The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลSDG4 จังหวัดน่าน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by podchanun36, 2022-08-15 22:51:23

รายงานผลSDG4 จังหวัดน่าน

รายงานผลSDG4 จังหวัดน่าน

รายงาน

ผลการดำเนินงานขับเคลื่อนเป้าหมาย
การพั ฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา(SDG4)
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จังหวัดน่าน




สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดน่าน
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

หนา ก

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

**********************

การดาํ เนินการขบั เคลอ่ื นเปา หมายเปาหมายการพฒั นาท่ียงั่ ยนื ดา นการศึกษา ของจงั หวดั นาน

การเชื่อมโยงเปาหมายการพัฒนาทยี่ ่ังยนื กับเปาหมายแผนแมบทภายใตย ทุ ธศาสตรชาติ
กระทรวงศึกษาธิการไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบเปาประสงคที่ 4 สรางหลักประกัน วาทุกคนมี

การศกึ ษาท่มี ีคุณภาพอยา งครอบคลุมและเทาเทียมและสนับสนุนโอกาสในการเรียนรูตลอดชีวิต (Ensure inclusive
and equitable quality education and promote lifelong learning opportunities for all) ซงึ่ มีทงั้ หมด 10 เปา ประสงค ดงั นี้

4.1 สรางหลกั ประกันวาเด็กหญิงและเด็กชายทุกคนสําเร็จการศกึ ษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาที่มี
คุณภาพเทาเทียมและไมมคี า ใชจาย นาํ ไปสผู ลลัพธทางการเรยี นทม่ี ีประสิทธผิ ลภายในป 2573

4.2 สรางหลักประกันวาเด็กหญิงและเดก็ ชายทุกคนเขาถึงการพัฒนา การดูแล และการจัดการศึกษาระดับ
กอนประถมศึกษาสาํ หรับเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพ ภายในป 2573 เพื่อใหเดก็ เหลาน้ันมีความพรอมสําหรับการศึกษา
ระดับประถมศึกษา

4.3 สรางหลักประกันวาเด็กหญิงและเด็กชายทุกคนเขาถึงการศึกษาระดับอาชีวศึกษาอุดมศึกษา รวมถึง
มหาวิทยาลยั ท่มี ีคณุ ภาพในราคาทสี่ ามารถจายได ภายในป 2573

4.4 เพิ่มจํานวนเยาวชนและผูใหญท ่ีมีทักษะทเ่ี ก่ียวของ รวมถึงทักษะทางดานเทคนิค และอาชีพสําหรับการ
จางงานการมีงานทม่ี ีคุณคา และการเปนผูประกอบการ ภายในป 2573

4.5 ขจัดความเหล่ือมลํ้าทางเพศในการศึกษา และสรางหลักประกันวากลุมท่ีเปราะบาง ซึ่งรวมถึงผูพิการ
ชนพื้นเมอื งและเด็กเขา ถงึ การศึกษาและการฝกอาชพี ทุกระดับอยา งเทาเทียม ภายในป 2573

4.6 สรางหลักประกันวาเยาวชนทกุ คนและผูใ หญใ นสัดสวนสูง ทั้งหญิงและชายสามารถอานออกเขียนไดและ
คาํ นวณได ภายในป 2573

4.7 สรางหลักประกันวาผูเรียนทกุ คนไดรับความรแู ละทักษะท่ีจําเปนสําหรับสงเสริมการพัฒนาอยางย่ังยืน
รวมไปถงึ การศึกษาสําหรับการพัฒนาอยา งย่ังยืนและการมีวิถีชีวิตท่ีย่ังยืน สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาคระหวางเพศ การสงเสริม
วัฒนธรรมแหงความสงบสุขและไมใชความรุนแรง การเปนพลเมืองของโลกและความนิยมในความหลากหลายทาง
วฒั นธรรมและการมีสว นรว มของวัฒนธรรมตอ การพฒั นาท่ียั่งยนื ภายในป 2573

4.A สรางและยกระดบั อุปกรณแ ละเคร่ืองมือทางการศึกษาที่ออนไหวตอเด็กผูพิการ และเพศภาวะและใหมี
สภาพแวดลอ มทางการเรียนรูท ป่ี ลอดภยั ปราศจากความรุนแรง ครอบคลุมและมปี ระสิทธิผลสาํ หรับทกุ คน

4.B ขยายจํานวนทุนการศึกษาในทั่วโลกทใี่ หสําหรับประเทศกําลังพัฒนาโดยเฉพาะประเทศพัฒนานอยที่สุด
รัฐกําลังพัฒนาท่ีเปนเกาะขนาดเล็กและประเทศในแอฟริกาในการสมัครเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา รวมถึงการ
ฝก อาชีพและโปรแกรมดานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร ดานเทคนิค วิศวกรรม และวิทยาศาสตร ในประเทศ
พฒั นาแลวและประเทศกาํ ลังพัฒนาอ่ืน ๆ ภายในป 2573

4.C เพมิ่ จํานวนครทู ีม่ คี ุณภาพ รวมถงึ การดําเนินการผา นทางความรว มมอื ระหวา งประเทศในการฝกอบรมครู
ในประเทศกําลังพฒั นา โดยเฉพาะอยางย่งิ ในประเทศพัฒนานอยท่ีสุดและรัฐกําลังพัฒนาที่เปนเกาะขนาดเล็ก ภายใน
ป 2573

หนา ข

กรอบแนวทางและกลไกการดําเนินงานขบั เคลอ่ื นเปาหมายการพฒั นาทย่ี ั่งยืนดานการศึกษาไปสูการ
ปฏิบัติใหบรรลุเปาหมายท่ีกําหนดไว ตองอาศัยกลไกและความรวมมือจากหนวยงานหรือภาคีเครือขายท่ีเก่ียวของ
ทั้งในสวนกลาง และในระดับพน้ื ทร่ี วมกันดําเนนิ งานอยา งจริงจัง ตอเน่ือง ดังนั้น กรอบแนวคดิ ในการกําหนดขอบเขต
และแนวปฏิบตั ใิ นการดาํ เนนิ งานโครงการฯ คอื ยดึ เปา หมาย SDG4 เปน เปาหมายหลักเปา หมายเดียวแตแนวทางการ
ปฏิบตั หิ รือกิจกรรมท่จี ะดําเนนิ การ สามารถดําเนนิ การไดห ลากหลายแนวทาง โดยคาํ นงึ ถึงความสอดคลอง เหมาะสม
กับสถานภาพ สถานการณ และความตองการหรอื ความจําเปน รวมถึงสภาพแวดลอมในแตละพื้นท่ี เนน การถายทอด
เปาหมายการดําเนินงานจากภาพรวม (สวนกลาง) ไปสูเปาหมายการดําเนินงานในระดับพื้นพื้นที่ภาคและจังหวัด
ดังน้ัน ขอบเขตการดําเนินงานที่เปนกิจกรรมหลักภายใตโครงการฯ จึงมีกิจกรรมการดําเนินงานที่เหมือนกัน แตมี
ความแตกตา งกันในสวนของขอบเขตและระดบั ความรับผดิ ชอบทม่ี ีผลการดาํ เนินงานที่สอดคลอง เชื่อมโยง และสงผล
กระทบตอ กันโดยตรง ไดแก ระดบั กําหนดนโยบาย หนวยงานรับผดิ ชอบและประสานงานหลกั คือ สํานักนโยบายและ
ยุทธศาสตร สป. ศนู ยเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร สป. สํานักความสมั พันธตางประเทศ สป. และระดับพ้ืนท่ี
หนว ยงานรับผิดชอบและประสานงานหลกั คอื สํานักงานศกึ ษาธิการภาคและสํานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัด โดยกรอบ
แนวทางหรอื กิจกรรมหลักที่สาํ นักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั นา นไดดําเนินการ มดี งั นี้

1. การประชุม ชี้แจง สรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับกรอบแนวทางและเปาหมายการขับเคลื่อนเปาหมาย
การพัฒนาทย่ี ั่งยืนดานการศกึ ษา และแผนที่นําทางฯ (SDG4 Roadmap) ไปสูการปฏิบตั ิ ใหถูกตอง ตรงกันรวมท้ัง
ระดมความคิดเห็น เพื่อกําหนดแนวทางการดําเนินงานและบูรณาการการทํางานรวมกัน มีคณะทํางานระดับพื้นท่ี
ตามคําส่ังสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ แตงตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนดานการศึกษา
ท่ี 2/ 2565 เรอื่ ง แตง ตง้ั คณะทาํ งานขับเคลือ่ นเปาหมายการพฒั นาทย่ี ั่งยืนดานการศกึ ษาระดับจังหวัดนาน ณ วันที่ 31
พฤษภาคม 2565 เพ่ือขับเคลื่อนเปาหมายของสหประชาชาติวาดวยการพัฒนาทย่ี ั่งยืนดา นการศึกษาSDG4 ในระดับ
พน้ื ที่ ชแ้ี จง กาํ หนดแนวทางและกรอบการดาํ เนินงานในระดบั พื้นท่จี ังหวัดนานรว มกัน

2. การจัดทําแผนปฏิบตั ิการขับเคลื่อนแผนท่ีนําทางฯ หรอื ทบทวน ปรบั ปรงุ แผนท่ีนําทางฯ ใหสอดคลองกับ
ความเปลี่ยนแปลงของสถานการณ ความตองการ/ความจําเปน และบริบทท่ีเกี่ยวของ จังหวัดนานมีแผนการ
ขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยืน เปา หมายที่ 4 SDG4 Roadmap 2565 จงั หวัดนา น

