไมปา ชายเลน วัดเกาะแกว เขายอย 8,000.00
4. รานไอศกรีมกะทนิ ํา้ ตาลสดสง เสรมิ อาชีพในโรงเรียน วัดหนองศาลา บา นแหลม 6,000.00
5. โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) บานแหลม
รางวลั ชมเชย 10 โรงเรียน ชะอํา 3,000.00
1. นํ้าดื่มสะอาดในโรงเรยี น บานหนองรี บานแหลม 3,000.00
2. ศูนยก ารเรยี นรูเศรษฐกจิ พอเพียง บา นยางนาํ้ กลัดใต
3. สรางทศั นคติตอการพฒั นาอาชพี ตามหลักปรชั ญา วัดพระพุทธบาทเขาลกู ชา ง หนองหญาปลอง 2,000.00
หนองหญา ปลอ ง 2,000.00
เศรษฐกจิ พอเพยี ง (การเลี้ยงไกไ ข) วดั เขาสมอระบงั 2,000.00
4. แหลงเรียนรเู ศรษฐกิจพอเพียง มิตรภาพที่ 34 ทา ยาง
5. จิตอาสาพฒั นาโรงเรียน (โครงการพเิ ศษอ่ืน ๆ) บานรองระกาํ
6. สหกรณรานคา โรงเรียน ราชประชานเุ คราะห 47 เขายอ ย 2,000.00
7. สงเสริมอาชพี การกดั ลวดลายบนกระจกลงทอง บานหนองไกเ ถ่ือน บานแหลม 2,000.00
8. สหกรณอ อมทรัพย อรณุ ประดิษฐเพชรบรุ ี 2,000.00
9. หนังสอื มีขาเดินไปหาคนอาน เทศบาล 2 วดั พระทรง ชะอํา 2,000.00
10. พัฒนาหอ งสมุดโรงเรียน ชะอํา 2,000.00
บา นลาด 2,000.00
เมอื งเพชรบรุ ี 2,000.00
เมอื งเพชรบรุ ี 50,000.00
รวม

ประจําเดือน พฤศจกิ ายน 2562 - เมษายน 2563 สารสมั พนั ธ สอ.ครูเพชรบรุ ี 15

â¤Ã§¡ÒÃÊÇÑÊ´Ô¡ÒÃÊÇÑÊ´Ô¡ÒÃÊÔ¹àª×èÍà¾Í×è ª‹ÇÂàËÅÍ× ÊÁÒª¡Ô

ËÅѡࡳ±

1. วงเงินกูไมเ กนิ 10 เทาของเงินเดอื น ไมเ กิน 300,000 บาท
2. ผอ นชาํ ระคนื แบบคงยอด สง ไมเ กนิ 60 งวด อตั ราดอกเบยี้ รอ ยละ 5.00 ตอ ป และใหเ ปน ไปตามประกาศ
ของสหกรณฯ หรือกรณีมีความจําเปนใหสามารถย่ืนบันทึกขอผอนผันการสงเงินตนไดโดยขอใชวิธีการสงเงินแบบ
คงยอดเก็บดอกเบีย้ ตามวงเงนิ กอนสว นทเ่ี หลือใหเปน เงนิ ตนไดจ ํานวน 3 คร้งั ๆ ละไมเกนิ 12 เดอื น
3. การชําระหนี้เงินกูทกุ ประเภทรวมกนั ตอ งไมเกิน 70% ของเงินเดือน
4. ใหช าํ ระหนแี้ ละงดการกเู งนิ เพอื่ เหตฉุ กุ เฉนิ ยกเวน กรณสี ง เงนิ งวดชาํ ระหนต้ี ามเกณฑท กี่ าํ หนดให สามารถกู
ไดตามปกติ
5. ไมเปนสมาชิกทเ่ี คยขาดสง หรอื ผิดนัดการชําระหน้ี ในรอบ 1 ป ยอนหลงั นบั จากวันที่ขอกู
6. การกูและการค้ําประกันวงเงินกหู ากเกินกวา คาหุน ใหใ ชวิธีการจบั คกู ูและค้ําประกัน 1 คน
7. สมาชิกผูกจู ะตอ งจดั ทําประกันสนิ เช่ือเพอ่ื คมุ ครองหน้ใี หเ พียงพอ
8. งดรบั คํารอ งกรณยี นื่ คาํ ขอกูทไ่ี มเ ขา หลกั เกณฑ
9. กาํ หนดระยะเวลาโครงการเร่มิ ตงั้ แต 23 มกราคม 2563 – 31 ตลุ าคม 2563

â¤Ã§¡ÒÃà§¹Ô ¡ÙŒÊÇÑÊ´Ô¡ÒÃà¾è×;²Ñ ¹ÒÈ¡Ñ ÂÀÒ¾

ËÅ¡Ñ à¡³±

1. สมาชกิ มสี ิทธิขอกไู ด 30 เทาของเงินเดอื นและไมเกนิ 1,200,000 บาท
2. ชาํ ระคนื เงนิ ตนแบบคงยอดไมเกนิ 180 งวด และสง ชําระหนไ้ี มเ กินอายุ 80 ป อัตราดอกเบ้ียรอยละ

5.00 ตอป
3. การชาํ ระหน้ีเงนิ กทู กุ ประเภทรวมกันตอ งไมเ กนิ 70% ของเงินเดือน
4. การกูและการคํ้าประกนั ใชวิธีการจบั คกู แู ละคํ้าประกันซ่งึ กนั และกนั

