The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กองนโยบายและแผน, 2019-10-15 05:14:49

แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย 5 ปี (ฉบับปรับปรุงปี 2561)

แผน 5 ปี มรภ.ยะลา

แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
เพ่อื การยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐานสู่ความเป็นเลศิ

ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564)

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
(ฉบบั ปรับปรงุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562)

คำนำ

ตามที่มหาวิทยาลัยได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเพื่อการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสู่ความ
เป็นเลิศระยะ 10 ปี (พ.ศ.2560-2569) โดยได้แบ่งแผนยุทธศาสตร์ดังกล่าวเป็น 2 ระยะ ซึ่งระยะแรก ตั้งแต่
ปีงบประมาณ พ.ศ.2560-2564 และระยะที่ 2 ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2565-2569 โดยเป็นแผนยุทธศาสตร์
ทมี่ ุง่ เนน้ การพฒั นาบณั ฑติ สู่นกั ปฏบิ ตั กิ ารมืออาชีพ และยกระดบั มาตรฐานคุณภาพชวี ิตของประชาชนในชุมชน
และทอ้ งถิน่ จังหวดั ชายแดนใต้ให้มีความเขม้ แขง็ และย่งั ยนื

ฉบับนีเ้ ปน็ แผนยุทธศาสตรร์ ะยะที่ 1 ซงึ่ ประกอบดว้ ย 4 ประเดน็ ยุทธศาสตร์ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1
ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติการอย่างมืออาชีพ ที่มีคุณธรรม จริยธรรม ประเด็น
ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ปฏิรูปการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาชายแดนใต้ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 3
ยกระดับการวิจัย บริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวฒั นธรรม เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประเด็นยุทธศาสตร์ที่
4 ปฏิรูประบบบริหารจัดการมหาวิทยาลัยให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ทันต่อการเปลี่ยนแปลงเน้นการใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ขอขอบคุณคณะกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ผู้ทรงคุณวุฒิ และ
ผู้เกี่ยวข้องที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่ง จนทำให้ แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาเพื่อการ
ยกระดับคุณภาพมาตรฐานสู่ความเป็นเลศิ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564) ฉบับนี้แล้วเสร็จสมบูรณ์ และหวัง
เป็นอย่างยิ่งว่าทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องจะร่วมกันผลักดันให้แผนยุทธศาสตร์นี้สามารถดำเนินการได้บรรลุ
เปา้ หมายตอ่ ไป

กนั ยายน 2562
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา

สารบญั หนา้
1
➢ แผนยทุ ธศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2560-2564)
ปรัชญา 3
วสิ ัยทศั น์ 6
พันธกิจ 10
วตั ถุประสงค์ 13
เปา้ หมาย 17
25
➢ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการผลิตบณั ฑิตนัก
ปฏบิ ัตกิ ารอย่างมืออาชีพ ที่มีคุณธรรม จรยิ ธรรม

➢ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 ปฏริ ปู การผลิตและพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการ
ศึกษาชายแดนใต้

➢ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับการวิจยั บรกิ ารวชิ าการ และทำนบุ ำรงุ
ศลิ ปวฒั นธรรมเพื่อการพัฒนาทอ้ งถ่ิน

➢ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 ปฏิรปู ระบบบรหิ ารจัดการมหาวิทยาลัยให้มี
คณุ ภาพ ได้มาตรฐาน ทันต่อการเปล่ยี นแปลงเน้นการใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่อื สาร

➢ จุดเน้นหลักสตู รและกลุ่มวชิ า
➢ การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม (SWOT Analysis)

แผนยุทธศาสตรม์ หาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
เพอ่ื การยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐานสคู่ วามเป็นเลศิ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564)

ปรัชญา

สรา้ งพลังปัญญาเพ่ือพฒั นาท้องถน่ิ ชายแดนใต้

วิสัยทัศน์

“มหาวิทยาลัยคลงั ปัญญาแห่งชายแดนใต”้

คลงั ปัญญา หมายถึง แหลง่ รวบรวม สง่ั สม ถ่ายทอดองค์ความรู้ ปัญญาขององค์กร ชมุ ชน

และท้องถ่ิน

ชายแดนใต้ หมายถึง จงั หวดั ยะลา ปัตตานี และนราธวิ าส

พนั ธกิจ
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา มพี นั ธกิจท่ีสำคัญ ดังน้ี
1. ผลติ บณั ฑิตใหเ้ ปน็ นกั ปฏบิ ัติ มที กั ษะวิชาชพี บคุ ลิกภาพดี มคี ณุ ธรรม จติ อาสา สงู้ าน รับผิดชอบ
ต่อตนเองและสังคม และเปน็ คลังปัญญาของชุมชนและท้องถ่ิน
2. วิจยั สรา้ งองคค์ วามรู้และนวัตกรรมให้มีคุณภาพและไดม้ าตรฐานสากล โดยมงุ่ เนน้ แกป้ ัญหาและ
พฒั นาคณุ ภาพชีวิตของชมุ ชนและทอ้ งถ่ินชายแดนใต้
3. ผลิต พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ได้มาตรฐานวิชาชีพและมีคุณภาพตามความ
ต้องการของพ้ืนที่
4. ให้บริการวิชาการ ถ่ายทอดเทคโนโลยี น้อมนำแนวพระราชดำริ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ใหแ้ กช่ มุ ชน ทอ้ งถิน่ และสังคม
5. บริหารจัดการมหาวิทยาลัยให้มีความคล่องตัว สู่การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
และยง่ั ยืน

วตั ถปุ ระสงค์
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา มีวตั ถุประสงค์ในการดำเนนิ กิจการ ดังนี้
1. จัดการเรียนการสอนให้บัณฑิตมีความรู้ ทักษะ และความสามารถในการคิด การแก้ปัญหา การ
สร้างสรรค์และการสื่อสาร สามารถใช้ชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรมด้วยหลักคุณธรรม เพื่อการ
พฒั นาชุมชนและทอ้ งถ่นิ ใหเ้ ข้มแขง็ และยงั่ ยืน
2. วิจัย สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมเพื่อการแก้ปัญหา การพัฒนาคุณภาพชีวิต การสร้างมูลค่า
และทุนทางสังคม อันจะนำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่ม การลดช่องว่างและความเหลื่อมล้ำให้แก่
ท้องถิน่ และสังคม
3. ผลิตครู พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้ได้คุณภาพและมาตรฐานวิชาชพี ครู
4. ให้บริการวิชาการ ถ่ายทอดเทคโนโลยี น้อมนำแนวพระราชดำริ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่
สอดคล้องกับความต้องการและแก้ปัญหาของท้องถิน่ และสังคมให้มีคณุ ภาพและมาตรฐานชีวิตที่
ดี มคี วามพอเพียง มีความเข้มแข็งและพฒั นาอย่างยั่งยืน
5. บริหารจัดการทรัพยากรของมหาวิทยาลัยให้มีความคล่องตัว สู่การเปลี่ยนแปลงที่ดี และมีการ
พัฒนาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง

เป้าหมาย
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา มีเปา้ หมายดังนี้
1. การสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษาแกช่ มุ ชนและท้องถ่นิ
2. การบูรณาการงานวิจัย การบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมเข้ากับกระบวนการ
จัดการเรยี นรู้และการมีสว่ นรว่ มกับชุมชนและทอ้ งถิ่น
3. การยกระดับคุณภาพชีวิต การลดช่องว่างและความเหลื่อมล้ำทางสังคม การสร้างประชาชนใน
ท้องถ่ินชายแดนใตใ้ หม้ ีความเขม้ แข็งอย่างยัง่ ยนื และเพิม่ ขดี ความสามารถในระดบั สากล
4. เป็นองค์กรแหง่ ความเป็นเลิศ นำสงั คม พรอ้ มเป็นทีพ่ งึ่ ของชุมชนและทอ้ งถ่ิน

ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 ยกระดับคณุ ภาพมาตรฐานการผลิต

เป้าประสงค์ ตวั ชี้วัดหลัก ค่าเป้าหมาย
(KPI) 2560 2561 2562 2563

1. อาจารย์มีศักยภาพ ใน 1.1 ร้อยละของอาจารยท์ ่ีมี 20 22 24 25

การจดั การเรียนรแู้ ละมขี ีด คณุ วุฒริ ะดับปริญญาเอก

ความสามารถในการ

แข่งขัน

1.2 รอ้ ยละของอาจารย์มี 20 25 30 35

ตำแหนง่ ทางวชิ าการ

1.3 ร้อยละของอาจารย์เขา้ ร่วม 10 15 20 25

เป็นกรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิคณะ

ทำงานกับสถานประกอบการ

ชุมชนและภาครัฐ

1.4 ร้อยละของอาจารยท์ ีม่ ีการ - - 80 90

จดั การเรยี นรดู้ ้วยเทคนิค

สมยั ใหม่

1.5 รอ้ ยละของอาจารย์ทไ่ี ดร้ บั - - 10 20

ประสบการณ์ในวิชาชีพตาม

หลกั สตู รหรือท่สี ำเรจ็ การศกึ ษา

2. มคี วามรว่ มมือกับ 2.1 จำนวนหลกั สูตรใหม่ตาม - - -6

ผปู้ ระกอบการ ชุมชนและ จดุ เน้นของมหาวิทยาลยั หรือ

ทอ้ งถิ่น ในการพัฒนา หลักสูตรท่ีมคี วามรว่ มมอื กบั

หลกั สูตรและจัดการเรยี นรู้ สถานประกอบการหรอื ชุมชน/

เพอ่ื ผลิตบัณฑติ นักปฏิบตั ิ ทอ้ งถิ่น

3

ตบณั ฑติ นักปฏิบตั กิ ารอยา่ งมอื อาชพี ทม่ี ีคุณธรรม จริยธรรม

ยทุ ธวธิ ี โครงการและกจิ กรรม งบประมาณ
2560-2564
2564 (Tactics) (Project)
7,500,000
25 1) พัฒนาศักยภาพดา้ นคณุ วฒุ แิ ละ 1.1) โครงการพฒั นาศกั ยภาพอาจารย์

ตำแหน่งทางวชิ าการ ดา้ นคณุ วฒุ ิและตำแหน่งทางวิชาการ

40

30 2) พัฒนาอาจารย์ใหม้ ีทกั ษะ 2.1) โครงการพฒั นาอาจารยม์ อื อาชีพ 7,500,000

เทคนคิ และวิธกี ารจดั การเรยี นรูส้ ู่ 1,000,000
2,000,000
ความเป็นมอื อาชีพ 1,000,000