3. การกํากับ ติดตาม และประเมินผลการดาํ เนินงาน รวมถึงปญหาอุปสรรค และแนวทางในการแกไขปญหา
หรือพัฒนาการจัดการศึกษาใหบรรลุเปาหมายที่กําหนด มีคําส่ังแตงต้ังคณะทํางานระดับพื้นท่ี คําส่ังสํานักงาน
ศึกษาธิการจังหวัดนาน ที่ 125/2565 เร่อื ง แตง ต้ังคณะทํางานจัดทําฐานขอมูลและระบบติดตามประเมินผลระดับ
พน้ื ท่เี พอ่ื สนบั สนุน การขับเคลื่อนเปาหมาย ของสหประชาชาตวิ า ดว ยการพฒั นาที่ย่ังยนื ดานการศึกษา SDG 4

4.การจัดเก็บขอมูลและจัดทําฐานขอมูล เพ่ือใชในการติดตามและรายงานผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด
เปาหมายการพัฒนาท่ยี ่งั ยนื รวมถึง การพัฒนาวธิ กี ารจัดเกบ็ ขอ มลู ตามตัวชวี้ ัดที่ยงั ไมมขี อมูลพืน้ ฐาน

5. การจัดทํารายงานผลผลการดําเนินงานขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4)
ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่อเสนอคณะกรรมการฯ หรอื คณะทํางานฯ รับทราบและนําไปใชเปนขอมูลประกอบการ
กําหนดแนวทางการดําเนนิ งานในระยะตอไป รวมถึง รายงานผลการดําเนินงานตอคณะกรรมการฯ และ หนวยงาน
ตน สังกดั

หนา ค
ความกา วหนา การดําเนนิ งานขบั เคล่อื นเปา หมายการพฒั นาท่ีย่งั ยืนดานการศกึ ษา (SDG4)
ผลการดาํ เนนิ งานขับเคล่ือนเปา หมายการพัฒนาทย่ี ่งั ยนื ดา นการศกึ ษา (SDG4) รายเปา หมายยอย ของจังหวดั นาน
จาํ นวน 6 เปา หมาย ดังน้ี
1) เปาหมายยอย SDG 4.1 สรางหลักประกันวาเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนสําเร็จการศกึ ษาระดับประถมศึกษา
และมัธยมศึกษาท่ีมีคุณภาพเทาเทียมและไมมีคาใชจายนําไปสูผลลัพธทางการเรียนที่มีประสิทธิผลภายในป พ.ศ.
2573

-การดาํ เนินงานที่สนับสนนุ การจัดการเรยี นรทู ้งั ระบบสกู ารยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นและการ
เตรียมผเู รียนใหส อดคลองกบั ทศวรรษที่ 21

2) เปาหมายยอย SDG 4.2 สรา งหลักประกันวาเดก็ ชายและเด็กหญิงทกุ คนเขาถึงการพัฒนาการดูแลและ
การจดั การศึกษาระดบั กอ นประถมศกึ ษาสาํ หรบั เดก็ ปฐมวัยที่มีคุณภาพภายในป 2573

-การดําเนนิ งานท่ีสนับสนุนการพัฒนาทกั ษะ EF ในเด็กปฐมวัย
3) เปาหมายยอย SDG 4.3 ใหชายและหญงิ ทุกคนเขาถึงการศึกษาวิชาเทคนิคอาชีวศึกษาอุดมศึกษารวมถึง
มหาวทิ ยาลัยทีม่ ีราคาทีส่ ามารถจา ยไดและมคี ุณภาพภายในป 2573

-การดําเนนิ งานท่ีสนบั สนนุ เสรมิ สรางศักยภาพความเขมแขง็ ของเครือขา ยความรว มมือแบบบูรณาการ
4) เปา หมายยอ ย SDG 4.4 เพ่ิมจํานวนเยาวชนและผูใ หญทม่ี ที ักษะทจี่ ําเปน รวมถึงทักษะทางเทคนคิ และ
อาชีพสําหรับการจางงานการมงี านท่ดี แี ละการเปน ผูประกอบการภายในป 2573

-การดําเนินงานทส่ี นบั สนนุ สง เสรมิ และพฒั นาทักษะอาชีพเพ่อื เปนผูป ระกอบการ
5) เปาหมายยอย SDG4.5 ขจัดความเหล่ีอมล้ําทางเพศในการศึกษาและสรางหลักประกันวากลุมที่
เปราะบาง ซึ่งรวมถึงผูพิการชนพ้ืนเมืองและเด็กเขาถึงการศึกษาและการฝกอาชีพทุกระดับอยางเทาเทียมภายในป
2573

-การดาํ เนนิ งานท่ีสนบั สนนุ การสรา งระบบการตดิ ตามประชากรวัยเรียนท่ขี าดโอกาสทางการศกึ ษา
ทุกระดับในพน้ื ท่จี งั หวัดนา น

6) เปา หมายยอย SDG 4.7 สรา งหลกั ประกันวาผเู รียนทุกคนไดรบั ความรแู ละทกั ษะทีจ่ ําเปน สําหรับสง เสริม
การพฒั นาอยา งยั่งยืนรวมไปถึงการศกึ ษาสําหรบั การพฒั นาอยา งยง่ั ยืนและการมวี ิถีชีวติ ท่ยี ั่งยืนสทิ ธิมนุษยชนความ
เสมอภาคระหวางเพศการสง เสรมิ วัฒนธรรมแหง ความสงบสุขและไมใชความรนุ แรงการเปน พลเมอื งของโลกและความ
นิยมในความหลากหลายทางวัฒนธรรมและในสว นรวมของวัฒนธรรมตอ การพัฒนาทย่ี ่งั ยนื ภายในป 2573

-การดาํ เนินงานท่ีสนบั สนุนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการจัดการเรยี นรสู ูความเปนพลเมืองและ
พลโลกตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งเพ่อื การพฒั นาทีย่ ง่ั ยืน

หนา ง

คํานาํ

สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ไดม ีการดําเนนิ โครงการจัดทําฐานขอมูลและระบบติดตาม
ประเมินผลระดับพ้ืนท่ีเพื่อสนับสนุน การขับเคลื่อนเปาหมายของสหประชาชาติวาดวยการพัฒนาที่ยั่งยืนดาน
การศกึ ษา SDG4 ปง บประมาณ พ.ศ. 2565 เพอ่ื วเิ คราะหขอมูลผลการดาํ เนินงาน ปญหาอุปสรรค ประเด็นทาทาย
และประเด็นขอเสนอแนะจากผลการดําเนินงานในป พ.ศ. 2565 มาพิจารณากําหนดกรอบแนวทางและเปาหมาย
การดําเนินงานใหบรรลุเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนดานการศึกษาในปถัดไปและรายงานความกาวหนา
การดาํ เนนิ งานขบั เคลอื่ นเปา หมายการพัฒนาท่ียัง่ ยนื ดา นการศกึ ษา ป 2565 ตอ คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาทยี่ ง่ั ยืน

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน จึงไดจัดทาํ รายงานผลการดําเนนิ งานขับเคลื่อนเปาหมายการ
พัฒนาท่ีย่ังยืนดานการศึกษา (SDG 4) ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ข้ึน เพื่อรายงานผลการดําเนินงานโครงการ/
กิจกรรมและขอ มลู ทีส่ นบั สนนุ การขับเคลือ่ นเปา หมายของสหประชาชาติ วาดวยการพัฒนาทีย่ ั่งยืนดานการศึกษา
SDG4 ในพ้นื ทจ่ี ังหวัดนาน รายงานตอ หนว ยงานตน สงั กดั และเผยแพรประชาสัมพันธผลการดําเนินงานตอผูมีสวน
เก่ยี วขอ ง และสาธารณชน

สํานักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดนา น
สงิ หาคม 2565

สารบัญ

เนอ้ื หา หนา
ก-ค
บทสรุปผบู ริหาร ง
คาํ นํา 1-6
สว นท่ี 1
7-9
บทนาํ
สวนท่ี 2 10 - 17

การดาํ เนนิ งานขบั เคลื่อนเปาหมายการพฒั นาทย่ี ั่งยนื ดานการศกึ ษา (SDG4) 18 - 19
สูการปฏิบตั ปิ ระจําปง บประมาณ พ.ศ. 2565
สวนท่ี 3
ความกาวหนาการดาํ เนนิ งานขับเคลือ่ นเปาหมายการพฒั นาท่ยี ง่ั ยนื
ดานการศึกษา (SDG4)
สว นที่ 4
บทสรุปผลการดาํ เนนิ งาน ความทา ทาย และขอ เสนอแนะ
การดาํ เนินงานระยะตอ ไป
ภาคผนวก

สวนท่ี 1
บทนํา

1.1 เกร่ินนํา
ตามมตคิ ณะกรรมการเพ่อื การพฒั นาท่ียงั่ ยืน (กพย.) ในคราวประชุมครั้งที่ 1/2562 เมื่อวันท่ี 19 ธันวาคม

2562 เห็นชอบในหลักการรางแผนการขับเคล่อื นเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนสําหรับประเทศไทย (Thailand’s SDG
Roadmap) เพื่อใชเปนกรอบแนวทางในการดําเนินงานเพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานใหเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน
ซึ่งแผนการขบั เคลอื่ นฯ ครอบคลมุ การดําเนนิ การหลกั ใน 6 ดาน ดงั นี้

1) การสรางการตระหนักรูดําเนินการใหทุกภาคสวนมีความรูและความเขาใจในเปาหมายการ
พัฒนาท่ียั่งยืน โดยมีการดําเนินการทั้งในระดับประเทศ และระดับทองถ่ิน เพ่ือใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการ
ขับเคล่ือนประเทศสคู วามยัง่ ยนื