4.1 วงเงนิ กไู มเ กนิ 250,000 บาท ใหใชส มาชกิ ค้าํ ประกนั 1 คน
4.2 วงเงนิ กเู กิน 250,000 บาท แตไมเกนิ 500,000 บาท ใหใชสมาชิกคํา้ ประกนั 2 คน
4.3 วงเงินกูเกนิ 500,000 บาท แตไมเ กนิ 600,000 บาท ใหใ ชสมาชิกคา้ํ ประกัน 3 คน
4.4 วงเงนิ กูเกนิ 600,000 บาท แตไมเกนิ 1,000,000 บาท ใหใชส มาชิกคํา้ ประกัน 4 คน
4.5 วงเงินกูเกิน 1,000,000 บาท ขนึ้ ไป ใหใชส มาชกิ คา้ํ ประกัน 5 คน
5. ตองไมเ ปนสมาชิกทีเ่ คยขาดสงหรอื ผิดนดั ชาํ ระหนใี้ นรอบ 1 ป ยอนหลังจากวันที่ขอกู
6. สมาชกิ ผกู ูจะตอ งจัดทําประกันสินเชอ่ื เพื่อคุมครองหนีใ้ หเ พียงพอ
7. เมอ่ื สมาชกิ ไดก เู งนิ ในโครงการนไ้ี ปแลว ประสงคจ ะกใู หม ใหส ง เงนิ ตน มาแลว ไมน อ ยกวา 6 งวดของเงนิ กเู ดมิ
8. สมาชิกท่ีกเู ดมิ หากประสงคจะกูเงินในโครงการนีอ้ นุโลมใหกูได โดยไมน ับจํานวนงวดที่สง มาแลว
9. งดรบั คํารองกรณยี ่นื คาํ ขอกูทไี่ มเขาหลกั เกณฑ
10. ใหย กเลกิ ประกาศสหกรณอ อมทรพั ยค รเู พชรบรุ ี จาํ กดั เรอื่ งโครงการเงนิ กสู วสั ดกิ ารเพอื่ พฒั นาศกั ยภาพ
ประจําป 2562 และใหใ ชประกาศน้ีแทน
11. เร่มิ โครงการตั้งแตวันที่ 23 มกราคม 2563 เปน ตนไป

16 ประจาํ เดือน พฤศจิกายน 2562 - เมษายน 2563 สารสมั พนั ธ สอ.ครูเพชรบรุ ี

¢‹ÒÇ ÊÊͤ. 4¨,8‹Ò8Â0ྺÕÂÒ§·

1055สสอค.เปดรับสมัครสมาชิกประเภทสามัญ

และสมทบ รับไมเกนิ อายุ ป ในกรณีพิเศษ
เนอ่ื งในโอกาสครบรอบ ป การกอ ตั้งสมาคม

â´Âà»´ ÃѺÊÁ¤Ñ õÑé§áµ‹ 14 ¡ØÁÀҾѹ¸ 2563 – 31 ¾ÄÉÀÒ¤Á 2563 à·‹Ò¹é¹Ñ

หมายเหตุ ในป พ.ศ.2564 รบั สมัครอายไุ มเ กิน 50 ป

ผมู ีสทิ ธิ์ ไดแ ก (อายุไมเ กิน 51 – 55 ป นับตามปปฏทิ ิน ผทู ่ีเกิดป พ.ศ.2508 – พ.ศ.2512)

1. สมาชิกสามญั และสมทบของสหกรณอ อมทรพั ย
2. สมาชกิ สามญั กลมุ วิชาชพี อ่นื
3. คูสมรส บุตร บิดา – มารดาของสมาชกิ สามญั ของสหกรณอ อมทรพั ย
4. คสู มรส บตุ ร บิดา – มารดาของสมาชิกสมทบของสหกรณออมทรัพย
5. คสู มรส บุตร บิดา – มารดาของสมาชิกสมทบ สสอค. จากกลุม วิชาชพี อ่ืน

àÍ¡ÊÒûÃСͺ¡ÒÃÊÁ¤Ñ Ã

1. ใบรบั รองแพทยโรงพยาบาลของรัฐ
2. สําเนาบตั รประชาชนของตนเอง
3. สําเนาทะเบยี นบานของตนเอง
4. สาํ เนาบัตรประชาชนผูท ่รี ะบใุ หรบั เงนิ สงเคราะห
5. สาํ เนาทะเบียนบานผูท ่รี ะบุใหร บั เงนิ สงเคราะห

Êˡó͏ ÍÁ·ÃѾ¤ ÃÙྪúÃØ Õ ¨íÒ¡´Ñ ชาํ ระคา ฝากสงเปน รายเดอื น
ใบอนุญาตเลขที่ 155/2557
www.phetcoop.com
¹ÒÁ¼ŒÙÃºÑ ไปรษณยี เพชรบรุ ี

...............................................................................................................................
...............................................................................................................................
...............................................................................................................................
...............................................................................................................................

਌Ңͧ ÊˡóÍÍÁ·Ã¾Ñ ¤ ÃÙྪúÃØ Õ ¨íÒ¡´Ñ

ผูจัดทาํ คณะกรรมการฝายศกึ ษาและประชาสมั พันธ ชุดท่ี 63 ประกอบดว ย ดร.สงั เวียน ออ นแกว นายธนาวฒุ ิ แกว นอ ย
นายสมศักด แตงอวบ ผศ.ธีรพทิ ย โตต อบ นางอารยี  คําเพง็ นางพรทพิ ย สวางลาภ นางสรนิ รัชต บญุ คาํ

พมิ พที่ บริษัท ธรรมรักษการพิมพ จํากดั 241/55-57 ถนนราษฎรยนิ ดี อาํ เภอเมือง จงั หวัดราชบุรี 70000 โทร 032-325534-5


Click to View FlipBook Version