100 2.2) โครงการพฒั นาเทคนิคและวธิ ีการ
จดั การเรยี นรูอ้ ย่างมอื อาชพี

30 2.3) โครงการเสริมสรา้ งประสบการณ์สู่
มืออาชพี

8 3) ปฏิรูปและพฒั นาหลักสูตร 3.1) โครงการพัฒนาและปรบั ปรุง
ประเภทปฏิบัติการหรือวชิ าชีพ หลักสูตรสู่นกั ปฏบิ ัติการมอื อาชีพ
รว่ มกับเครอื ขา่ ยและสถาน
ประกอบการ

3

เปา้ ประสงค์ ตวั ชี้วัดหลัก ค่าเป้าหมาย
(KPI) 2560 2561 2562 2563

2.2 รอ้ ยละของหลักสตู รเดมิ ที่ 10 20 30 40

ปรับปรุงเป็นหลักสูตรประเภท

วิชาชพี หรือปฏิบัติการ

2.3 จำนวนหลกั สูตรสอง - - -1

ปริญญาหรอื สองภาษา หรือ

นานาชาติ

3. บัณฑิตนกั ปฏิบัตมิ ี 3.1 ร้อยละของหลกั สูตรมีการ 30 40 90 100

ความรู้ความสามารถและ ฝกึ ทกั ษะวชิ าชีพทกุ ช้ันปี

ทกั ษะวิชาชีพตามความ 3.2 จำนวนรางวลั ทนี่ ักศึกษา - - 16 20

ต้องการของตลาดงาน ไดร้ ับในระดับชาติ นานาชาติ

3.3 รอ้ ยละของชมรมนักศกึ ษา 20 25 30 35

เป็นชมรมวชิ าการหรอื วิชาชีพที่

สง่ เสรมิ ทักษะการปฏบิ ัติ

3.4 ร้อยละของนักศกึ ษาผ่าน - - 20 30

การทดสอบความสามารถ

ทางด้านภาษา อังกฤษ ภาษา

มลายูตามเกณฑ์ทมี่ หาวิทยาลยั

กำหนด ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 10

ต่อปี

3.5 ร้อยละของนกั ศกึ ษาผา่ น - - 30 40

การทดสอบความ สามารถ

ทางด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ

และการสือ่ สารตามเกณฑท์ ่ี

มหาวิทยาลยั กำหนดเพิ่มข้ึน

ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 10 ต่อปี

4

ยทุ ธวิธี โครงการและกจิ กรรม งบประมาณ

2564 (Tactics) (Project) 2560-2564

50 1.2) โครงการพฒั นาหลักสูตรปฏบิ ตั ิการ 5,000,000

หรือวชิ าชพี หรอื หลักสูตรจดุ เน้นของ

มหาวิทยาลยั แบบสองปริญญา สอง

1 ภาษาหรอื นานาชาติ

100 4) พฒั นานกั ศกึ ษาให้มที ักษะ 4.1) โครงการพฒั นา การฝึกทกั ษะ 15,000,000

วิชาชีพในศตวรรษท่ี 21 ในปจั จบุ ัน วชิ าชพี โดยใช้ชน้ั ปีเปน็ ฐาน

24 และอนาคต 4.2) โครงการสง่ เสริมศกั ยภาพด้านทักษะ 25,000,000

อาชีพของนกั ศึกษาสู่ความเปน็ เลศิ

40 4.3) โครงการพัฒนาชมรมนกั ศกึ ษาสู่การ 205,000,000

เปน็ นักปฏบิ ัตกิ ารมอื อาชพี

40 4.4) โครงการพัฒนาทกั ษะและสอบวัด 325,000,000
มาตรฐานความ สามารถด้านภาษา/
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร
(ไอซีท)ี

50

4

เปา้ ประสงค์ ตวั ช้ีวัดหลกั ค่าเปา้ หมาย

(KPI) 2560 2561 2562 2563

3.6 ร้อยละของหลกั สตู รทม่ี ีการ - 10 30 35

จัดการเรยี นรูเ้ ชงิ บูรณาการ กับ

การทำงาน (Work-integrated

Learning : WIL)

3.7 ร้อยละของบณั ฑติ ท่มี ีงาน 70 70 70 70

ทำตรงสาขาวิชาหรอื เก่ียวขอ้ ง

4. บณั ฑิตมคี วามสามารถ 4.1 รอ้ ยละของบัณฑิตเป็น 0.05 1 1 1
70
ในการคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์ ผู้ประกอบการ
1
การแก้ ปัญหา มีทกั ษะ 4.2 ร้อยละของบัณฑิตผ่านการ 20 30 60

การสอื่ สาร และการใช้ ประเมนิ คณุ ลักษณะ ตามเกณฑ์

เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทีม่ หาวิทยาลัยกำหนดเพ่ิมขึน้

ตลอดจนมคี ุณธรรม ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 10 ต่อปี

จริยธรรม 4.3 รอ้ ยละของจำนวนนักศึกษา 0.025 0.05 0.375

แลกเปลีย่ นกับมหาวิทยาลัยอ่ืน

หรือ sit in หรือฝกึ ประสบการณ์

วิชาชีพต่างประเทศ

5

ยุทธวิธี โครงการและกิจกรรม งบประมาณ
2560-2564
2564 (Tactics) (Project) 35,000,000

40 5) พฒั นาการจัด การเรียนรู้ทเ่ี น้น 5.1) โครงการพัฒนา การจัดการเรียนรู้

การปฏิบัติและฝกึ อาชีพ เชงิ บรู ณาการกบั การทำงาน (Work-

integrated Learning : WIL)

70 5.2) โครงการพัฒนา สหกิจศกึ ษาสู่ 2,500,000
บณั ฑิตนักปฏิบัติ 200,000
1 6) พฒั นาสมรรถนะนักศกึ ษาสู่
ผูป้ ระกอบการอย่างมอื อาชพี 5.3 โครงการเตรยี มความพร้อมบัณฑติ สู่ 5,000,000
ตลาดงาน 500,000
80 6.1) โครงการบม่ เพาะผูป้ ระกอบการใหม่
โดยใชศ้ นู ยบ์ ่มเพาะเป็นฐาน (UBI)

6.2) โครงการพัฒนาบณั ฑติ มรย. สู่
ผปู้ ระกอบการร่นุ ใหม่

1 6.3) โครงการพัฒนาคณุ ลักษณะบณั ฑติ ท่ี 10,000,000
พงึ ประสงคโ์ ดยใช้ ชั้นปีเปน็ ฐาน

6.4) โครงการแลกเปลย่ี นนกั ศกึ ษากับ 100,000,000
มหาวิทยาลยั ในประเทศหรอื ต่างประเทศ
Mobility Learning)

5

ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 ปฏริ ูปการผลติ และพัฒ

เปา้ ประสงค์ ตัวชวี้ ัดหลัก ค่าเป้าหมาย
(KPI) 2560 2561 2562 2563

1. อาจารย์สายครุศาสตร์ 1.1 ร้อยละของอาจารย์สาย ครุ 30 35 40 45

มศี ักยภาพในการผลิตและ ศาสตร์มตี ำแหน่งทางวชิ าการ

พฒั นาครูและบุคลากร

ทางการศึกษา

1.2 รอ้ ยละของอาจารยส์ ายครุ 28 30 30 34

ศาสตร์มคี ณุ วุฒิระดับปรญิ ญา

เอก

1.3 จำนวนผล งานการวิจยั 0 0 24 26

เฉพาะสาขาวิชาชีพครไู ดร้ ับการ

ตพี มิ พ์เผยแพรท่ ้งั ในระดบั ชาติ

และนานาชาตหิ รือนำไปใช้

ประโยชน์ต่อการผลิตและ

พฒั นาครูเพิ่มข้นึ

1.4 ร้อยละของอาจารย์สายครุ 0 0 0 50

ศาสตร์ได้รับการพัฒนาให้เป็น

ตน้ แบบของครู

1.5 รอ้ ยละของอาจารย์สายครุ 0 0 0 60

ศาสตร์ทีม่ ีประสบการณ์สอนใน

โรงเรยี น

6

ฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาชายแดนใต้

ยทุ ธวธิ ี โครงการและกิจกรรม งบประมาณ
2564 (Tactics) (Project) 2560-2564
50 1) ยกระดับคณุ ภาพอาจารยแ์ ละ
1.1 โครงการพัฒนาศักยภาพอาจารยส์ าย 5,000,000
บคุ ลากรสู่การพัฒนาครูในยุค ครศุ าสตรด์ ้านคุณวฒุ แิ ละตำแหนง่ ทาง
Thailand 4.0 วชิ าการ

36

28 2) พฒั นางานวิจัยจากโจทยด์ า้ น 2.1 โครงการพัฒนางานวจิ ยั แบบบูรณา 10,000,000

การผลิตและพัฒนาครูในพ้ืนที่ การด้านการผลิตและพัฒนาครูในพื้นที่

ชายแดนใต้ ชายแดนใต้

60 3) กำหนดกรอบสมรรถนะอาจารย์ 3.1 โครงการพัฒนาครขู องครูเพ่อื ทอ้ งถ่ิน 3,000,000
สายครศุ าสตรเ์ พอื่ พ้ืนทชี่ ายแดนใต้ ชายแดนใต้

65

6

เปา้ ประสงค์ ตัวชวี้ ดั หลกั คา่ เป้าหมาย
(KPI) 2560 2561 2562 2563
2. มหาวิทยาลัยเป็น
ศนู ย์กลางการผลิตและ 2.1 จำนวนหน่วยให้ บริการ 0134
การพัฒนาครแู ละ และใหค้ ำปรึกษา
บุคลากรทางการศกึ ษา
เพอื่ ท้องถ่ินชายแดนใต้

2.2 จำนวนต้นแบบในการผลิต - 1 2 2

และพัฒนาครแู ละบุคลากร

ทางการศกึ ษาชายแดนใต้

2.3 จำนวนรปู แบบของ - -45

สถานศกึ ษาต้นแบบที่ไดน้ ำไป

ขยายผล

2.4 รอ้ ยละของหลกั สูตรทไี่ ด้ 60 65 70 75
นำไปให้บรกิ ารผลิตและพัฒนาครู
และบุคลากรทางการศึกษา
2.5 รอ้ ยละของครแู ละบคุ ลากร 80 80 80 80
ทางการศึกษาในกลุ่มสาระหลัก
ทีเ่ ขา้ รว่ มโครงการกับ
มหาวิทยาลัยได้รับการพัฒนา
ศักยภาพ
2.6 จำนวนครูตน้ แบบในระดับ - 5 10 15
การศึกษาขน้ั พื้นฐานและ
การศกึ ษาปฐมวยั ที่ได้รับการ
พัฒนาศกั ยภาพจากมหาวิทยาลัย