2) การเชื่อมโยงเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนกับแผน 3 ระดับของประเทศขับเคล่ือนการพัฒนา
ประเทศตามกรอบยุทธศาสตรช าติ แผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรชาติ และแผนระดับอื่น ๆ ซง่ึ สอดคลองกับเปาหมายการ
พฒั นาทยี่ ่ังยนื สรางประเทศใหม่ันคง โดยไมท ้งิ ใครไวข างหลงั

3) กลไกการขบั เคล่อื นการพัฒนาทีย่ ั่งยืนมคี ณะกรรมการเพ่อื การพฒั นาที่ย่งั ยนื เปนกลไกสนบั สนุน
การขับเคล่อื นในระดบั นโยบาย และหนว ยงานภาครัฐบรู ณาการรว มกับทุกภาคสวนของสังคม เพื่อนาํ ไปสูการปฏิบัติท่ี
เปนรปู ธรรม

4) การดําเนินงานเพื่อบรรลุเปาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน ดําเนินงานโดยยึดหลักความสัมพันธ
เชิงเหตุและผล เพ่ือจัดทําแผนงาน/โครงการท่ีสําคัญตอการบรรลุเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและยุทธศาสตรชาติ
รวมทงั้ ขยายผลสกู ารขับเคลอ่ื นเปาหมายการพฒั นาที่ยัง่ ยนื ในระดบั พื้นท่ี (SDG Localization)

5) ภาคกี ารพฒั นาสนบั สนุนความรวมมือกบั ทกุ ภาคสวน ทง้ั ในประเทศและภาคีการพัฒนาระหวาง
ประเทศ เพื่อรวมขับเคล่อื นประเทศไทยใหบรรลุเปา หมายการพฒั นาท่ยี ง่ั ยืน

6) การติดตามประเมินผลการขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนติดตามและประเมินผล
การขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนดวยระบบฐานขอมูลกลางท่ีมีการรายงานความกาวหนาจากหนวยงาน
ท่เี ก่ยี วของอยางสมํา่ เสมอ

ในการขบั เคลอื่ นเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนสูการปฏิบตั ิของประเทศไทยสํานักงานสภาพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ในฐานะเลขานุการ กพย. ไดจัดประชุมช้ีแจงสรางความรูความเขาใจกับหนวยงาน
ที่เกี่ยวของเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2563 มีวัตถุประสงคเ พื่อทําความเขาใจในเร่ืองการขับเคลื่อน SDGs ระหวาง
หนวยงานรับผิดชอบและประสานงานหลักรายเปาหมายหลัก (Goals) และเปาหมายยอย (Targets) กําหนดแนวทาง
การขับเคล่ือน SDGs รวมกันในระยะ 10 ปขางหนารวมถึงรับทราบแนวทางการจัดทํา Roadmap รายเปาหมายหลักและ
การกําหนดคาเปาหมาย/หมุดหมายรายเปาหมายยอยโดยการจัดทํา Roadmap เพื่อการดําเนินการขับเคล่ือน
เปาหมายการพฒั นาท่ียง่ั ยนื โดยในระดบั เปาหมายหลกั (Goal) กาํ หนดใหเจาภาพรายเปาหมายหลักเปน ผูดําเนินการ ใน
การจัดทํา Roadmap ใหประสานหนวยงานรับผิดชอบรายเปาหมายยอยเพื่อพิจารณากําหนดคาเปาหมาย
และหมดุ หมาย (milestone) ใหสอดคลองกับ SDGs และเปาหมายของยุทธศาสตรช าตแิ ละแผนอื่นๆท่ีเกี่ยวของ
รวมทั้งกาํ หนดตวั ช้ีวดั ท่ีเหมาะสมโดยพจิ ารณาจากตวั ชี้วดั ท่ีสหประชาชาติกําหนดเปน หลกั (global SDG indicators)
และอาจเสนอตวั ชีว้ ัดทดแทน (proxy indicators) และตวั ช้วี ัดเพิ่มเติม (additional indicators) เพ่ือใหการ

รายงานผลการขับเคล่อื น SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 จังหวัดนาน  หนา 2

ขับเคล่ือน SDGs สอดคลองกับบริบทของประเทศตลอดจนประสานหนวยงานที่เก่ียวของในการพัฒนาและจัดเก็บ
ขอ มูลตวั ชีว้ ดั เพ่ือระบแุ หลง ขอมูล (sources) และผูป ระสานงาน (focal point) ดว ย

กระทรวงศึกษาธิการไดร ับมอบหมายใหเปนหนว ยงานรบั ผดิ ชอบและประสานงานหลกั เปาหมายหลักท่ี 4
“สรางหลักประกันวา ทุกคนมีการศึกษาท่ีมีคุณภาพอยางครอบคลุมและเทาเทียมและสนับสนุนโอกาสในการเรียนรู
ตลอดชีวิต”ซ่ึงในการดําเนินงานกระทรวงศึกษาธิการ โดยสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการไดดําเนินการแตงต้ัง
คณะกรรมการขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนดานการศึกษา รับผิดชอบการดําเนินงานขับเคล่ือนเปาหมาย
การพัฒนาท่ยี ่ังยืนดานการศึกษาในภาพรวม และแตงตั้งคณะทํางานจัดทําแผนที่นําทาง (Roadmap) การขับเคล่ือน
เปาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนดานการศึกษา รับผิดชอบจัดทําแผนที่นําทางขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน
ดานการศึกษา (SDG4 Roadmap) ท่ีสอดคลองกับ Thailand’s SDG Roadmapเพ่ือใชเปนกรอบแนวทางในการ
ดําเนินงาน สําหรับในการดําเนินงานเพื่อขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนดานการศึกษาลงสูการปฏิบัติ
ในระดบั พ้ืนที่ กระทรวงศึกษาธิการโดยคณะกรรมการขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนดานการศึกษา เห็นชอบใหมีการ
แตงต้ังคณะทํางานขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนดานการศึกษา ระดับภาค/กลุมจังหวัด และระดับจังหวัด
และใหมีการจัดทําแผนที่นําทางขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนดานการศึกษา (SDG4 Roadmap) ระดับภาค/
กลมุ จงั หวัด และระดับจงั หวดั เพอ่ื ใชเปน กรอบแนวทางในการดําเนินงาน

ดังน้ัน ในการดําเนินงานเพ่ือขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยงั่ ยนื ดานการศึกษา (เปาหมายหลักที่ 4)
ไปสูการปฏบิ ัติ กระทรวงศึกษาธกิ ารกําหนดกรอบแนวทาง และกลไกขับเคลอื่ นการดําเนนิ งาน ดังน้ี

1. กรอบแนวทางและเปา หมายการดาํ เนินงาน
1.1 การดําเนินงานภาพรวม ไดแก แผนที่นําทางขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน

ดา นการศกึ ษา
1.2 การดําเนินงานในพ้ืนท่ีระดับภาค ไดแก แผนท่ีนําทางขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนา

ท่ียง่ั ยืนดา นการศกึ ษา ระดับภาค/กลุมจังหวัด
1.3 การดําเนินงานในพ้ืนท่ีระดับจังหวัด ไดแก แผนท่ีนําทางขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนา

ทีย่ ง่ั ยืนดา นการศึกษา ระดับจังหวดั
2. กลไกการดําเนินงาน แบงเปน
2.1 การดําเนินงานภาพรวม ไดแก คณะกรรมการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน

ดา นการศึกษาโดยมสี ํานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ เปนหนว ยงานรบั ผิดชอบและประสานงานหลัก
2.2 การดาํ เนนิ งานในพ้นื ทรี่ ะดับภาค ไดแก คณะทํางานขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

ดานการศึกษา ระดับภาค/กลุมจังหวัดโดยมีสํานักงานศึกษาธิการภาค 18 ภาค เปนหนวยงานรับผิดชอบ
และประสานงานหลกั

2.3 การดําเนินงานในพ้ืนที่ระดับจังหวัด ไดแก คณะทํางานขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนา
ที่ยั่งยืนดานการศึกษา ระดับจังหวัดโดยมีสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด 77 จังหวัด เปนหนวยงานรับผิดชอบ
และประสานงานหลกั

จากกรอบแนวทางและกลไกการดําเนินงานขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา
ไปสูการปฏิบัติใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว ตองอาศัยกลไกและความรวมมือจากหนวยงานหรือภาคีเครือขาย
ที่เกี่ยวของทั้งในสวนกลาง และในระดับพ้ืนที่รวมกันดําเนินงานอยางจริงจัง ตอเนื่อง ดังน้ัน กรอบแนวคิดในการ

รายงานผลการขบั เคลือ่ น SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 จงั หวดั นา น  หนา 3

กําหนดขอบเขตและแนวปฏิบัติในการดําเนินงานโครงการฯ คือ ยึดเปาหมาย SDG4 เปนเปาหมายหลักเปาหมายเดียว
แตแนวทางการปฏบิ ตั ิหรือกิจกรรมทจี่ ะดําเนินการ สามารถดําเนินการไดหลากหลายแนวทาง โดยคํานึงถึงความสอดคลอง
เหมาะสมกับสถานภาพ สถานการณ และความตองการหรือความจําเปน รวมถึงสภาพแวดลอมในแตละพ้ืนที่
เนน การถายทอดเปา หมายการดาํ เนินงานจากภาพรวม (สว นกลาง) ไปสูเ ปา หมายการดําเนนิ งานในระดบั พ้ืนพ้ืนที่ภาค
และจังหวัด ดังนั้น ขอบเขตการดําเนินงานที่เปนกิจกรรมหลักภายใตโครงการฯ จึงมีกิจกรรมการดําเนินงาน
ที่เหมือนกัน แตมีความแตกตางกันในสวนของขอบเขตและระดบั ความรับผิดชอบที่มีผลการดาํ เนินงานท่ีสอดคลอง
เช่ือมโยง และสงผลกระทบตอกันโดยตรง ไดแก ระดับกําหนดนโยบาย หนวยงานรับผิดชอบและประสานงานหลัก
คือ สํานักนโยบายและยทุ ธศาสตร สป. ศนู ยเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร สป. สํานักความสัมพันธตางประเทศ สป.
และระดับพืน้ ที่ หนว ยงานรับผิดชอบและประสานงานหลัก คือ สํานกั งานศึกษาธิการภาคและสํานักงานศกึ ษาธิการจังหวดั
โดยกรอบแนวทางหรือกจิ กรรมหลกั ทจี่ ะดําเนินการ มดี ังนี้

