The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suksomkitt, 2021-09-16 08:12:55

งานเขียน

งานเขียน

งานเขียน

งานเขยี นแบ่งเป็น 2 ประเภท
1. รอ้ ยแก้ว
2. ร้อยกรอง

งานเขยี นรอ้ ยแก้ว
 ตามพจนานกุ รมหมายความว่า “ความเรยี งท่สี ละสลวย ไพเราะด้วยเสียงและความหมาย”
 หมายถงึ “ถ้อยคาทเี่ รยี บเรียงข้นึ โดยไมม่ ขี ้อบังคบั หรอื ข้อแทต้ า่ งๆ เช่น

สัมผัส เอก โท ครุ ลหุ คณะ ฯลฯ เปน็ ความเรยี งท่เี กลี้ยงเกลาสละสวย ไพเราะ
งดงาม ประหนง่ึ การรอ้ ยดวงแก้วท่แี สนงามเขา้ ดว้ ยกนั ”

ถงึ แม้ว่ารอ้ ยแกว้ จะไมบ่ งั คับวา่ ตอ้ งใช้คาทสี่ มั ผัสกัน แต่บางคร้ังรอ้ ยแกว้ ท่ีมีสมั ผัสซึ่ง
ก็จะทาให้เกดิ ความไพเราะและแสดงถงึ การเรียบเรยี งร้อยแกว้ นนั้ อย่างพิถีพิถัน เชน่ “...กรุง
สโุ ขทยั นีด้ ี ในนา้ มปี ลา ในนามขี า้ ว เจา้ เมืองบเอาจกอบในไพรล่ ู่ทาง เพ่ือนจงู ววั ไปค้าขี่ม้าไปขาย
...” เปน็ ขอ้ ความในหลักศิลาจารกึ หลักท่ี ๑ ของพอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราชทใี่ ชค้ าคล้องจองทาให้
เกิดความไพเราะ

รปู แบบของรอ้ ยแกว้ แบ่งเป็น ๒ ประเภท คอื
๑. บันเทงิ คดี

คือ งานเขียนท่ีแต่งขนึ้ โดยจนิ ตนาการ มีความมงุ่ หมายใหผ้ อู้ า่ นไดร้ บั ความบนั เทิงเป็น
สาคญั แต่ก็อาจใหค้ วามรูค้ วามจรรโลงใจ คติ และแงค่ ดิ ต่างๆ ดว้ ย งานเขียนประเภทนี้
ไดแ้ ก่ นิทาน เรอ่ื งสน้ั นวนยิ าย บทละครพดู นยิ ายอิงพงศาวดาร ตานานตา่ งๆ เป็นตน้
๒. สารคดี

คือ งานเขียนท่ีแต่งขนึ้ จากขอ้ เทจ็ จรงิ เป็นงานเขียนท่ีม่งุ ใหค้ วามรูแ้ ละขอ้ เท็จจรงิ เป็น
สาคญั เช่น สารคดีเชงิ ท่องเท่ียว สารคดีเชิงชีวประวตั ิ รายงานการประชมุ ความ
เรยี ง บทความ ตาราทางวิชาการ พงศาวดาร กฎหมาย จดหมายเหตุ พระราชหตั ถเลขา
พระคมั ภีรท์ างพระพทุ ธศาสนา เป็นตน้

หลกั การอา่ นรอ้ ยแกว้ มีดงั นี้

1.อ่านให้น่าฟัง ผู้อ่านจะต้องลองซ้อมอ่านโดยอ่านในใจคร้ังหนึ่งก่อน เพื่อให้รู้เรื่องราวท่ีอ่านสามารถเข้าใจ
บทอ่านอยา่ งถกู ตอ้ ง เพ่อื จะได้ ถ่ายทอดเรื่องราวท่ีอ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพจะต้องเข้าใจความหมายของคา
ถ้อยคาสานวนท่ีอ่านเข้าใจความคิดสาคัญของเรื่องที่อ่าน จึง จะสามารถเว้นวรรคตอนการอ่านให้ถูกต้องตาม
เรื่องราว สามารถใช้น้าเสียงได้น่าฟัง มีการเน้นถ้อยคาอย่างถูกต้องสัมพันธ์กับเน้ือเรื่อง และ อ่านได้อย่าง
คลอ่ งแคลว่ ราบรนื่ ไม่ตะกุกตะกกั

2.อ่านใหถ้ กู ต้องตามอักขรวธิ หี รืออ่านใหถ้ ูกต้องตามความนิยม การอ่านเป็นเรื่องของทักษะซ่ึงจะต้องมีการ
ฝึกฝนการอ่านอยู่เสมอ โดยอ่าน ให้ถูกต้องตามอักขรวิธี คาบางคาอ่านตามความนิยม ผู้อ่านจะต้องทราบ
หลักเกณฑ์ต่าง ๆ ในการอ่านคาต้องหมั่นสังเกตการอ่านของผู้อื่น คาใดควรอ่านอย่างไร ถ้าไม่แน่ใจควรใช้
พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถานช่วยตัดสนิ การอ่าน

3.อ่านให้ชัดเจน ได้แก่ อ่านออกเสียง พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ อย่างถูกต้อง เช่น การอ่านออกเสียง
ร –ล หรอื คาควบกล้าชดั เจน การ อ่านไมช่ ัดเจน นอกจากจะแสดงใหเ้ หน็ วา่ ผู้อา่ นขาดความระมัดระวัง แล้วยัง
ขาดการศกึ ษาอกี ด้วย