7

ยทุ ธวิธี โครงการและกิจกรรม งบประมาณ
2560-2564
2564 (Tactics) (Project) 598,000,000

5 4) พฒั นาให้มหี นว่ ยใหบ้ รกิ ารและ 4.1) โครงการสถาบนั พัฒนาครูและ 10,000,000

ใหค้ ำปรึกษาเพอ่ื ให้มหาวิทยาลยั บุคลากรทางการศึกษาชายแดนใต้

สามารถให้บรกิ ารด้านการผลิต

และพฒั นาครูเพือ่ ทอ้ งถิน่ ชายแดน

ใต้

2 4.2) โครงการพฒั นาหน่วยใหบ้ ริการและ

ใหค้ ำปรึกษาทางการศกึ ษา

5 5) ยกระดับคุณภาพมาตรฐาน การ 5.1) โครงการพัฒนาระบบการผลิตและ 3,000,000
ใหบ้ รกิ ารในระบบผลิตและพัฒนา พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา 30,000,000
ครแู ละบคุ ลากรทาง การศกึ ษา 50,000,000
ชายแดนใต้

80 5.2) โครงการวิจัยและพัฒนารูปแบบและ
นวตั กรรมการจดั การเรยี นรใู้ นการผลติ
และพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา

80 5.3) โครงการวจิ ัยและพัฒนารปู แบบและ
นวัตกรรมการพัฒนาศักยภาพครูและ
บุคลากรทางการศกึ ษาเพอ่ื การอ่านออก
เขียนได้ หรอื เพือ่ สง่ เสรมิ ความสามารถ
ด้านภาษา

20

7

เป้าประสงค์ ตัวช้วี ัดหลกั ค่าเป้าหมาย
(KPI) 2560 2561 2562 2563
5,000 5,000 5,000 5,000
2.7 จำนวนผู้รบั บริการข้อมลู
สารสนเทศทางการศกึ ษาของ 80 80 80 80
พนื้ ทช่ี ายแดนใต้
2.8 รอ้ ยละความพงึ พอใจของ
ผ้รู ับบรกิ าร

8

2564 ยุทธวธิ ี โครงการและกจิ กรรม งบประมาณ
0 5,000 (Tactics) (Project) 2560-2564

80 5.4) โครงการพัฒนาหลกั สูตรระยะส้ัน 5,000,000
เพื่อการพัฒนาศกั ยภาพครูและบุคลากร
8 ทางการศึกษาชายแดนใต้ 10,000,000
5.5) โครงการมหาวิทยาลยั พี่โรงเรยี นนอ้ ง

5.6) โครงการมหาวิทยาลัยพ่ีเลี้ยง 10,000,000
30,000,000
5.7) โครงการพัฒนาสถานศกึ ษาต้นแบบ
(SMP ตาดีกาต้นแบบ ปอเนาะต้นแบบ 70,000,000
ทว-ิ พหุภาษาต้นแบบ และสาธิตต้นแบบ)
5.8) โครงการพฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษา 6,000,000
และบุคลากรทางการศกึ ษาชายแดน 10,000,000
ภาคใต้ 2,000,000
5.9) โครงการเตรียมความพร้อมครใู หม่ 20,000,000
ชายแดนใต้ 2,000,000
5.10) โครงการพฒั นาศักยภาพครูสอนไม่
ตรงสาย
5.11) โครงการส่งเสริมและเชิดชูเกยี รติ
ครูตน้ แบบชายแดนใต้
5.12) โครงการพฒั นาระบบฐานข้อมูล
และสารสนเทศทางการศึกษา
5.13 โครงการขยายผลและการพฒั นา
ศกั ยภาพสถานศกึ ษาในการเขา้ ถึงและใช้
ระบบฐานขอ้ มูลและสารสนเทศทางการ
ศกึ ษา

เป้าประสงค์ ตวั ชี้วัดหลกั คา่ เปา้ หมาย
(KPI) 2560 2561 2562 2563

3. การศกึ ษาในท้องถิ่น 3.1 รอ้ ยละของโรงเรยี นทเี่ ขา้ รว่ ม - - 50 50

ชายแดนใต้มีคณุ ภาพ โครงการมีคะแนนผลการทดสอบ

สงู ข้ึน ทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้

พ้ืนฐาน (ONET) เพม่ิ ขึ้นไม่น้อย

กวา่ 3 คะแนน หรอื มีคะแนนไม่

น้อยกวา่ ค่าเฉล่ยี ของจงั หวดั

3.2 รอ้ ยละของบณั ฑิตครูทส่ี อบ 0 0 90 100

ผา่ นมาตรฐานใบประกอบ

วิชาชีพครู

3.3 ร้อยละของบัณฑิตครทู ่ีจบ 0 0 50 55

จากมหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลาท่ี

สอบบรรจุครไู ด้ในการสอบครัง้

แรก

3.4 รอ้ ยละของบัณฑิตครทู ่ี 0 0 80 80

ไดร้ บั การบรรจุเข้าทำงานใน

ท้องถน่ิ

9

ยุทธวิธี โครงการและกิจกรรม งบประมาณ
2564 (Tactics) (Project) 2560-2564
15,000,000
6. พัฒนานกั ศึกษาสายครุศาสตร์ 6.1) โครงการพฒั นาหลักสูตร (Extra
โดยใชห้ ลักสูตร Extra time และ time) และการพัฒนาศักยภาพนกั ศึกษา 4,600,000
หอพกั เป็นฐาน โดยใชห้ อพักเป็นฐาน
6.2) โครงการวิจัยและพฒั นารปู แบบและ 2,000,000
50 7) ยกระดบั คณุ ภาพการเรยี นรู้ นวตั กรรมการบ่มเพาะนกั ศึกษาครู
ของผูเ้ รียนในพื้นทชี่ ายแดนใต้ (Extra time และหอพักเป็นฐาน 10,000,000
6.3) โครงการพัฒนานกั ศึกษาสายครุ
ศาสตรโ์ ดยใช้หลักสูตร Extra time และ
หอพกั เป็นฐาน
7.1) โครงการพฒั นาความร่วมมือของ
เครอื ขา่ ยทางการ ศกึ ษาเชงิ พน้ื ทีเ่ พ่ือ
ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา

100 7.2) โครงการครคู ืนถิ่น 2,000,000

60

80

9

ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ยกระดับการวจิ ัย บรกิ ารวชิ ากา

เปา้ ประสงค์ ตัวชว้ี ัดหลกั ค่าเปา้ หมาย
(KPI) 2560 2561 2562 2563
1. บุคลากรมีศักยภาพใน
การพัฒนาท้องถิ่น 1.1 จำนวนองค์กรหรือ - - 21 21
ชายแดนใต้ หนว่ ยงานภาครัฐ/เอกชน ใน
ทอ้ งถิ่นหรือนอกพ้ืนที่
รบั ผิดชอบของมหาวิทยาลยั
รว่ มมอื กบั มหาวิทยาลยั ในการ
พฒั นาท้องถ่ิน ไมน่ ้อยกว่า 21
องคก์ รหรอื หนว่ ยงาน

2. มหาวิทยาลัยเป็น 2.1 จำนวนนวัตกรรม และ/ - - 14 20

ศูนยก์ ลางในการให้บริการ หรือผลิตภณั ฑ์ ตามความ

วิชาการและทำนบุ ำรุง ต้องการของทอ้ งถิน่

ศิลปวฒั นธรรม เพอ่ื

พฒั นาทอ้ งถิ่นชายแดนใต้

2.2 จำนวนฐานข้อมูลทอ้ งถ่ิน - - 1 1

ชายแดนใต้ ไม่นอ้ ยกวา่ 4

ฐานขอ้ มลู ครอบคลมด้าน

10

าร และทำนบุ ำรงุ ศิลปวฒั นธรรม เพ่ือการพฒั นาท้องถน่ิ

ยทุ ธวธิ ี โครงการและกิจกรรม งบประมาณ
2560-2564
2564 (Tactics) (Project) 10,000,000

21 1) สร้างเครือขา่ ยความร่วมมือกับ 1.1) โครงการสรา้ งความร่วมมอื เพอื่

องค์กรหรือหนว่ ยงานในระดับ พฒั นาศักยภาพบุคลากรมหาวทิ ยาลัยให้

ทอ้ งถน่ิ เปน็ ท่ีพ่งึ ทางวิชาการแก่ชุมชนอยา่ งมือ

อาชพี

1.2) โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 30,000,000
2,000,000
ด้านการวิจยั เพื่อการพัฒนางานวิจยั เพื่อ 4,000,000

ทอ้ งถ่ิน 10,000,000

1.3) โครงการความร่วมมือด้านการวิจัย

และ/หรือพัฒนารว่ มกับองค์กรปกครอง

ส่วนท้องถนิ่ ในพื้นทีช่ ายแดนใต้

20 2) บรู ณาการพันธกจิ สมั พันธ์เพอ่ื 2.1) โครงการพฒั นาและ/หรือยกระดับ

พัฒนาชุมชนท้องถน่ิ ดา้ นเศรษฐกจิ ผลิตภณั ฑจ์ ากการแปรรูปสินคา้ เกษตร

สังคม สิ่งแวดลอ้ มและทำนุบำรุง อุตสาหกรรมและบรกิ ารในชุมชนและ

ศลิ ปวัฒนธรรม ท้องถนิ่

2 2.2) โครงการพัฒนาและ/หรือยกระดับ
นวัตกรรมท้องถิน่ ชายแดนใต้

0

เป้าประสงค์ ตัวชว้ี ัดหลัก คา่ เป้าหมาย

(KPI) 2560 2561 2562 2563

เศรษฐกจิ สังคมสิ่งแวดล้อม

และศลิ ปวัฒนธรรม

2.3 จำนวนโครงการอัน - - 7 10

เนือ่ งมาจากพระราชดำริและ

โครงการตามพระราโชบายเพื่อ

การท้องถิน่

3. มกี ารพัฒนางานวจิ ยั 3.1 รอ้ ยละของสัดส่วนงานวจิ ัย - - 60 60
และงานสร้างสรรค์ที่ ดา้ นการพัฒนาท้องถิ่นเพอื่
สามารถยกระดบั คุณภาพ ยกระดบั คุณภาพชีวิต
ชีวิตประชาชนและลด
ความเหลือ่ มลำ้ ทางสงั คม