1. การประชุม ชี้แจง สรา งความรูความเขาใจเกี่ยวกับกรอบแนวทางและเปาหมายการขับเคลื่อน
เปาหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืนดา นการศกึ ษา และแผนท่ีนําทางฯ (SDG4 Roadmap) ไปสูการปฏิบัติ ใหถูกตอง ตรงกัน
รวมทงั้ ระดมความคดิ เห็น เพอ่ื กาํ หนดแนวทางการดาํ เนินงานและบูรณาการการทํางานรวมกัน

2. การจัดทําแผนปฏิบัติการขับเคล่ือนแผนที่นําทางฯ หรือทบทวน ปรับปรุงแผนท่ีนําทางฯ
ใหสอดคลอ งกบั ความเปลย่ี นแปลงของสถานการณ ความตองการ/ความจาํ เปน และบริบททเี่ กี่ยวขอ ง

3. การกํากับ ตดิ ตาม และประเมินผลการดําเนินงาน รวมถึงปญหาอุปสรรค และแนวทางในการ
แกไขปญหาหรือพฒั นาการจดั การศึกษาใหบรรลุเปาหมายทกี่ าํ หนด

4. การจัดเก็บขอมูลและจัดทําฐานขอมูล เพ่ือใชในการติดตามและรายงานผลการดําเนินงาน
ตามตวั ช้ีวดั เปาหมายการพัฒนาทย่ี ่ังยืน รวมถงึ การพฒั นาวิธกี ารจัดเก็บขอ มูลตามตวั ชว้ี ัดที่ยังไมมีขอมลู พ้นื ฐาน

5. การจัดทํารายงานผลการดําเนินงานฯ เพ่ือเสนอคณะกรรมการฯ หรือคณะทํางานฯ รับทราบ
และนําไปใชเปนขอมูลประกอบการกําหนดแนวทางการดําเนินงานในระยะตอไป รวมถึง รายงานผลการดําเนินงาน
ตอ คณะกรรมการฯ และ กพย. ตามลําดับ

6. การวิเคราะหสรุปผลการดําเนินงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู ระดมความคิดเห็นรวมกัน
เพอ่ื กําหนดกรอบแนวทางการแกไขปญหา หรอื กาํ หนดแนวทางหรอื นวัตกรรมการพัฒนาใหบ รรลเุ ปาหมายในระยะตอ ไป

1.2 วตั ถุประสงค
1) เพื่อนําเสนอขอมูลผลการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานที่เก่ียวของในการ

ขบั เคลื่อนการดาํ เนนิ งานตามเปา หมายการพฒั นาท่ีย่งั ยนื ดา นการศกึ ษา (เปา หมายที่ 4 : SDG4) พ.ศ. 2565
2) เพื่อวเิ คราะหขอ มูลผลการดาํ เนินงาน ปญหาอปุ สรรค ประเด็นทาทายและประเด็นขอ เสนอแนะ

จากผลการดําเนินงานในป พ.ศ. 2565 มาพิจารณากําหนดกรอบแนวทางและเปาหมายการดําเนินงานใหบรรลุ
เปา หมายการพัฒนาที่ยั่งยนื ดา นการศึกษาในปถ ดั ไป

3) เพ่ือรายงานความกาวหนาการดําเนินงานขับเคลอ่ื นเปาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนดานการศึกษา
ป 2565 ตอคณะกรรมการเพือ่ การพฒั นาทยี่ ั่งยืน

1.3 แผนทนี่ ําทางการขับเคลื่อนเปา หมายการพัฒนาทีย่ ั่งยืนดานการศึกษา
แผนที่นําทางการขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4 Roadmap)

มีสาระสําคญั แบงออกเปน 5 สวน ไดแก สวนที่ 1 บทนํา และปจจัยสว นที่ 2 เปาหมายการพัฒนาทยี่ ่ังยืน (SDGs)
กับการพัฒนาประเทศไทยสวนที่ 3 ความสําคัญของเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (เปาหมายหลักที่ 4)สวนที่ 4
สาระสําคญั ของแผนที่นําทางการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาท่ียง่ั ยืนดานการศึกษา (SDG4 Roadmap)และสวนที่ 5

รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปง บประมาณ พ.ศ. 2565 จงั หวัดนา น  หนา 4

การขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน เปาหมายหลักท่ี 4 สูการปฏิบัติ และการติดตามประเมินผลโดยยึด
องคป ระกอบของแผนการขบั เคลอ่ื นเปา หมายการพัฒนาที่ย่ังยืนสําหรับประเทศไทย (Thailand’s SDGs Roadmap)
ตามท่ี กพย. เห็นชอบ นํามาใชเปนกรอบหรือองคประกอบหลักของ SDG4 Roadmapท้ังนี้ สําหรับสาระสําคัญ
ของแผนทนี่ ําทางฯ สวนทีม่ คี วามสําคญั และหนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งสามารถนาํ ไปใชเปนกรอบแนวทางในการดําเนนิ งาน
คือ สวนที่ 4 ที่ไดนําเสนอใหเห็นภาพหวงโซคุณคา (Value Chain) และตัวช้ีวัดและเปาหมายของการดําเนินงาน
รวมถึงกรอบแนวทาง แผนงานหรือโครงการสําคัญในการดําเนินงานเพ่ือขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน
ในแตล ะเปาหมายยอ ยใหบ รรลุเปาหมายท่กี ําหนดไว มรี ายละเอยี ดโดยสรุปดงั น้ี

เปาหมายยอ ย/ตวั ช้วี ดั แหลงขอ มลู หนวยงาน

SDG 4.1 สรางหลักประกนั วาเดก็ ชายและเด็กหญิงทุกคนสําเร็จการศึกษาระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษาทม่ี ีคุณภาพ
เทาเทียมและไมม ีคาใชจา ยนําไปสูผ ลลัพธทางการเรยี นทม่ี ปี ระสทิ ธิผลภายในปพ .ศ. 2573

1) รอยละของเด็กในวัย ป.3 ทีม่ ีทักษะการอานและการคํานวณข้ันพ้ืนฐาน ผลสอบ NT ศธ. (สพฐ.)

2) คะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ัน้ พื้นฐาน ผลสอบ O-NET สทศ.
(O-NET) (1) ภาษาไทย(2) คณติ ศาสตร( 3) วทิ ยาศาสตร ศธ. (ศทก.สป.)
(4) ภาษาตา งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ฐานขอ มลู กลาง
ดา นการศึกษา ศธ.
3)อตั ราการสาํ เรจ็ การศกึ ษาระดบั ประถมศึกษามัธยมศกึ ษาตอนตน
และมัธยมศึกษาตอนปลาย

SDG 4.2 สรางหลักประกนั วา เด็กชายและเด็กหญงิ ทุกคนเขาถึงการพัฒนาการดูแลและการจดั การศึกษาระดบั กอน

ประถมศึกษาสําหรับเด็กปฐมวยั ท่มี ีคุณภาพภายในป 2573

1) รอยละของเด็กอายตุ ่ํากวา 5 ปท ม่ี ีพัฒนาการทางดา นสุขภาพการเรยี นรู ระบบฐานขอมลู สารสนเทศการ พม.

และพฒั นาการทางบุคลกิ ภาพตามวยั จาํ แนกตามเพศ พฒั นาเด็กปฐมวัยตามมาตรฐาน
ชาติ (ดา นคณุ ภาพเดก็ ปฐมวัย)

2) อัตราการเขาเรียนปฐมวยั (อยางนอย 1 ปกอนถึงเกณฑอายุเขาเรยี น ฐานขอ มลู กลาง ศธ. (ศทก.สป.)

ประถมศึกษา) จาํ แนกตามเพศ ดานการศกึ ษา ศธ.

SDG 4.3 ใหชายและหญิงทุกคนเขาถงึ การศกึ ษาวิชาเทคนคิ อาชีวศกึ ษาอุดมศกึ ษารวมถงึ มหาวทิ ยาลัย

ทม่ี รี าคาท่ีสามารถจา ยไดและมีคณุ ภาพภายในป 2573

1) อตั ราการเขา เรยี นระดบั อาชีวศกึ ษา (สัดสวนผูเรยี นระดับมธั ยมศึกษา ฐานขอ มูลกลาง ศธ. (ศทก.สป.)
ตอนปลายสายอาชีวศกึ ษา (ปวช.) : สายสามญั ศกึ ษา) ดา นการศึกษา ศธ.

2) อตั ราการเขาเรยี นตอ ในระดับอุดมศกึ ษา ฐานขอ มูลการศึกษา อว. อว.

SDG 4.4 เพิ่มจํานวนเยาวชนและผใู หญท่ีมที กั ษะท่จี ําเปน รวมถึงทักษะทางเทคนิคและอาชพี สําหรับการจางงานการมงี าน
ทด่ี แี ละการเปนผปู ระกอบการภายในป 2573

1) สดั สว นของเยาวชน/ผูใหญทม่ี ที ักษะทางดานเทคโนโลยสี ารสนเทศ รายงานผลการสาํ รวจขอ มูล สสช.