4.อา่ นมจี งั หวะแบ่งวรรคตอนให้ถูกต้อง ภาษาไทยจะต้องเว้นวรรคตอนให้ถูกท่ี ผู้อ่านต้องอ่านเร่ืองน้ัน ๆ ให้
เข้าใจเสียก่อน เพ่ือจะได้แบ่ง วรรคตอนได้ถูกต้อง ฝึกการอ่านให้มีวรรคตอน ผู้อ่านอาจทาเครื่องหมาย / คั่น
ข้อความท่ีเว้นวรรค ถ้าผอู้ า่ นอ่านผิดวรรคตอนย่อมทาให้ ความหมายผดิ ไปดว้ ย เชน่ “ ห้ามผู้หญิงนุ่งกางเกงใน
เวลาทางาน” มีความหมายว่า —ในเวลาทางานห้ามผู้หญิงนุ่งกางเกงมาทางาน ถ้าเว้นวรรคตอนการอ่านผิด
เป็นดังน้ี

“ ห้ามผหู้ ญงิ นุ่งกางเกงใน / เวลาทางาน” ความหมายจะเปลี่ยนไป

5.อ่านให้คล่องแคล่ว ต้องอาศัยการฝึกฝนอยู่เสมอ ไม่อ่านตะกุกตะกัก อ่านให้ต่อเน่ืองกัน การอ่านให้
คลอ่ งแคล่วจะตอ้ งรู้จักกวาดสายตาใน การอา่ น ดังนี้

5.1การจบั สายตาที่ตวั อักษร สายตาจะต้องเคลือ่ นไปบนตวั อักษรบนบรรทัดจากซ้ายไปขวา โดยจับสายตาไป
ทลี ะจดุ จดุ ละ ๔ - ๕ คา เป็น ระยะ ๆ ดงั น้ี x…….x…….x…….x…….x…….x…….x…….x

5.2ช่วงสายตา หมายถงึ จานวนคาทส่ี ายตากวาดไปบนตวั หนงั สอื ทลี ะจุด ควรเปน็ ๔-๕ คา

5.3การอ่านยอ้ นกลบั บางคนอา่ นแลว้ ตอ้ งอา่ นยอ้ นกลับเพื่อให้เกิดความเข้าใจ การอ่านย้อนกลับทาให้อ่านได้
ชา้

ตวั อยา่ งการอา่ นออกเสยี งร้อยแก้ว

ในทีส่ ุด / เสียงทุกอย่างก็หมดไป / คงเหลือแต่เสียงลม / เสียงฝน / และเสียงกระแสน้ากระทบผ่านต้น
อ้อ / ต้นแขม / และราก ลาพูท่ีริมตล่ิง / ธรรมชาติยังคงสาแดงอานาจอันมหึมา / โดยปราศจากการรบกวน
จากมนุษย์

6. ต้องมสี มาธใิ นการอา่ น คือ ตอ้ งมีความมัน่ ใจตวั เอง ไมอ่ า่ นผดิ อ่านตก อา่ น
เติม หรืออา่ นผดิ บรรทัด ต้องควบคุมสายตาจากซา้ ยไปขวาและยอ้ ยกลบั มาอกี บรรทัดหนงึ่
อย่างว่องไวและแมน่ ยา

7. อา่ นอยา่ งมีลีลาและอารมณต์ ามเน้อื เรอ่ื งท่ีอา่ น คือ เนน้ คาสาคญั และคาทีต่ ้องการ
เพ่ือให้เกิดภาพพจน์หรือจนิ ตนาการ การเน้นควรเนน้ เฉพาะคาไมใ่ ชเ่ น้นท้งั วรรคหรอื เนน้ ท้ัง
ประโยค เช่น “แม่ คอื ผใู้ หก้ าเนดิ และผูม้ ีพระคุณต่อเรา” เน้นคาว่า “แม่” เป็นตน้

8. ศกึ ษาเรอื่ งท่ีอา่ นใหเ้ ขา้ ใจ เพื่อใหท้ ราบถึงสาระสาคญั ของเร่อื ง อารมณ์และความรู้สกึ
ทีผ่ ้เู ขียนตั้งใจจะสอื่ ให้ผอู้ ่านทราบ แล้วแบง่ วรรคตอนในการอ่านให้ถกู ต้องว่าตอนใดควร
เว้นวรรคน้อย ตอนใดควรเวน้ วรรคมาก

9. การผ่อนลมหายใจ เมอ่ื อา่ นจบย่อหนา้ หนึง่ ๆ ควรผ่อนลมหายใจเล็กน้อย เมอื่ อ่านย่อ
หน้าใหมจ่ ึงเนน้ เสียงหรือทอดเสยี ง เพ่ือดงึ ดดู ความสนใจ จากน้นั ก็อ่านตามปกติตาม
เน้อื หาท่ีอ่าน

10. การจับหนังสือ ควรวางหนังสอื หรือบทอา่ นบนฝ่ามือซ้าย ยกขึน้ ให้ไดร้ ะดบั ตามความ
เหมาะสม มือขวาคอยพลิกหนงั สือหนา้ ถัดไปไมค่ วรใช้น้วิ ชี้ตามตัวหนังสือ

งานเขยี นรอ้ ยกรอง



Click to View FlipBook Version