11

ยุทธวธิ ี โครงการและกจิ กรรม งบประมาณ
2560-2564
2564 (Tactics) (Project) 30,000,000

2.3) โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาวิสาหกิจ 2,000,000
400,000
ชุมชน ผู้ประกอบการใหม่
10,000,000
15 2.4) โครงการยกระดับนวตั กรรมสกู่ าร
2,000,000
เป็น Smart Enterprise
5,000,000
2.5) โครงการสบื สานมรดกทาง
5,000,000
วฒั นธรรมชายแดนใต้
40,000
3) บูรณาการขอ้ มลู ระหวา่ ง 3.1) โครงการพัฒนาฐานข้อมลู และ 400,000

หน่วยงานเพ่ือการพัฒนาขอ้ มลู สารสนเทศเพอ่ื การพัฒนาทอ้ งถ่ิน

ท้องถน่ิ ชายแดนใต้ มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา

3.2) โครงการขยายผลและการพฒั นา

ศักยภาพองค์กร/หน่วยงานในท้องถ่นิ ใน

การเข้าถงึ และใช้ระบบฐานขอ้ มลู และ

สารสนเทศเพ่อื การพัฒนาท้องถนิ่

มหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา

4) พฒั นาและต่อยอดขยายผล 4.1) โครงการอนั เนอ่ื งมาจาก

โครงการอนั เน่ืงมาจากพระราชดำริ พระราชดำริ และโครงการตามพระรา

และโครงการตามพระราโชบาย โชบาย

60 5) วจิ ยั และพฒั นาเพอื่ ยกระดบั 5.1) โครงการส่งเสรมิ การวจิ ัยเพ่อื พัฒนา

คุณภาพชีวิตของประชาชนใน ท้องถนิ่ ชายแดนใต้

ทอ้ งถ่นิ ชายแดนใต้

5.2 โครงการสังเคราะห์งานวิจยั เพ่อื การ

พัฒนาท้องถิ่นมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา

5.3 โครงการพัฒนาเครอื ขา่ ยวิจยั เพื่อ

การพัฒนาท้องถ่ิน

1

เปา้ ประสงค์ ตวั ชวี้ ัดหลัก ค่าเปา้ หมาย
(KPI) 2560 2561 2562 2563

4. ประชาชนในทอ้ งถ่ิน 4.1 จำนวนครวั เรือนที่ได้รับ 0 0 300 300

ชายแดนใต้มีคุณภาพชีวิต การพัฒนาโดยมหาวิทยาลยั เป็น

ทีด่ ี พี่เลีย้ ง

4.2 จำนวนผลติ ภณั ฑท์ ี่ไดร้ บั 0 0 15 15

การพฒั นาให้มคี ณุ ภาพและ

มาตรฐานเพ่มิ ขึ้น

4.3 จำนวนชุมชนทเ่ี ป็นแหล่ง - - -1

เรียนรู้ทางสังคมเชงิ บูรณาการ

ไม่น้อยกว่า 3 ชุมชน

12

ยุทธวิธี โครงการและกจิ กรรม งบประมาณ
2560-2564
2564 (Tactics) (Project) 50,000,000

300 6) บรกิ ารวชิ าการเพอ่ื ยกระดบั 6.1) โครงการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต 10,000,000

คณุ ภาพชีวิตของประชาชนใน ประชาชนในพ้ืนที่ชายแดนใต้ ด้าน 2,000,000

ท้องถิน่ ชายแดนใต้ เศรษฐกิจ สงั คมและสิ่งแวดล้อม 2,000,000

15 7) ยกระดบั คณุ ภาพและมาตรฐาน 7.1) โครงการพัฒนาคุณภาพและ

ผลติ ภณั ฑใ์ นชุมชนและท้องถ่นิ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ของชมุ ชนและ

ทอ้ งถ่ิน

8) พฒั นาแหล่งเรียนรู้ทางสังคม 8.1 โครงการขยายผลท่าสาปโมเดล

เชิงบรู ณาการ

8.2 โครงการพัฒนาตำบลต้นแบบเพ่ือ
การเรยี นรู้ทางสงั คมเชงิ บูรณาการใน
ท้องถ่ินชายแดนใต้

2

ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 4 ปฏริ ปู ระบบบริหารจดั การมหาวทิ ยาลยั ให้มีคณุ ภาพ ได้ม

เป้าประสงค์ ตัวชว้ี ัดหลกั ค่าเปา้ หมาย
(KPI) 2560 2561 2562 2563
1. มหาวิทยาลัยมีสภาพ
แวดลอ้ มท่ีเอื้อตอ่ การ 1.1 จำนวนต้นแบบในการ -1-
ปฏิบัติงานการให้บริการ บริหารจดั การสภาพแวดลอ้ ม
การเรียนรู้และเป็น การจดั การขยะ การจดั
มหาวิทยาลัยสเี ขยี ว การพลงั งาน
Green University

2. ผ้บู รหิ ารและบุคลากรมี 2.1 รอ้ ยละของผบู้ รหิ ารและ 50 60 70 80
สมรรถนะในการบรหิ าร บคุ ลากรไดร้ บั การพฒั นา
และปฏิบัตงิ านตาม สมรรถนะและมีผลการนำไป
มาตรฐานและเปน็ มอื ประยุกตใ์ ช้
อาชพี

13

มาตรฐาน ทนั ต่อการเปล่ยี นแปลงเนน้ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทสและการส่ือสาร

ยทุ ธวิธี โครงการและกิจกรรม งบประมาณ
2564 (Tactics) (Project) 2560-2564

1 1) พัฒนาและปรับปรุง 1.1) โครงการพฒั นาการจัดการ 3,890,000
สภาพแวดล้อม ภูมทิ ัศน์ ระบบ สภาพแวดลอ้ มไปสูม่ หาวิทยาลัยสเี ขียว
จราจร ความปลอดภยั พลังงาน Green University
การจดั การขยะ สู่ มหาวิทยาลยั สี
เขียว Green University

1.2) โครงการพฒั นาระบบจราจรและ 2,000,000
ระบบความปลอดภยั 2,500,000
2,000,000
1.3) โครงการพฒั นาต้นแบบระบบ 7,500,000
จัดการขยะครบวงจร

1.4) โครงการพฒั นาระบบการจดั การ
พลังงานส่แู นวปฏิบัติทดี่ ี

90 2) พัฒนาสมรรถนะ ผูบ้ รหิ ารและ 2.1) โครงการพฒั นาสมรรถนะและ

บคุ ลากร ส่มู ืออาชีพ ศักยภาพบุคลากรสายสนับสนุนสู่มอื

อาชีพ

2.2) โครงการพฒั นาสมรรถนะและ 5,000,000
ศกั ยภาพผบู้ ริหารสมู่ อื อาชพี

3

เป้าประสงค์ ตัวชีว้ ดั หลัก คา่ เปา้ หมาย
(KPI) 2560 2561 2562 2563

3. มรี ะบบสารสนเทศเพ่ือ 3.1 ร้อยละของระบบ 40 50 60 70

การบรกิ าร การบริหาร สารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารและ

การตดั สนิ ใจท่ีทันสมยั มี บรกิ ารท่นี ำมาใช้ในองค์กรและ

ประสทิ ธภิ าพ สามารถ บรรลุเปา้ หมาย

แข่งขนั ได้

4. ระบบการบริหาร 4.1 ร้อยละของจำนวนแผน - 50 60 70
จัดการไดม้ าตรฐาน เป้น เตรยี มความพร้อมสกู่ ารเปน็
YRU 4.0 และมีรายไดท้ ่ี มหาวิทยาลยั ในกำกบั
สามารถพึง่ พาตนเองได้

4.2 ร้อยละของหน่วยงานระดับ 40 50 60 70
งานขึน้ ไปมีค่มู อื มาตรฐานการ
ใหบ้ ริการท่ีมผี ลการนำไปสูก่ าร
ปฏิบตั จิ รงิ

14

ยุทธวิธี โครงการและกิจกรรม งบประมาณ
2564 (Tactics) (Project) 2560-2564
80 3) พัฒนาระบบสารสนเทศและ 12,500,000
3.1) โครงการพฒั นาเทคโนโลยี
การสอ่ื สารเพื่อการบริการ การ สารสนเทศเพือ่ สรา้ งศกั ยภาพในการ
บรหิ ารและการตัดสินใจ แข่งขัน

3.2) โครงการพฒั นาขอ้ มูลขนาดใหญ่ 25,000,000
(Big Data) เพ่อื สนับสนุนการบรหิ ารและ 1,500,000
การตดั สินใจ 1,500,000
3.3) โครงการพฒั นาระบบสารสนเทศ 3,000,000
การจดั การทรัพยากรองคก์ ร YRU-ERP
(Enterprise Resources Planning) 2,500,000
3.4) โครงการพัฒนา Application
สำหรบั อุปกรณเ์ คลื่อนที่ เสริมสร้าง
องคก์ รสู่ YRU 4.0
80 4) พัฒนาแผนยทุ ธศาสตร์ ระบบ 4.1) โครงการพัฒนาและทบทวนแผน
บรหิ ารจดั การ และ ระบบงานสู่ ยุทธศาสตรอ์ งคก์ รและการติดตาม
มาตรฐาน สอดคล้องกับระบบ ประเมินผล
ประกันคุณภาพภายในตามกรอบ
EdPEx หรือกรอบมาตรฐานที่
เกีย่ วขอ้ ง
80 4.2) โครงการทบทวนและปรับรอื้
โครงสร้างองคก์ รรองรับการเป็น
มหาวิทยาลยั ในกำกับ