และการส่ือสาร จาํ แนกตามประเภททักษะ

รายงานผลการขับเคล่ือน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 จังหวดั นา น  หนา 5

เปา หมายยอย/ตัวช้วี ดั แหลง ขอมูล หนวยงาน

SDG4.5 ขจัดความเหลี่อมล้ําทางเพศในการศึกษาและสรางหลกั ประกันวากลมุ ที่เปราะบางซึ่งรวมถงึ ผพู ิการ
ชนพื้นเมอื งและเด็กเขาถงึ การศึกษาและการฝกอาชีพทกุ ระดับอยางเทาเทียมภายในป 2573

1) ดชั นีความเทาเทียมทางเพศ จําแนกตามระดับการศึกษา (ปฐมวัย ฐานขอ มูลกลาง ศธ. (ศทก.สป.)
ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศกึ ษาตอนปลายอดุ มศึกษา) ดา นการศึกษา ศธ.

2) ดัชนีความเทาเทียมทางความมัง่ ค่งั จาํ แนกตามระดับการศกึ ษา (ปฐมวยั รายงานผลการสํารวจขอมลู สสช.

ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศกึ ษาตอนปลายอุดมศึกษา)

3) ดัชนคี วามเทาเทียมตามพ้นื ที่ จาํ แนกตามระดบั การศกึ ษา (ปฐมวยั รายงานผลการสาํ รวจขอมลู สสช.
ประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนตน มธั ยมศกึ ษาตอนปลายอดุ มศึกษา)

SDG 4.6 สรา งหลักประกนั วา เยาวชนทุกคนและผูใหญใ นสดั สวนสงู ทง้ั ชายและหญงิ สามารถอานออกเขียนได
และคํานวณไดภ ายในป 2573

1) อตั ราการอานออกเขยี นไดของประชากรอายุ 15 ปข ้ึนไปจาํ แนกตามเพศ รายงานผลการสํารวจขอมลู สสช.

2) อตั ราการมีทกั ษะดานการคาํ นวณของประชากรอายุ 15 ปข นึ้ ไป รายงานผลการสํารวจขอ มลู สสช.
จําแนกตามเพศ

3) อตั ราการอานออกเขยี นไดและมีทกั ษะดานการคาํ นวณของประชากร รายงานผลการสํารวจขอ มลู สสช.
อายุ 15 ปข ึ้นไป

SDG 4.7 สรา งหลักประกันวาผูเรียนทุกคนไดร บั ความรูและทักษะทีจ่ าํ เปนสําหรับสงเสริมการพฒั นาอยางย่งั ยืนรวมไปถึง

การศกึ ษาสาํ หรับการพฒั นาอยางย่งั ยนื และการมีวิถชี ีวติ ที่ยั่งยืนสทิ ธิมนษุ ยชนความเสมอภาคระหวางเพศการสง เสริม

วฒั นธรรมแหงความสงบสุขและไมใ ชความรุนแรงการเปน พลเมอื งของโลกและความนยิ มในความหลากหลายทางวฒั นธรรม
และในสวนรวมของวัฒนธรรมตอการพัฒนาท่ยี ง่ั ยืนภายในป 2573

1) ระดับการดาํ เนินการการกําหนดเรอ่ื ง การศกึ ษาเพือ่ ความเปนพลเมอื ง จดั ทาํ รายงานผล ศธ.

โลกและการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยง่ั ยนื เปน เรื่องหลักใน (ก) การวิเคราะหร ะดบั

นโยบายการศึกษาของประเทศ (ข) หลักสตู ร (ค) การศึกษาของครู (หลักสตู ร การดําเนนิ งานเชงิ นโยบาย

การผลติ /พัฒนาคร)ู และ (ง) การประเมนิ ผลนกั เรียน ตามประเด็นท่กี ําหนด

2) การจัดกิจกรรมหรือโครงการเพือ่ พฒั นาผเู รียนใหมีความรูและทกั ษะ เสนอตวั ชี้วัดเพมิ่ เตมิ ศธ.
เกี่ยวกับความเปน พลเมือง หรือการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื (โครงการ/กิจกรรม เพือ่ แสดงขอ มลู การดาํ เนนิ งาน

พัฒนาผเู รยี นเสริมหลักสูตร) เชิงปฏบิ ตั ิ

SDG 4.a สรา งและยกระดับอปุ กรณและเครือ่ งมือทางการศึกษาทอ่ี อ นไหวตอเดก็ ผูพกิ ารและเพศภาวะและใหม สี ภาพแวดลอม

ทางการเรยี นรูทปี่ ลอดภัยปราศจากความรนุ แรงครอบคลมุ และมปี ระสทิ ธิผลสําหรับทกุ คน

1)สัดสวนของโรงเรียนท่ีมีการเขาถึงบริการขน้ั พน้ื ฐาน จําแนกตามประเภท จะดําเนนิ การพัฒนารปู แบบ ศธ.
บริการ (สดั สว นของโรงเรียนท่ีมกี ารเขาถงึ )(a) ไฟฟา (b) อินเทอรเ น็ต และวิธกี ารจดั เกบ็ ขอ มูล

ท่ีใชใ นการเรียนการสอน (c) เครื่องคอมพวิ เตอรท ใ่ี ชในการเรยี นการสอน รวมกับหนว ยงานท่ีเกยี่ วขอ ง

(d) โครงสรา งพืน้ ฐาน และวัสดอุ ปุ กรณท ี่ไดร บั การปรบั ใหเ หมาะสมกบั ตอไป

นักเรียนท่ีมีความบกพรองทางรา งกาย (e) นา้ํ ด่มื พน้ื ฐาน (f) สิง่ อาํ นวยความ
สะดวกพ้ืนฐานดานสุขอนามยั ทแ่ี บงแยกตามเพศ และ (g) สิง่ อํานวยความ

สะดวกพื้นฐานในการทาํ ความสะอาดมือ (ตามนิยามตวั ช้วี ัดของ WASH

ในเร่ือง นาํ้ สุขอนามัย และสุขลกั ษณะสาํ หรับทกุ คน))

รายงานผลการขบั เคล่ือน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 จังหวดั นาน  หนา 6

เปา หมายยอ ย/ตัวช้ีวดั แหลง ขอ มูล หนว ยงาน

SDG 4.b ขยายจํานวนทนุ การศกึ ษาในท่วั โลกทใ่ี หสําหรบั ประเทศกาํ ลงั พฒั นาโดยเฉพาะประเทศพัฒนานอยทีส่ ุด
รฐั กําลังพัฒนาที่เปนเกาะขนาดเลก็ และประเทศในแอฟรกิ าในการสมัครเขา ศึกษาตอในระดับอุดมศกึ ษารวมถึงการฝกอาชีพ

และโปรแกรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารดานเทคนคิ วิศวกรรมและวิทยาศาสตรใ นประเทศพฒั นาแลว

และประเทศกําลังพฒั นาอ่นื ๆภายในป 2563

1) ปริมาณความชว ยเหลือเพือ่ การพฒั นาอยา งเปนทางการ (ODA)ท่เี ปน รายงานผลการดําเนนิ งาน กต.

ทุนการศึกษา สาํ หรบั ประเทศกําลังพัฒนาและประเทศพฒั นานอยทส่ี ดุ

SDG 4.c เพิ่มจาํ นวนครูท่ีมคี ุณภาพรวมถึงการดาํ เนินการผานทางความรวมมอื ระหวา งประเทศในการฝกอบรมครู

ในประเทศกาํ ลังพัฒนาเฉพาะอยา งยิ่งในประเทศพัฒนานอ ยทสี่ ุดและรัฐกาํ ลังพัฒนาที่เปนเกาะขนาดเล็กภายในป 2573

1) สดั สวนของครทู ่มี ีคุณวุฒเิ หมาะสมในการจดั การศึกษาพ้ืนฐาน จําแนก ฐานขอ มลู ทางการศึกษา ศธ. (สกศ.)
ตามระดับการศึกษา ผซู งึ่ อยา งนอ ยไดรบั การฝกอบรม (เชน การฝกอบรม

การสอน) ซ่ึงตอ งดาํ เนนิ การกอนหรือระหวางชวงที่ทาํ การสอนในระดับ

ทีเ่ ก่ียวของของแตละประเทศ(1) กอนประถมศึกษา(2) ประถมศึกษา

(3) มัธยมศึกษาตอนตน (4) มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

1.4 กลไกการขับเคลื่อน (กลไกระดับพ้นื ท่ี)
1) กลไกการขับเคลื่อนระดับชาติไดแก คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนคณะกรรมการนโยบาย

การพัฒนาเด็กปฐมวยั คณะอนุกรรมการสง เสรมิ การพฒั นาทยี่ ่ังยนื ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คณะอนุกรรมการ
ติดตามและประเมินผลการพัฒนาท่ยี ่งั ยนื ฯลฯ

2) กลไกการขับเคล่ือนระดับกระทรวงไดแก คณะกรรมการขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
ดานการศึกษา

3) กลไกการขับเคล่ือนระดบั พน้ื ท่ี
3.1) คณะทํางานขับเคลอื่ นในระดบั พื้นท่ี ไดแก คณะทํางานขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน

ดานการศกึ ษา ระดับภาค/กลุม จังหวัด และคณะทาํ งานขบั เคล่ือนเปา หมายการพัฒนาท่ีย่ังยนื ดานการศกึ ษา ระดับจงั หวัด
3.2) หนวยงานภาครัฐ ไดแก คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดสํานักงานศึกษาธิการภาค/

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา/สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา
องคกรปกครองสวนทองถิ่นสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดสถานศึกษา/สถาบันอุดมศึกษา
กรงุ เทพมหานครและเมืองพัทยา