4

เปา้ ประสงค์ ตวั ช้ีวัดหลัก ค่าเปา้ หมาย
2561 2562 2563
(KPI) 2560 30 40 50

4.3 ร้อยละของหนว่ ยงานระดบั 20 20 10 10

กอง มผี ลการประเมินคุณภาพ 10 20 40

ภายในตามกรอบมาตรฐานที่

มหาวิทยาลัยกำหนด อยู่ในระดับ

ดมี าก

4.4 รอ้ ยละของรายไดเ้ ฉล่ีย 20

ของมหาวทิ ยาลยั ทีเ่ พิ่มขึ้นจาก

ปีที่ผา่ นมา ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ

10

4.5 รอ้ ยละความสำเร็จของ 5

การดำเนินงานตามตัวชีว้ ัด

(KPIs) ของแผนยทุ ธศาสตร์

5. มหาวิทยาลัยเป็นองคก์ ร 5.1 รอ้ ยละของหนว่ ยงานระดบั 30 40 50 60
คุณภาพ คุณธรรม โปรง่ ใส กองขนึ้ ไปมแี นวปฏิบตั ิท่ีดีในการ
และได้รบั การยอมรบั ปฏบิ ัตงิ านหรอื ให้บรกิ าร

15

ยทุ ธวิธี โครงการและกิจกรรม งบประมาณ

2564 (Tactics) (Project) 2560-2564

60 4.3) โครงการพัฒนากระบวนงาน 2,000,000

มาตรฐานเพื่อยกระดบั คุณภาพบริการสู่

ความเป็นเลศิ

10 4.4) โครงการพัฒนาระบบคุณภาพ 3,000,000

ภายในและสนับสนุนหน่วยงานเข้ารับ 2,500,000
3,600,000
การประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐาน 2,000,000
1,500,000
ระดับชาติ 2,000,000

50 5) สง่ เสรมิ การพัฒนาระบบบริหาร 5.1) โครงการจดั ตัง้ กองทุนรายไดข้ อง

จดั การทรพั ยส์ นิ และรายได้ หน่วยงานเพือ่ การพ่งึ พาตนเอง

6) พัฒนาระบบการนำองค์กรเชงิ 6.1) โครงการพฒั นาระบบและส่งเสรมิ

ยุทธศาสตร์ และการเตรียม การบรหิ ารองค์กรเชงิ ยทุ ธศาสตร์

ผู้บรหิ ารทกุ ระดับ

6.2) โครงการพฒั นาผู้บริหารระดับสงู

เพื่อเสริมสรา้ งศักยภาพดา้ นการบริหาร

เชิงยทุ ธศาสตร์

7) พัฒนาขีดความสามารถในการ 7.1) โครงการพัฒนาระบบและส่งเสรมิ

จดั การทรพั ย์สนิ และจัดหารายได้ กจิ กรรมจัดหารายได้ส่กู ารพ่งึ พาตนเอง

เพอื่ การพึง่ พาตนเอง

70 8) ส่งเสริมให้หนว่ ยงานยกระดบั 8.1) โครงการยกระดบั คณุ ภาพการ

คุณภาพการบริหารและบรกิ ารสู่ บริหารและบริการสูม่ าตรฐานสากล

มาตรฐาน สากล

5

เป้าประสงค์ ตัวชวี้ ดั หลัก คา่ เป้าหมาย

(KPI) 2560 2561 2562 2563

5.2 จำนวนหน่วยงาน ----

สนบั สนนุ วชิ าการทีผ่ า่ นเกณฑ์

การประเมนิ คณุ ภาพตามกรอบ

มาตรฐาน

5.3 ร้อยละของผรู้ บั บรกิ ารที่มี 80 80 85 85
ความพงึ พอใจต่อการให้ บริการ
ในระดับดีมากขึ้นไป

16

ยทุ ธวธิ ี โครงการและกิจกรรม งบประมาณ

2564 (Tactics) (Project) 2560-2564

1 8.2) โครงการพฒั นาและเสรมิ สร้าง 800,000

องค์กรส่อู งคก์ รแห่งคุณธรรมและความ

โปร่งใส

8.3) โครงการสง่ เสรมิ และสนับสนุน 1,000,000

หน่วยงานเขา้ ประกวดรางวลั คุณภาพ

ระดบั ชาติ

90 8.4) โครงการพัฒนาและเสรมิ สรา้ ง 1,000,000

ภาพลกั ษณ์องค์กรสู่สากล

6

จุดเนน้ หลักสูตรและกลุ่มวิชา

เพื่อให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ราชภัฏยะลา ระยะ 10 ปี จึงได้กำหนดกลุ่มวชิ าที่เป็นจดุ เน้นของมหาวิทยาลยั เพื่อการพัฒนาตามเป้าหมายที่
กำหนด ดังน้ี

1. กลมุ่ สาขาวิชาด้านการผลิตและพัฒนาครู
2. กล่มุ สาขาวิชาด้านอตุ สาหกรรมการเกษตรสมยั ใหม่และอาหารฮาลาล
3. กลุ่มสาขาวิชาดา้ นอตุ สาหกรรมบรกิ ารและการดูแลสขุ ภาพ

ตารางท่ี 1 กลุ่มสาขาวิชาดา้ นการผลติ และพฒั นาครู ศูนย์การเรยี นรู้/ ผลผลติ และตวั ชีว้ ดั
หลักสูตรทโี่ ดดเด่น/จดุ เนน้ ประเดน็ การวจิ ยั

หอ้ งปฏบิ ตั ิการทจ่ี ะพัฒนา คณุ ภาพ

1. การศึกษาปฐมวยั 1. วิจัยและพัฒนาหลักสูตร 1. สถาบันพัฒนาครูและ 1. รอ้ ยละ 100 ของอาจารย์
2. คณิตศาสตร์ และกระบวนการพัฒนา
3. ภาษาองั กฤษ “ครูแห่งครู” สำหรับ บุคลากรทางการศึกษา หลกั สตู รจดุ เนน้ ไดร้ บั การ
4. วิทยาศาสตรท์ ่วั ไป อาจารย์ในหลักสูตร
5. ภาษาไทย จดุ เน้น ชายแดนใต้ พฒั นาและรับรองมาตรฐาน
6. สังคมศึกษา
7. คอมพิวเตอรศ์ ึกษา 2. วิจัยและพัฒนาศักยภาพ 1.1 หน่วยความเป็นเลิศ ตามหลกั สูตรครูของครู
8. พลศึกษาและสขุ ศึกษา อาจารย์จากหลักสูตร
9. ภาษาองั กฤษและ จุดเน้นโดยกระบวนการ ในระดบั สาขาทเี่ ปน็ จดุ เน้น
เทคโนโลยี PLC ( Professional
10. การประถมศึกษา Learning Community) 1) การศึกษาปฐมวัย 2. ร้อยละ 60 ของอาจารย์
11. การสอนอสิ ลามศกึ ษา
12. ภาษามลายู 3. วจิ ัยและพฒั นาหนว่ ยความ 2) คณติ ศาสตร์ หลักสตู รจดุ เน้นมตี ำแหนง่
เป็นเลิศในด้านการวิจัย
และพัฒนาและให้บริการ 3) ภาษาองั กฤษ ทางวชิ าการ
ทางการศึกษาจากสาขา
ตามหลกั สูตรจดุ เน้น 4) อ่ืนๆ 3. ร้อยละ 40 ของอาจารย์

1.2 หน่วยบริการด้าน หลักสูตรจุดเน้นมีคุณวุฒิ

การศึกษาที่เป็นอัตลักษณ์เชงิ ระดับปริญญาเอก

พื้นที่ซึ่งมาจากหลักสูตร

จดุ เนน้

1) MTB MLE Center

(Mother-Tongue-based

Multilingual Education)

2) หน่วยสะเตม็ ศึกษา

3) หน่วยศึกษาพัฒนา

ครูและนวัตกรรมทาง

การศึกษาที่มาจากหลักสูตร

จดุ เน้น

4) อน่ื ๆ

1.3 สถานศกึ ษาต้นแบบ

1) ศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็

ต้นแบบ

ตารางที่ 2 กลุ่มสาขาวิชาดา้ นอุตสาหกรรมการเกษตรสมัยใหม่และอาหารฮาลาล

หลักสตู รทโี่ ดดเดน่ / ประเด็นการวจิ ยั ศูนย์การเรยี นร/ู้ ผลผลิตและ
จดุ เน้น หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารทจ่ี ะพฒั นา ตวั ชี้วดั คุณภาพ

1. เทคโนโลยีและนวตั กรรมการ 1. การวิจยั และพฒั นาการผลติ 1. หอ้ งควบคมุ ระบบตา่ งๆ ใน 1. บณั ฑติ เปน็ ผปู้ ระกอบการ

ผลิตพชื พืชด้วยเทคโนโลยแี ละ ฟาร์มท่ที นั สมยั เกษตรและทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับ

นวตั กรรมทเี่ หมาะสม - คอมพวิ เตอร์ควบคุมระบบ การเกษตร

2. การวิจัยประยกุ ตค์ วามรดู้ า้ น ฟาร์มและประมวลผล 2. ตน้ แบบการสรา้ งงานสรา้ ง

IT ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ทุกแขนง - ชดุ อุปกรณส์ ื่อสารท่ีจำเป็น อาชพี แก่ชมุ ชน

เพือ่ พัฒนาการผลติ พชื และเกย่ี วขอ้ ง 3. ผลงานวิจัยของอาจารยท์ ี่

3. การวิจัยดา้ น precision 2. เครื่องจักรกลและเคร่ืองทนุ่ ไดร้ บั การตพี มิ พเ์ ผยแพร่ และ

agriculture แรงที่ใชใ้ นฟาร์ม นำไปใช้ประโยชน์ แกป้ ัญหา

3. ชดุ ตรวจสอบสภาพ ของชุมชนและทอ้ งถน่ิ

ภมู ิอากาศในระดับ 4. มตี ้นแบบการทำเกษตร

แปลงปลูก ประณตี 1 แหลง่

2. การจัดการเกษตรกรรมยงั่ ยืน 1. การวิจยั การจดั การเกษตร 1. ศูนย์เรียนร้กู ารทำเกษตร

มี 2 แขนงคือ อนิ ทรีย์ ประณตี

- การจัดการเกษตรอินทรยี ์ 2. การวจิ ัยและพฒั นาเกษตร

- การจัดการไรน่ าสวนผสม ผสมผสานตามแนว

พระราชดำรทิ ่ีเหมาะสมในแต่

ละบริบทของพ้นื ที่

3. ระบบ/ลกั ษณะการผลติ ทาง

การเกษตรรูปแบบตา่ งๆ

4. การจดั ตั้งกลมุ่ ทางการเกษตร

5. การวิจยั และพัฒนามาตรฐาน

ผักและผลไมป้ ลอดสารพษิ

(ปลอดภยั )