3.3) หนว ยงานภาคเอกชนไดแก สภาหอการคาแหงประเทศไทย/หอการคาจังหวัดสภาอุตสาหกรรม
แหงประเทศไทย/สภาอุตสาหกรรมจังหวัดสถานศกึ ษา/สถาบนั อดุ มศึกษาเอกชน/นานาชาติ

4) ภาคีการพัฒนาสนับสนุนความรวมมือกับทุกภาคสวน ท้ังในประเทศและภาคีการพัฒนา
ระหวางประเทศ เพ่ือรวมขับเคล่ือนประเทศไทยใหบรรลุเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนไดแก ภาคเอกชน ภาควชิ าการ
ภาคประชาสังคม และภาคกี ารพัฒนาระหวา งประเทศ

สว นท่ี 2
การดําเนนิ งานขบั เคลือ่ นเปาหมายการพฒั นาทย่ี ั่งยืนดา นการศึกษา (SDG4) สูการปฏบิ ัติ

ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2565

2.1 การดําเนินโครงการจัดทําฐานขอมูลและระบบติดตามประเมินผลระดับพื้นที่เพื่อสนับสนุน
การขบั เคลอ่ื นเปาหมายของสหประชาชาติวาดวยการพัฒนาท่ียั่งยืนดานการศึกษา SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2565
(สว นกลาง/ระดบั ภาค/กลมุ จงั หวัด/ระดับจงั หวัด)

1) ขอบเขตการดําเนนิ โครงการ
1.1) วัตถุประสงค
(1) เพ่ือขับเคลื่อนการดําเนินงานตามเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนดานการศึกษา (SDG4

Roadmap) ของประเทศไทย
(2) เพื่อพัฒนาฐานขอมูลและระบบติดตามรายงานผลสําหรับสนับสนุนการขับเคลื่อน

เปาหมายของสหประชาชาตวิ าดวยการพัฒนาที่ยั่งยนื ดานการศึกษาในภาพรวมของประเทศ
1.2) เปาหมาย
(1) รอยละของหนวยงานท่ีเก่ียวของมีการดําเนินการเพื่อขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนา

ท่ยี ั่งยืนดานการศึกษา ตาม SDG4 Roadmap(รอ ยละ 100)
(2) มีฐานขอมูลเพ่ือการจัดทํารายงานผลการดําเนินงานตามตัวช้ีวัด SDG4 Roadmap

(รอยละ 50)
(3) การจัดทาํ รายงานผลการดําเนินงานขบั เคลอ่ื นเปา หมายการพัฒนาท่ีย่งั ยืนเปาหมายหลกั ที่ 4

แลวเสร็จ และนาํ เสนอตอคณะกรรมการเพอ่ื การพฒั นาทยี่ ่ังยนื ภายในระยะเวลาทก่ี าํ หนด(1 ฉบับ)
1.3) กิจกรรมสาํ คญั ภายใตโครงการ
(1) การประชมุ ช้ีแจง สรา งความรูความเขา ใจเกี่ยวกบั กรอบแนวทางและเปา หมายการขับเคลื่อน

เปาหมายการพฒั นาท่ีย่งั ยืนดา นการศกึ ษา และแผนที่นําทางฯ (SDG4 Roadmap) ไปสูการปฏิบัติ ใหถูกตอง ตรงกัน
รวมทัง้ ระดมความคิดเหน็ เพ่อื กําหนดแนวทางการดําเนินงานและบูรณาการการทํางานรวมกัน

(2) การจัดทําแผนปฏิบัตกิ ารขับเคลื่อนแผนท่ีนําทางฯ หรือทบทวน ปรับปรุงแผนที่นําทางฯ
ใหสอดคลองกับความเปล่ียนแปลงของสถานการณ ความตองการ/ความจําเปน และบรบิ ทท่เี กี่ยวขอ ง

(3) การกํากับ ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงาน รวมถึงปญหาอุปสรรค และ
แนวทางในการแกไ ขปญ หาหรือพฒั นาการจดั การศึกษาใหบ รรลุเปา หมายทกี่ าํ หนด

(4) การจัดเก็บขอมูลและจัดทาํ ฐานขอ มลู เพื่อใชใ นการติดตามและรายงานผลการดําเนินงาน
ตามตัวชีว้ ัดเปาหมายการพฒั นาที่ยงั่ ยนื รวมถงึ การพัฒนาวิธีการจัดเก็บขอ มูลตามตัวชี้วัดทีย่ ังไมม ีขอ มลู พ้นื ฐาน

(5) การจัดทํารายงานผลการดําเนินงานฯ เพ่ือเสนอคณะกรรมการฯ หรือคณะทํางานฯ
รับทราบและนําไปใชเปนขอมูลประกอบการกําหนดแนวทางการดําเนินงานในระยะตอไป รวมถึง รายงานผลการ
ดําเนนิ งานตอ คณะกรรมการฯ และ กพย. ตามลาํ ดบั

(6) การวเิ คราะหสรปุ ผลการดาํ เนินงาน และแลกเปล่ียนเรียนรู ระดมความคิดเห็นรวมกัน
เพ่ือกําหนดกรอบแนวทางการแกไ ขปญ หา หรือกาํ หนดแนวทางหรือนวตั กรรมการพฒั นาใหบ รรลุเปาหมายในระยะตอไป

รายงานผลการขบั เคลือ่ น SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 จังหวดั นา น  หนา 8

2) ผลการดําเนินงาน
2.1) การประชุม ชี้แจง สรางความรูความเขาใจเก่ียวกับกรอบแนวทางและเปาหมายการ

ขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนดานการศกึ ษา และแผนที่นําทางฯ (SDG4 Roadmap) ไปสูการปฏิบัติ ใหถูกตอง
ตรงกนั รวมท้ัง ระดมความคิดเหน็ เพอื่ กําหนดแนวทางการดําเนินงานและบรู ณาการการทาํ งานรวมกัน

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน จัดประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาท่ี
ยัง่ ยืนดา นการศึกษาSDG4 พ้ืนทีจ่ ังหวดั นาน ในวนั จันทร ท่ี 27 มถิ ุนายน 2565 ณ หองประชมุ น้ําทองแกรนด บอลรูม
โรงแรมกาดนํ้าทอง อาํ เภอเมืองนาน จังหวัดนาน เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค และการดําเนินงานขับเคล่อื นเปาหมายของ
สหประชาชาติวาดวยการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษาSDG4 ในระดับพื้นท่ี จังหวัดนาน ผูเขารวมประชุมจาก
หนว ยงานทเี่ กย่ี วของกับการขับเคล่ือนการดาํ เนนิ งานขับเคลื่อนเปาหมายของสหประชาชาตวิ าดวยการพัฒนาที่ยั่งยืน
ดา นการศกึ ษาSDG4 ในจงั หวดั นา น

2.2) การจัดทําแผนปฏิบัตกิ ารขับเคล่ือนแผนท่ีนําทางฯ หรือทบทวน ปรบั ปรุงแผนท่ีนําทางฯ
ใหสอดคลอ งกบั ความเปล่ยี นแปลงของสถานการณ ความตอ งการ/ความจําเปน และบรบิ ทท่ีเกี่ยวของ

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน จัดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทําแผนการขับเคล่ือนเปาหมาย
การพัฒนาที่ย่ังยืน เปาหมายที่ 4 SDG4 Roadmap 2565 จังหวัดนาน เพื่อใชเปนกรอบแนวทางในการสราง
หลักประกันวา ทุกคนในจังหวัดนานจะมีการศึกษาท่ีมีคุณภาพอยางครอบคลุมและเทาเทียม และสนับสนุนโอกาส
ในการเรียนรูตลอดชีวิต (SDG4 Roadmap) และหนวยงานที่เก่ียวของมแี ผนงานหรือโครงการเพื่อดําเนินการตาม
SDG4 Roadmap สรางหลักประกันวาทุกคนมีการศึกษาท่ีมีคุณภาพอยางครอบคลุมและเทาเทียม และสนับสนุน
โอกาสในการเรยี นรูต ลอดชวี ิต

รายงานผลการขบั เคล่ือน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 จังหวัดนาน  หนา 9

2.3) การกํากับ ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงาน รวมถึงปญหาอุปสรรค และแนวทาง
ในการแกไ ขปญหาหรอื พัฒนาการจดั การศกึ ษาใหบรรลุเปา หมายท่กี ําหนด

สาํ นักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน ประชุมคณะทํางานฯ ตามคําส่ังสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด
นาน ท่ี 125/2565 เร่ือง แตงตั้งคณะทาํ งานจัดทําฐานขอมูลและระบบติดตามประเมินผลระดบั พ้ืนท่ีเพ่ือสนับสนุน
การขับเคล่ือนเปาหมาย ของสหประชาชาติวาดวยการพัฒนาทย่ี ่ังยนื ดานการศึกษา SDG 4 ในวันที่ 21 เมษายน
2565 ณ หองประชมุ อาคารสริ ศิ ึกษา เพอื่ ชีแ้ จงวัตถุประสงคและเปาหมายตัวช้ีวัด ขอบเขตและแนวปฏิบัติการดําเนิน
โครงการจัดทําฐานขอมูลและระบบติดตามประเมินผลระดับพ้ืนท่ี เพ่ือสนับสนุนการขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนาท่ี
ยัง่ ยนื ดา นการศึกษา SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ

2.4) การจัดเก็บขอมูลและจัดทําฐานขอมูล เพื่อใชในการติดตามและรายงานผลการดําเนินงาน
ตามตวั ชวี้ ดั เปา หมายการพฒั นาทีย่ ่ังยนื รวมถงึ การพัฒนาวธิ กี ารจดั เก็บขอมลู ตามตวั ชี้วัดทย่ี งั ไมม ขี อ มลู พ้ืนฐาน