3. การจดั การเกษตรเชิงธรุ กจิ 1. การวจิ ัยเพื่อเพ่ิมมลู คา่

มี 2 แขนง ผลผลติ ทางการเกษตร

-ธุรกิจเกษตร 2. การลดต้นทนุ การผลิตทาง

-การจดั การทอ่ งเทีย่ ว การเกษตร

เชิงเกษตร 3. การวิจยั พฒั นาแหลง่

ทอ่ งเทยี่ วและเสน้ ทาง

ทอ่ งเทีย่ วเชิงเกษตร

18

หลกั สูตรทโี่ ดดเดน่ / ประเด็นการวิจยั ศูนยก์ ารเรียนร/ู้ ผลผลิตและ
จุดเน้น หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารทจ่ี ะพัฒนา ตัวชวี้ ัดคณุ ภาพ

4. เกษตรทำเงิน 1. การพฒั นารปู แบบการ 1. โรงเรือนพชื /สตั วร์ ะบบปดิ ที่

ประกอบการธรุ กจิ พืชผลทาง ทนั สมยั

การเกษตร (Startup 2. โรงเรอื นอนบุ าล/วัยออ่ น

Agricultural Production 3. โรงเรอื นเลี้ยง

Business Model) 4. โรงเรอื นพ่อแม่พันธ์ุ

2. การจดั การฟารม์

3. การตลาดผลิตผล/ผลิตภณั ฑ์

ทางการเกษตรท้ังในและ

ต่างประเทศ

4. การวิจยั เสน้ ทางปัจจยั การ

ผลติ และการกระจายผลผลติ

ทางการเกษตรและท่เี กยี่ วข้อง

ท้งั ในประเทศและ

ต่างประเทศ (โดยเฉพาะ

ประเทศมาเลเซยี อนิ โดนเี ซยี

และบรไู น)

5. การเพ่มิ มลู ค่าผลผลติ เกษตร

6. การลดต้นทุนการผลติ ทาง

การเกษตร

5. การจัดการฟารม์ ปศสุ ตั ว์ 1. การผลติ สตั ว์ 1. ศูนยก์ ารเรยี นรู้การจดั การ 1. ฟารม์ มกี ารบรหิ ารจัดการทด่ี ี

สมยั ใหม่ (smart livestock 2. การวางแผนการผลติ ฟารม์ แมล่ าน และเพิ่มประสิทธภิ าพโดย

farm management) 3. การจัดการขอ้ มลู สารสนเทศ 2. โรงเรอื นสำหรบั ฆา่ ชำแหละ การใชเ้ ทคโนโลยสี มัยใหม่

จุดเดน่ /จดุ เนน้ ดา้ นปศุสตั ว์ และตดั แตง่ ซากสัตวเ์ พ่ือการ 2. ฟาร์มมีผลผลิตทม่ี คี ุณภาพ

- เชี่ยวชาญในการผลิตสัตว์ 4. การใชแ้ อปพลิเคช่นั ในการ จำหน่าย และสามารถสง่ ตลาดไดอ้ ยา่ ง

ที่ตอบสนองความต้องการของ บรหิ ารจดั การฟารม์ เพื่อเพม่ิ 3. เครือข่ายเกษตรกร ตอ่ เนอ่ื ง

ตลาด ประสทิ ธภิ าพการผลติ 3. กอ่ เกิดรายได้ที่เพยี งพอ

- มีข้อมูลประกอบการ 5. การตลาดปศุสตั ว์ สำหรับการบรหิ ารจดั การ

ตัดสินใจที่ทันสมัยในการ 6. การสรา้ งเครือขา่ ยเกษตรกร และการพัฒนาฟาร์ม

บริหารจัดการฟาร์ม เช่น ที่เลีย้ งสตั วเ์ พื่อพฒั นาการทำ 4. เป็นแหลง่ เรยี นรู้และบริการ

ปริมาณการผลิตและความ ปศุสตั ว์ วชิ าการให้แก่เกษตรกรและ

ต้องการของสินค้าปศุสัตว์ 7. ธรุ กิจฟารม์ ทท่ี ันสมยั ผสู้ นใจทวั่ ไป

การตลาด 5. บณั ฑิตมีความสามารถใน

- ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี การบรหิ ารจดั การฟารม์ และ

สมัยใหม่อย่างเป็นระบบในการ สามารถเปน็ ผู้ประกอบการ

ได้ (smart farmer)

19

หลกั สูตรทโี่ ดดเด่น/ ประเดน็ การวจิ ยั ศูนย์การเรยี นร/ู้ ผลผลิตและ
จดุ เนน้ ห้องปฏบิ ัติการทจ่ี ะพฒั นา ตวั ช้วี ัดคณุ ภาพ

บริหารฟาร์มเพื่อลดรายจ่าย
เพ่ิมรายได้ และลดความเส่ยี ง

- ตระหนักถงึ คุณภาพสนิ ค้า
และความปลอดภัยของ
ผู้บริโภค GAP/GMP

- มีกระบวนการผลิตที่ไม่
ก ่ อ ใ ห ้ เ ก ิ ด ม ล ภ า ว ะ แ ล ะ ไ ม่
ทำลายสิ่งแวดล้อม (Green
economy)

6. สัตวศาสตร์ 1. พฒั นาสัตวเ์ ศรษฐกิจ แพะ 1. โรงเชือดสัตว์ปกี ณ ศูนย์ 1. ฟารม์ มผี ลผลิตจากสตั ว์ท่มี ี

จดุ เด่น/จดุ เน้น แกะ โค และสัตว์ปีก การเรยี นรู้การจดั การฟารม์ คณุ ภาพส่งตลาดได้อยา่ ง

- เนื่องจากสัตวศาสตร์ 2. การตลาดสตั ว์มีชวี ติ แม่ลาน ต่อเนอื่ ง

มีภาคีเครือข่ายสัตวบาล - 3. พัฒนาอาหารแพะ แกะ 2. โรงเชอื ดสตั วเ์ ค้ียวเอ้อื ง ณ 2. เปน็ แหล่งเรยี นรู้และบริการ

สัตวศาสตร์ขนาดใหญ่ท้ัง และโค ศนู ยก์ ารเรียนรกู้ ารจดั การ วิชาการให้แก่เกษตรกรและ

ประเทศ ฟาร์มแมล่ าน ผู้สนใจทว่ั ไป

- มี พรบ.วิชาชีพสัตวบาลที่ 3. ห้องวิเคราะห์อาหารสตั ว์ ณ 3. สามารถสร้างงาน
รองรบั ศูนยก์ ารเรยี นรู้การจัดการ สร้างอาชพี สร้างธรุ กจิ ได้
ฟารม์ แมล่ าน
- ท ั ก ษ ะ ก า ร ผ ล ิ ต ส ั ต ว์
เศรษฐกิจเพื่อเป็นจุดศูนย์กลาง
ของอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล

- หลักสูตร สอดคล้องกับ
การพัฒนาพื้นที่ภาคใต้ตาม
บริบทการพัฒนาทางปศุสัตว์
ซึ่งจังหวัดยะลา ปัตตานี และ
นราธิวาส เป็นพื้นที่ในสังกัด
สำนักงานปศสุ ัตว์ เขต 9

- สร้างหลักสูตรแขนง เป็น
สัตว์สวยงามทำเงิน และสัตว์
เศรษฐกจิ

20

หลักสูตรทโี่ ดดเดน่ / ประเด็นการวจิ ัย ศนู ย์การเรยี นร/ู้ ผลผลิตและ
จุดเนน้ หอ้ งปฏิบัติการทจี่ ะพฒั นา ตวั ช้วี ดั คุณภาพ

7. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. การผลิตและการพัฒนา 1. ศูนยป์ ฏบิ ตั ิการแปรรปู อาหาร 1. ผลงานวิจยั นำไปใชใ้ นเชงิ

อาหารฮาลาล คณุ ภาพวัตถดุ บิ ฮาลาล ธุรกจิ ได้

จดุ เด่น/จดุ เนน้ 2. การจัดหาและการพัฒนา 2. ศนู ย์ตรวจสอบคุณภาพ 3. บัณฑิตสามารถเป็น

- ตอบสนองความต้องการ คุณภาพแหล่งทุน อาหารฮาลาล ผ้ปู ระกอบการผลติ ภัณฑ์

บุคลากรด้านอาหารฮาลาลใน 3. กระบวนการผลิตและการ อาหารฮาลาลร้อยละ 5

ระดับอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร 4.บณั ฑติ สามารถประกอบ

กลางและเล็ก ฮาลาล อาชีพตรงสาขาวิชา

- ตอบสนองหน่วยงานการ 4. ความปลอดภัยในการผลิต/ ร้อยละ 50

ตรวจสอบอาหารฮาลาล ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ห รื อ 5. บณั ฑิตมเี งินเดอื นตาม

- เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ วิเคราะหอ์ าหารฮาลาล คณุ วฒุ ิ

อาหารในท้องถิ่นด้วยกระบวน 5. บรรจุภัณฑ์และอายกุ ารเก็บ

การผลติ ท่ฮี าลาล 6. องค์ความรู้และเทคโนโลยี

ใหม่

7. การจดั การด้านการตลาด

8. การจัดการด้านโลจิสติกส์

สำหรับอาหารฮาลาล

8. อุตสาหกรรมและการบรกิ าร 1. ประวตั คิ วามเป็นมาของ 1. ศูนยป์ ฏบิ ตั ิการการประกอบ 1. ศูนย์ปฏบิ ตั กิ ารการประกอบ

อาหารฮาลาล อาหารมลายูท้องถ่นิ หวั เมือง อาหารฮาลาล อาหารฮาลาล

จุดเดน่ /จดุ เน้น ต่างๆ 2. แหล่งรวบรวมขอ้ มลู อาหาร 2. แหล่งรวบรวมขอ้ มลู อาหาร

- ตอบสนองความต้องการ 2. ตำรับอาหารฮาลาล ท้องถ่ินของวฒั นธรรมไทย ทอ้ งถิน่ ของวฒั นธรรมไทย

บุคลากรด้านผู้ปฏิบัติงานที่ 3. วตั ถุดิบฮาลาล จีน มลายู ของหวั เมืองตา่ งๆ จนี มลายู ของหวั เมืองต่างๆ

เกี่ยวข้องกับการผลิตอาหาร 4. วฒั นธรรมการบรโิ ภคและ 3. บณั ฑิตสามารถเปน็

ประกอบอาหารในร้านอาหาร ความสมั พันธข์ องอาหารไทย ผปู้ ระกอบการรา้ นอาหาร

ภัตตาคาร รวมถึงร้านอาหารใน จนี และมลายู ฮาลาล ร้อยละ 5

โรงแรมและโรงงานขนาดเลก็ 5. กระบวนการพัฒนาตำรับ 4. ผลงานวิจยั นำไปใชใ้ นเชิง

- การพัฒนาตำรับอาหาร อาหารฮาลาล ธรุ กิจหรอื สง่ เสรมิ การ

โบราณในท้องถิ่นและยกระดับ 6. กระบวนการปรุงหรอื การ ท่องเที่ยวในพ้ืนทไ่ี ด้

อ า ห า ร เ พ ื ่ อ ต อ บ ส น อ ง ประกอบอาหารฮาลาล 5.บณั ฑิตสามารถประกอบอาชีพ

ร้านอาหาร ภัตตาคาร และ รวมถงึ กระบวนการพัฒนา ตรงสาขาวชิ าร้อยละ 50

โรงแรมต่างๆ หรือกลุ่มแม่บ้าน อาหารสมยั โบราณใหเ้ ป็น 6. บณั ฑติ มเี งินเดือนตามคณุ วุฒิ

หรือ OTOP ที่ต้องการอนุรักษ์ อาหารฮาลาลรว่ มสมัย

อาหารในท้องถิน่ 7. การจดั การระบบการ

- ตอบสนองหน่วยงานที่ ประกอบอาหารฮาลาล การ

เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ ตรวจสอบหรอื วเิ คราะห์

21

หลกั สตู รทโี่ ดดเด่น/ ประเดน็ การวจิ ยั ศูนย์การเรยี นร/ู้ ผลผลติ และ
จุดเน้น ห้องปฏิบตั ิการทจ่ี ะพฒั นา ตวั ชี้วดั คณุ ภาพ

ระบบฮาลาลในร้านอาหาร อาหารใหถ้ กู ตอ้ งตาม

ภัตตาคาร ตลอดจนร้านอาหาร หลกั การผลติ อาหารฮาลาล

ในโรงแรมตา่ งๆ 8. บรรจภุ ณั ฑ์และอายุการเก็บ

รกั ษาอาหารฮาลาล

9. องค์ความรูแ้ ละการ

ประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยี

สมัยใหม่ในการนำเสนอ

อาหารโบราณใหเ้ ป็นอาหาร

ฮาลาลรว่ มสมยั

10. การตลาด

11. การส่งเสรมิ การท่องเทย่ี ว

เชงิ วัฒนธรรมการบรโิ ภค

อาหารทอ้ งถิน่ หัวเมอื งต่างๆ

ในรปู แบบอาหารฮาลาล

22

ตารางที่ 3 กลุ่มสาขาวิชาด้านอตุ สาหกรรมบริการและการดูแลสขุ ภาพ

หลักสูตรทโ่ี ดดเดน่ / ประเด็นการวิจัย ศนู ย์การเรียนร/ู้ ผลผลิตและ
จุดเนน้ หอ้ งปฏิบัติการทจ่ี ะพฒั นา ตัวช้ีวดั คุณภาพ

1. การบรบิ าลและการดแู ล 1. งานวิจยั เกีย่ วกับรูปแบบ 1. หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารด้าน 1. บัณฑิตมงี านทำ สามารถใช้
ผู้สูงอายุ การดูแลผสู้ งู อายุโดยการมี การดูแลผสู้ ูงอายุ ความรู้ทางดา้ นวิทยาศาสตร์
สว่ นร่วมของชุมชน สุขภาพให้เกดิ ประโยชน์
จุดเน้นของหลักสตู รได้แก่ 2. นวตั กรรมดา้ นการดแู ล 2. ศูนยก์ ารเรยี นรู้ดา้ นการ สูงสดุ
มุ่งเนน้ การมสี ่วนร่วมของ ผู้สูงอายุ ดแู ลผสู้ งู อายุ
ชุมชน 2. นักศึกษามคี วามรสู้ ามารถ
3. สถานดแู ลผู้สูงอายุ ดูแลผสู้ งู อายุ
2. หลักสูตรการทอ่ งเทีย่ วและ แนวทางการสง่ เสรมิ การ
ศนู ย์บริการท่องเทยี่ วแบบ 3. เครอื ขา่ ยความรว่ มมือทาง
การโรงแรม ท่องเทีย่ วตลาดการคา้ เบด็ เสร็จเพือ่ ส่งเสรมิ การ วิชาการด้านการดูแล
ท่องเทยี่ วชายแดน ผู้สูงอายุในประเทศ (MOU)
ชายแดนไทย – มาเลเซยี 1 แหง่

1. หลักสตู รระยะสน้ั มาตรฐาน
การทอ่ งเท่ยี ว

2. บัณฑติ มีงานทำ
3. สรา้ งอาชีพใหแ้ ก่ชมุ ชน

ท่องเทยี่ ว
4. ยกระดบั มาตรฐานการ

ทอ่ งเทย่ี ว เพื่อใหเ้ กิดการ
ท่องเที่ยวแบบยง่ั ยนื
5. พัฒนาผูป้ ระกอบการใหม้ ี
ความพรอ้ มในการดำเนิน
ธรุ กจิ ให้เขา้ สรู่ ะบบสากล
6. ศูนย์บรกิ ารทอ่ งเทีย่ วแบบ
เบด็ เสร็จเพอื่ สง่ เสรมิ การ
ทอ่ งเที่ยวชายแดน

1. แนวทางสง่ เสรมิ การลงทนุ 1. โรงแรมฮาลาลต้นแบบใน 1. โรงแรมฮาลาลตน้ แบบใน

ธรุ กิจโรงแรมฮาลาลในพืน้ ที่ พ้ืนทีเ่ มอื งท่องเทยี่ วชายแดน พ้นื ทเี่ มอื งทอ่ งเที่ยวชายแดน

เมอื งทอ่ งเที่ยวชายแดน 2. ศนู ย์ฝึกประสบการณ์อาหาร ภาคใต้

ภาคใต้ และเครอ่ื งด่ืมฮาลาลทอ้ งถิ่น 2. ผลิตบุคลากรธุรกจิ โรงแรม

2. รูปแบบการพฒั นามาตรฐาน เพอ่ื การทอ่ งเท่ียว ฮาลาลเพื่อสง่ เสริมบณั ฑิต

ฮาลาลสำหรับธรุ กิจทพี่ กั ทำงานในกลุ่มประเทศมุสลิม

แบบโรงแรมฮาลาล (อาเซียน)

3. อาจารย์มผี ลงานสร้างสรรค์

จดสิทธิบัตรโรงแรมฮาลาล

23

หลกั สตู รทโี่ ดดเดน่ / ประเดน็ การวจิ ยั ศนู ยก์ ารเรียนร/ู้ ผลผลติ และ
จดุ เน้น
ห้องปฏิบตั ิการทจ่ี ะพัฒนา ตัวชีว้ ดั คณุ ภาพ

ต้นแบบ

4. หลักสตู รอบรมมาตรฐาน

โรงแรมฮาลาล

5. บณั ฑิตมีทกั ษะสื่อสารภาษา

มาลายูกลาง/ภาษาอาหรับ

สำหรบั ธรุ กิจโรงแรมฮาลาล

6. หนงั สือมาตรฐานฮาลาล

สำหรบั ธรุ กจิ ทอ่ งเทีย่ วและ

โรงแรม

7. โรงแรมฮาลาลตน้ แบบใน

พน้ื ท่เี มอื งท่องเทย่ี วชายแดน

8. ศนู ยฝ์ ึกประสบการณอ์ าหาร

และเครื่องดมื่ ฮาลาลท้องถ่ิน

เพอ่ื การทอ่ งเท่ียว

1. การจัดการท่องเที่ยววถิ ี ศูนย์การเรยี นรธู้ รุ กิจบรกิ าร 1. เอกสารประกอบการสอน
อิสลาม ฮาลาล/ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ และตำรา
ทอ่ งเท่ยี ววถิ อี ิสลาม
2. ความคาดหวงั และ 2. ศูนยก์ ารเรียนรู้ธรุ กจิ บรกิ าร
ประสบการณ์ในการเดนิ ทาง ฮาลาล/ศนู ย์การเรยี นรู้
ไปประกอบพธิ ฮี ัจย์ของ ทอ่ งเท่ยี ววิถีอสิ ลาม
มุสลมิ ใน 3 จังหวดั ชายแดน
ภาคใต้

1. การพฒั นาศกั ยภาพ ศูนย์เครือขา่ ยฮจั ย์และ 1. บณั ฑิตเป็นผปู้ ระกอบกจิ การ
ผูป้ ระกอบการฮจั ย์และ อมุ เราะห์ ฮจั ย์และอุมเราะห์
อมุ เราะห์
2. เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพแซะห์ให้
2. การสร้างเครอื ขา่ ยความ มีประสิทธภิ าพ
รว่ มมอื ของผูป้ ระกอบการ
ฮจั ย์และอมุ เราะห์ 3. ฐานข้อมูลแซะห์
4. ศนู ยเ์ ครอื ขา่ ยฮจั ย์และ

อมุ เราะห์

24

การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อม (SWOT Analysis)

จุดแขง็ (Strengths)
1. ผู้บริหารทกุ ระดบั มีความมงุ่ ม่ันในการพัฒนามหาวิทยาลัยไปสูว่ ิสัยทัศน์
2. บคุ ลากรส่วนใหญ่เปน็ คนรุน่ ใหม่ ทำให้เอ้อื ต่อการพฒั นาและการเปล่ยี นแปลง อกี ทัง้ มคี วามทุ่มเทและ
มีความพยายามในการปฏิบตั งิ าน
3. มีคณาจารย์ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้เอื้อต่อการสร้างผลงาน
วิชาการและผลงานวิจัยเพม่ิ ขึน้
4. บุคลากรไดร้ บั โอกาสในการพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ
5. มหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศอาเซียน
ซง่ึ จะส่งผลให้เกิดการพฒั นาความรว่ มมอื ทางวิชาการและการวจิ ัยรว่ มกนั
6. โครงสร้างเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารสูภ่ ายนอกเป็นเครือข่ายความเร็วสูง เอ้อื ต่อการเรียนรู้
ของบุคลากรและนักศึกษา
7. มหาวิทยาลัยมีความพร้อมด้านอาคารสถานที่ ทรัพย์สิน และทรัพยากรอื่น ๆ ที่เอื้อต่อการใช้
ประโยชนใ์ นการจดั หารายได้ ซง่ึ จะทำให้การพฒั นามหาวทิ ยาลัยเป็นไปอย่างคล่องตัว