สาํ นักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน ประชุมคณะทาํ งานฯ ตามคําส่ังสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด
นาน ที่ 125/2565 เร่ือง แตงต้ังคณะทาํ งานจัดทาํ ฐานขอมูลและระบบตดิ ตามประเมินผลระดบั พื้นทเ่ี พื่อสนับสนุน
การขับเคลื่อนเปาหมาย ของสหประชาชาติวาดวยการพัฒนาท่ีย่ังยืนดา นการศึกษา SDG 4 ในวันที่ 21 เมษายน
2565 ณ หองประชมุ อาคารสิรศิ ึกษา เพ่ือชี้แจงวตั ถปุ ระสงคแ ละเปาหมายตัวชี้วัด ขอบเขตและแนวปฏิบัติการดําเนิน
โครงการจัดทําฐานขอมูลและระบบติดตามประเมินผลระดับพ้ืนที่ เพ่ือสนบั สนุนการขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนาที่
ยัง่ ยืนดานการศกึ ษา SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ และผูรับผิดชอบการ
จัดเก็บขอมูลและตดิ ตามประเมินผลการดําเนินงาน ออกนิเทศติดตามผลการดําเนินงานโครงการ/กิจกรรม ระหวาง
เดือนกรกฎาคม – สงิ หาคม 2564

2.5) การจัดทํารายงานผลการดําเนินงานฯ เพ่ือเสนอคณะกรรมการฯ หรือคณะทํางานฯ
รับทราบและนําไปใชเปนขอมูลประกอบการกําหนดแนวทางการดําเนินงานในระยะตอไป รวมถึง รายงานผลการ
ดําเนนิ งานตอ คณะกรรมการฯ และ กพย. ตามลําดับ

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน จัดทําเลมรายงานผลการดําเนินงานขับเคล่ือนเปาหมายการ
พัฒนาท่ียง่ั ยืนดานการศึกษา (SDG4) ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ขึน้ เพื่อรายงานผลการดําเนินงานโครงการ/กิจกรรม
และขอมูล ที่สนับสนุนการขับเคลือ่ นเปาหมายของสหประชาชาติวาดว ยการพัฒนา ท่ีย่ังยืนดานการศึกษา SDG 4
ในพน้ื ทีจ่ งั หวัดนาน

2.6) การวิเคราะหสรุปผลการดําเนินงาน และแลกเปล่ียนเรียนรู ระดมความคิดเห็นรวมกัน
เพ่อื กําหนดกรอบแนวทางการแกไ ขปญ หา หรือกําหนดแนวทางหรอื นวตั กรรมการพัฒนาใหบ รรลเุ ปา หมายในระยะตอไป

สว นที่ 3
ความกาวหนาการดาํ เนนิ งานขบั เคลอื่ นเปา หมายการพฒั นาท่ีย่งั ยืนดานการศึกษา (SDG4)

ผลการดาํ เนนิ งานขบั เคล่อื นเปาหมายการพฒั นาท่ยี ่ังยืนดานการศึกษา (SDG4) รายเปา หมายยอย
1) เปาหมายยอย SDG 4.1 สรางหลักประกันวาเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนสําเร็จการศึกษาระดับ
ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาท่ีมีคุณภาพเทาเทียมและไมมีคาใชจายนําไปสูผลลัพธทางการเรียนท่ีมีประสิทธิผล
ภายในปพ .ศ. 2573

1.1) ผลการดําเนนิ งานหรือสถานการณตามเปาหมายยอ ย
การจัดการเรียนรทู ั้งระบบสูการยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นและการเตรียมผูเ รียนใหสอดคลองกับทศวรรษท่ี 21
ไตรมาสท่ี 1

1. รว มการประชุมสรา งความเขาใจการดําเนนิ งานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE)
นวตั กรรมการศึกษา เพื่อพฒั นาการศึกษา ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 จัดโดย สาํ นกั งานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ ผา นระบบออนไลน วนั ท่ี 3 พฤศจิกายน 2564 ณ สํานกั งานศึกษาธิการจังหวัดนา น

2. จดั ทาํ โครงการ เพื่อเสนอกิจกรรมขอยกระดบั คณุ ภาพโครงการ ขออนมุ ัตงิ บประมาณเพิ่มเติมจาก
สํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ

3. ไดรับการจดั สรรงบประมาณเพม่ิ 36,000 บาท จึงดําเนินการเขยี นโครงการใหมเ พื่อขออนมุ ัตโิ ครงการจาก
ศธจ.นาน ภายใตงบประมาณที่ไดร ับการจัดสรรทง้ั ส้นิ จํานวน 122,000 บาท

4. นําโครงการผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการศึกษาธกิ ารจังหวัด (กศจ.)
5. นาํ เขาขอมลู แผนโครงการ ในระบบตดิ ตามและประเมินผลแหง ชาติ eMENSCR
ไตรมาสท่ี 2
1. ประชมุ ทบทวนผลการดาํ เนินงาน และช้แี จงการบรหิ ารโครงการ แกคณะทาํ งาน ศกึ ษานิเทศกสาํ นกั งาน
ศึกษาธิการจงั หวัดนา น
2. การประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการพัฒนานวัตกรรมการนเิ ทศบรู ณาการความรว มมือเชงิ พ้ืนท่ี PHUCAR+ Model
3. ประชมุ สนทนากลุมยอย (Focus Group) เพ่อื สงั เคราะหกรอบแนวคิดการพฒั นารูปแบบการนิเทศบรู ณา
การความรวมมือเชิงพืน้ ที่ (PHUCAR+ Model) ภายใตโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE)
นวตั กรรมการศึกษา เพ่ือพัฒนาการศึกษา ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2565
ไตรมาสท่ี 3
1. จัดทําคําส่งั จงั หวัดนาน แตงตั้งคณะทาํ งานขบั เคล่อื นโครงการ IFTE ในระดบั จังหวัด
2. ประชุมสถานศึกษากลุมเปาหมาย และผูแทนหนวยงานการศกึ ษา เพ่ือชแ้ี จงรปู แบบ/แนวทางการพัฒนา
นวตั กรรมการจัดการเรียนรู ภายใตโครงการ IFTE
3. ประชุมเสวนาแลกเปล่ียนเรียนรูการดําเนินงานโครงการ IFTE ในพื้นที่รับผิดชอบของสํานักงาน
ศกึ ษาธิการภาค 16 (เชียงราย พะเยา แพร นาน) จัดโดย สาํ นกั งานศึกษาธกิ ารภาค 16
4. ประชมุ วิเคราะหสภาพปญหา และสงั เคราะหประเดน็ การพัฒนานวตั กรรม และรว มวางแผนการ
ดาํ เนินงานรวมกับคณะทํางานของสถานศึกษาท้ัง 5 แหง (นิเทศ ติดตาม คร้งั ท่ี 1)
5. ประชุมถอดบทเรียนผลการดาํ เนินงานการขับเคลื่อนการบูรณาการการพฒั นาการศึกษาตามบริบทของ
พื้นที่ของโครงการที่โดดเดน ในรอบ 6 เดือน จัดโดยสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร

รายงานผลการขับเคลอื่ น SDG4 ปง บประมาณ พ.ศ. 2565 จงั หวัดนา น  หนา 11

ไตรมาสที่ 4
1. นิเทศ ตดิ ตาม การพัฒนานวัตกรรมการศกึ ษาของสถานศึกษา ครง้ั ท่ี 2
2. นเิ ทศตดิ ตามการนํานวัตกรรมการศกึ ษา ดา นการจดั การเรียนรู ไปใชใ นชัน้ เรยี นของครูผูสอน
3. จดั กจิ กรรมการประชมุ วิชาการแลกเปลยี่ นเรยี นรแู ละถอดบทเรียน การคดั เลือก Best Practice ระดบั จงั หวดั
4. รวมกิจกรรมวิชาการแลกเปล่ียนเรยี นรูและถอดบทเรยี น การคดั เลอื ก Best Practice ระดบั ภาค
5. สรุปผลการดาํ เนนิ งานโครงการ
1.2) ปญหาอุปสรรค หรือประเดน็ ทาทายการบรรลุเปา หมาย

ปญหาการแพรระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 มีแนวทางแกไข คือ วางแผนการดําเนินงานใหรัดกุม ดําเนินการตาม
มาตรการปองกันอยางเครงครดั ใชรูปแบบการประชุม/นิเทศแบบออนไลน

1.3) ประเดน็ ขอเสนอแนะการดําเนินงานใหบ รรลเุ ปาหมาย
1. งบประมาณทจี่ ดั สรรลดลงตอเน่ืองทุกปใ นขณะทเี่ ปาหมายการพฒั นาตอ งการสรางเครือขายที่เพ่มิ มากข้ึน
2. การพัฒนานวัตกรรมใหสมบูรณในรูปแบบของงานวิชาการ ตองใชระยะเวลาตอเนื่องไมตํ่ากวา 2 ป แต
สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการกําหนดใหมกี ิจกรรมการสรุปผลการดําเนินงานและนําเสนอแลกเปล่ียนเรียนรูกําหนด
ระยะเวลาใหแลวเสร็จภายในปงบประมาณ ทาํ ใหสถานศกึ ษามีระยะเวลาในการดําเนนิ งานจริงประมาณ 6 เดอื น ทําใหได
เพียงรปู แบบนวัตกรรมที่ยังไมสมบรู ณ

2) เปา หมายยอย SDG 4.2 สรางหลักประกนั วาเด็กชายและเดก็ หญงิ ทุกคนเขา ถึงการพัฒนาการ
ดแู ลและการจดั การศกึ ษาระดบั กอนประถมศึกษาสําหรับเด็กปฐมวัยทีม่ ีคณุ ภาพภายในป 2573