จุดอ่อน (Weaknesses)
1. ขาดการบูรณาการแผนและการปฏิบัติงานในการผลิตบัณฑิตทั้งในระดับหลักสูตร ระดับคณะ และ
ระดับสถาบัน อีกทั้งยังขาดการกำหนดบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละส่วน ซึ่งจะต้อง
ปฏบิ ัตงิ านใหเ้ อือ้ อำนวยซ่งึ กันและกัน
2. ไม่มีความชัดเจนและไม่เป็นเอกลักษณ์ในสมรรถนะของบัณฑิต ทำให้การรับรู้ของสังคมภายนอกไม่
ชดั เจน อีกทั้งทศิ ทางการพัฒนาบัณฑิตก็ยังไม่เปน็ รูปธรรม
3. บัณฑติ ปรญิ ญาตรยี ังมีจุดอ่อนในด้านภาษาอังกฤษ ส่วนบัณฑติ ระดบั ปริญญาโท มีจุดอ่อนในเร่ืองการ
ตพี ิมพเ์ ผยแพร่ผลงานวิทยานิพนธ์
4. กระบวนการจัดการเรียนการสอนและสื่อการเรียนการสอนไม่มีความหลากหลาย ทำให้ไม่สามารถ
ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ อีกทั้งยังขาดรูปแบบและกระบวนการที่เป็น
เลศิ ในการสอนของแต่ละศาสตร์ สว่ นใหญ่เป็นรูปแบบการสอนของแตล่ ะบุคคล ขาดการรวมกลุ่มเพ่ือ
พัฒนารปู แบบการสอนท่เี หมาะสมกบั ศาสตรน์ ั้น ๆ
5. ความรว่ มมอื กบั สถานประกอบการในการผลติ บัณฑติ ยงั มีน้อยมาก
6. ไม่มีมาตรการและแนวทางที่ชัดเจนในการส่งเสริมและสร้างศักยภาพนักวิจัยที่มีประสบการณ์ ให้ขอ
ทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก และควรมีนโยบายให้มีผู้ร่วมวิจัยรุ่นใหม่เข้ามาเป็นทีมวิจัย เพื่อสร้าง
โอกาสในการแสวงหาแหลง่ ทนุ จากภายนอก

25

7. ขาดผลงานวิจัยในลักษณะที่เป็นทีมวิจัยหรือชุดโครงการที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนา
ชุมชนและทอ้ งถน่ิ หรอื การตอ่ ยอดในเชิงพานชิ ย์

8. ยงั ไมม่ ผี ลงานวิจยั ท่เี น้นนวตั กรรม อกี ทงั้ ผลงานวจิ ยั ทไี่ ดร้ ับการอา้ งอิงและตีพิมพเ์ ผยแพร่ในระดับชาติ
และนานาชาตยิ งั มนี ้อย โดยเฉพาะวารสารทมี่ ี Impact Factor สูง

9. ไม่มีการจัดทำแผนบริหารการใช้ประโยชนจ์ ากงานวจิ ัยและและงานสรา้ งสรรค์ทเ่ี ปน็ รูปธรรม
10. ระบบการบริหารงานบุคคลยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ทั้งในส่วนของทิศทางการพัฒนาบุคลากร

และการสรรหาผมู้ คี วามสามารถและศักยภาพสงู มาปฏิบตั ิงาน
11. การเกษียณอายุราชการของคณาจารย์มีจำนวนมาก ในขณะที่การทดแทนอัตรากำลังใหม่ไม่เพียงพอ

อีกทง้ั การพฒั นาอาจารย์ใหม่ใหม้ ีศักยภาพทเ่ี ทา่ เทยี มตอ้ งใชเ้ วลานาน
12. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ยังไม่มีประสิทธิภาพ ทั้งการแปลงแผนสู่การปฏิบัติและการติดตาม

ประเมินผลการดำเนนิ งาน อกี ทั้งบุคลากรยงั ขาดความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับงานยุทธศาสตร์
13. ระบบสารสนเทศของมหาวทิ ยาลัยยังขาดความสมบูรณ์และความเชือ่ มโยง ทำให้ไม่สามารถนำข้อมูล

มาใช้ในการตัดสินใจเชิงบรหิ ารได้
14. ระบบการสื่อสารองค์กร และการสรา้ งภาพลักษณ์องคก์ รยังไม่มปี ระสิทธิภาพเท่าท่ีควร ส่งผลกระทบ

ตอ่ การเขา้ ถงึ แหลง่ ขอ้ มูลด้านการศกึ ษาและการบริการ
15. ขาดวัฒนธรรมและค่านิยมร่วมของมหาวิทยาลัย ทำให้บุคลากรขาดความตระหนักในเรื่องการพัฒนา

องค์กรร่วมกัน และกรอบแนวความคิดในการทำงานยังยึดติดกับการทำงานแบบตั้งรับ ขาด
ประสทิ ธภิ าพในการกระทำเชิงรุก
16. การบรหิ ารจดั การด้านอาคารสถานที่ และทรัพย์สินยงั ไมเ่ ต็มประสิทธิภาพ ทำให้การหารายได้ยังน้อย
อยู่ อีกทั้งยังขาดระบบการส่งเสริมและสนับสนนุ ให้หน่วยงานภายในแสวงหารายไดเ้ พื่อการพึ่งตนเอง
ทีช่ ดั เจน นอกจากนย้ี ังขาดกฎ ระเบยี บตา่ ง ๆ ทจี่ ะสามารถรองรับการทำงานเชิงรกุ
17. มหาวิทยาลยั ยังไม่สามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ย์สนิ ทางปัญญาได้อย่างเตม็ ท่ี
18. ไม่มีแผนการจดั หารายไดอ้ ย่างเปน็ รปู ธรรม

โอกาส (Opportunities)
1. นโยบายการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ของรัฐบาลให้ความสำคัญทั้งการศึกษาในระบบและ
การศึกษาทางเลือก ม่งุ พฒั นาคนทุกชว่ งวัยโดยสง่ เสริมการเรียนร้ตู ลอดชวี ิต เพื่อให้สามารถนำความรู้
และทักษะใหม่ไปประกอบอาชีพได้อย่างหลากหลาย ตามแนวโน้มการจ้างงานในอนาคต
2. นโยบายรัฐบาลในการพัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูที่มีคุณภาพและมีจิตวิญญาณความเป็นครู
เนน้ ครูผ้สู อนให้มวี ฒุ ิตรงตามวชิ าที่สอน

26

3. นโยบายรัฐบาลในการเสริมสร้างสังคมนวัตกรรม โดยส่งเสริมระบบการเรียนการสอนที่เชื่อมโยง
ระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ การผลิตกำลังคนในสาขาวิชาท่ี
ขาดแคลน มกี ารเชอื่ มโยงระหวา่ งการเรียนรกู้ บั การทำงาน

4. รัฐบาลให้การสนับสนุนการขยายโอกาสทางการศึกษา และสร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงานในสาม
จังหวัดชายแดนภาคใต้

5. รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยในพื้นที่สามจังหวัด
ชายแดนภาคใตด้ ้วยการจัดสรรทุนอดุ หนุนการพัฒนาอาจารยร์ ะดับปริญญาเอก

6. จังหวัดยะลา นราธิวาส และปัตตานีมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม และวิถีชีวิต อีกทั้งกำลังก้าวสู่
สังคมผู้สูงอายุ จึงเป็นโอกาสของมหาวทิ ยาลยั ท่ีจะผลิตบัณฑติ ที่มีคุณภาพเชงิ ปฏบิ ัติการ ที่สอดคล้อง
กบั บริบทของชุมชนและสังคม สามารถสรา้ งงานและรายได้ใหแ้ ก่ชุมชนและท้องถน่ิ ได้

7. ทตี่ ั้งของมหาวิทยาลัยอยู่ใกล้กับประเทศเพือ่ นบ้าน ซงึ่ มีเส้นทางคมนาคมติดต่อกันได้อย่างสะดวก ทำ
ใหม้ ีโอกาสในการสร้างความรว่ มมือในการจดั การศึกษา การวจิ ยั และอ่ืน ๆ

8. พื้นที่ให้บริการหลักของมหาวิทยาลัยทั้งจังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาสมีทรัพยากรธรรมชาติ
แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ และผลผลิตทางการเกษตรจำนวนมากทำให้สามารถพัฒนาโจทย์
วิจัยและผลงานวิจัยได้อย่างหลากหลาย ส่งผลให้มหาวิทยาลัยเป็นที่พึ่งทางวิชาการของชุมชนและ
ทอ้ งถ่ินได้อย่างแทจ้ รงิ

9. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเอื้ออำนวยต่อการสร้างเครือข่ายความร่วมมือและถ่ายโอนองค์ความรู้
สง่ ผลใหบ้ คุ ลากรสามารถเรยี นรแู้ ละใชป้ ระโยชน์เพอื่ การปฏบิ ัตงิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพ

อปุ สรรค/ภยั คกุ คาม (Threats)
1. สถานการณ์ความไม่สงบในสามจงั หวัดชายแดนภาคใต้มผี ลตอ่ การสรรหาบุคลากรทม่ี ีคุณภาพ
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของเยาวชนในพื้นที่อยู่ในระดับต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศทุกกลุ่มสาระ
สง่ ผลใหเ้ ป็นอุปสรรคตอ่ การศึกษาต่อในระดับอดุ มศึกษา
3. การรวมตัวของประชาคมอาเซียน ซึ่งจะมีการเปิดเสรีทางการค้าและบริการโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้าน
การศึกษา และด้านการสาธารณสขุ ส่งผลให้เกิดการแข่งขนั เพ่ิมมากขนึ้
4. ภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจและการชะลอตวั ของเศรษฐกิจมผี ลต่อการเจรญิ เติบโตของตลาดแรงงาน ทำ
ให้บัณฑิตมีงานทำน้อยลง นอกจากนี้ผู้ปกครองของบัณฑิตก็มีรายได้ลดลง อาจส่งผลให้งบประมาณ
ของมหาวทิ ยาลัยลดลงในอนาคต ซึง่ จะกระทบตอ่ การพัฒนาของมหาวิทยาลัย

27


Click to View FlipBook Version