2.1) ผลการดาํ เนินงานหรือสถานการณตามเปา หมายยอย
การพัฒนาทักษะ EF ในเด็กปฐมวยั

กิจกรรมท่ี 1 การประชุมเชงิ ปฎิบตั กิ าร การพฒั นาการจดั การศกึ ษาปฐมวัยแบบบูรณาการทกุ ภาคสว น
1.1 การประชุมเชิงปฏิบัติการ สรางความรู ความเขาใจ เร่ือง การประเมินสถานศึกษา/สถานพัฒนาเด็ก
ปฐมวัย ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหง ชาติพ.ศ. 2561ใหแกทีมวิชาการของสถานศึกษา/สถานพัฒนาทุก
สังกัด และผูท่ีมีสวนเก่ียวของ รวม 35 คน ในวันที่ 18 กุมภาพันธ 2565 เพ่ือสรางความรู ความเขาใจ เร่ืองการ
ประเมินมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหงชาติ พ.ศ. 2561 ซ่ึงระบุไวใน
แผนพัฒนาเดก็ ปฐมวัย พ.ศ.2564-2570 ยุทธศาสตรท ี่ 3 การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการใหบริการพัฒนาเด็ก
ปฐมวยั ในวนั ที่ 18 กมุ ภาพนั ธ 2565 ตง้ั แตเ วลา 09.00 น. เปน ตนไป โดยมีกลุมเปาหมาย คือ คณะทํางานขับเคล่ือน
ศูนยพฒั นาเดก็ ปฐมวัยจังหวัดนาน ทีมวิชาการของสถานศกึ ษา/สถานพัฒนาทุกสังกัด และผูท่มี ีสวนเกี่ยวของจํานวน
35 คน ณ หองประชุมสิริศึกษา สํานกั งานศึกษาธิการจังหวัดนาน ดวยรูปแบบ Onsite และ Onlineใชงบประมาณ
จากโครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพ้ืนที่ กิจกรรมท่ี 1 (ขอ 1.1) จํานวนเงิน 9,850
บาท(เกาพันแปดรอ ยหาสิบบาทถวน) และสง รายงานการประชุมใหหนวยงานทางการศกึ ษาและหนวยงานที่เก่ียวของ
เพื่อทราบ

รายงานผลการขบั เคล่อื น SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 จังหวัดนา น  หนา 12

กิจกรรมที่ 2 การประชมุ เชิงปฏิบัติการการพัฒนาคูมือการนิเทศ ติดตามการพัฒนาคุณภาพเดก็ ปฐมวัยเชิง
พื้นที่สําหรับ ศึกษานิเทศก นักวิชาการ และผูท่ีมีสวนเกี่ยวของ ทุกสังกัดในจังหวัดนาน จํานวน 30 คน (สถานที่
ราชการ) จํานวน 1 วันในวันท่ี 27 พฤษภาคม 2565 ณ หองประชุมสัมมนาวุฒิ สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน
จํานวนเงนิ 16,060 บาท ดําเนนิ การดงั น้ี

2.1 ขออนุมตั ิจดั กจิ กรรมและประสานวิทยากร
2.2 จัดทําหนังสอื เชิญวิทยากรและผูท เ่ี กย่ี วของเขา รว มประชุม
2.3 ดาํ เนินการประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร การพฒั นาคูมอื การนเิ ทศ ติดตามการพัฒนาคณุ ภาพเดก็ ปฐมวัย
เชงิ พื้นท่ี ภายใตโ ครงการขับเคลอื่ นการพัฒนาการจดั การศึกษาปฐมวัยในระดบั พนื้ ท่ี ในวนั ท่ี 27พฤษภาคม 2565
ณ หอ งประชุมสมั มนาวฒุ ิ สาํ นกั งานศึกษาธิการจังหวัดนาน ตามกําหนดการ ดังน้ี

- รายงานตัวลงทะเบยี น
- พิธเี ปดโดย ศกึ ษาธกิ ารจังหวัดนาน

- แนวทางการตรวจสอบแผนการจดั ประสบการณเพ่ือสง เสริมทักษะสมอง (EF) (วทิ ยากร
อาจารยอ รทัย เลาอลงกรณ)

- แบงกลุม ออกเปน 5 กลุม วิทยากร (อาจารยอ รทัย เลาอลงกรณ) ดังนี้
กลมุ ที่ 1 ตรวจสอบ และปรบั แผนการจดั ประสบการณ จํานวน 5 หนวย
ของสงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานา น เขต 1

(โดย ครแู กนนําในสงั กัด สพป.นา น 1 จาํ นวน 7 คน)
กลมุ ท่ี 2 ตรวจสอบ และปรบั แผนการจัดประสบการณ จาํ นวน 3 หนว ย
ของสังกดั องคก รปกครองสว นทองถิ่น (โดย ครูแกนนําในสังกัด อปท. จํานวน 6 คน)
กลุมท่ี 3 ตรวจสอบ และปรับแผนการจัดประสบการณ จาํ นวน 2 หนวย

ของสงั กดั คณะกรรมการสงเสรมิ การศึกษาเอกชน รว มกบั ตชด.และ
สํานกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ (โดย ครูแกนนําในสังกัด เอกชน และ
วทิ ยาลัยชุมชนนานจาํ นวน 4 คน)
กลมุ ที่ 4 ตรวจสอบ และปรบั แผนการจัดประสบการณ จาํ นวน 2 หนวย
ของสงั กัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานา น เขต 2
(โดย ครแู กนนําในสังกดั เอกชน และวิทยาลยั ชมุ ชนนาน จํานวน 4 คน)
กลุมท่ี 5 วางแผน และออกแบบการนิเทศ ติดตามการจัดประสบการณแบบบูรณาการเชงิ พื้นท่ี

(โดย ทมี ศกึ ษานิเทศก และนักวชิ าการ)
- นําเสนอและรวมกนั แสดงความคิดเห็น เติมเตม็ แผนการจัดประสบการณใ หมีความสมบูรณ
(วิทยากร อาจารยอรทยั เลาอลงกรณ)
2.4 สรุปและรายงานผลการดําเนินกจิ กรรม ทําใหไดคมู ือการนเิ ทศ ติดตาม และแผนการจดั ประสบการณ
แบบบรู ณาการทกั ษะสมอง EF
กิจกรรมท่ี 3 การนิเทศ กํากับตดิ ตาม และประเมนิ ผลพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั แบบบูรณาการทุกภาคสว นโดย
ศึกษานเิ ทศก นักวชิ าการ พมจ. และสาธารณสุข จํานวน 6 คน จํานวน 20 แหง ดาํ เนินการ 2 ชวง

รายงานผลการขบั เคลอ่ื น SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 จังหวดั นา น  หนา 13

ชวงที่ 1 นิเทศ ติดตามและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยที่จบการศึกษาตามหลักสูตรปฐมวัย
พุทธศักราช 2560ปการศึกษา 2564 ของโรงเรียนเอกชน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชนใช
งบประมาณ 2,448 บาท เปนคาใชจายเดินทางไปราชการ โดยออกนิเทศ ตามปฏิทินนิเทศ ติดตามและประเมิน
พัฒนาการเด็กปฐมวยั ที่จบการศึกษาตามหลักสูตรปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560ปการศึกษา 2564 ของโรงเรียนเอกชน
สังกดั สํานกั งานคณะกรรมการสงเสริมการศกึ ษาเอกชนระหวางวนั ท่ี 2-15 มนี าคม 2565

ชวงท่ี 2 นิเทศ ตดิ ตาม การจัดประสบการณบ ูรณาการทักษะสมอง EF สถานศึกษาในสังกดั
กลุมเปาหมาย จํานวน 10 แหง ระหวางวันที่ 27 มิถุนายน – 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 คณะทํางานพัฒนาการศึกษา
ปฐมวัยจังหวัดนานรวมประชุมวางแผนการออกนิเทศ กํากับติดตามการจัดประสบการณแบบบูรณาการการพัฒนา
ทักษะสมอง EF โรงเรยี นกลมุ เปาหมายในสังกดั สพฐ.,สช,อปท. การศึกษาพเิ ศษ,ตชด. จํานวน 10 แหง แบบออนไลน
และออนไซด ในวันที่ 24 มิถุนายน 2565 เพื่อวางแผนการออกนิเทศติดตามรายละเอียดตามปฏิทินการออกนิเทศ
ติดตาม

3) เปาหมายยอย SDG 4.3 ใหชายและหญิงทุกคนเขา ถึงการศึกษาวิชาเทคนิคอาชวี ศึกษาอุดมศึกษา
รวมถงึ มหาวทิ ยาลยั ทีม่ รี าคาที่สามารถจา ยไดและมคี ณุ ภาพภายในป 2573

3.1) ผลการดําเนินงานหรือสถานการณต ามเปาหมายยอ ย
เสรมิ สรางศักยภาพความเขมแขง็ ของเครือขายความรวมมือแบบบูรณาการ

กิจกรรมท่ี 1 ประชุมชแี้ จงการดาํ เนินโครงการสงเสรมิ เวทแี ละประชาคมแตงต้ังคณะทํางานและจัดประชุม
หารือเพ่ือกาํ หนดเกณฑ/ กรอบแนวทางการดาํ เนนิ งาน

1.1 การประชุมการขับเคลื่อนการบูรณาการการพัฒนาการศึกษาตามบริบทของพื้นที่ การดําเนินงาน
โครงการสงเสริมเวทีและประชาคมเพ่ือการจัดทํารูปแบบและการพัฒนาหลักสูตรตอเน่ืองเช่ือมโยงการศึกษาข้ัน
พื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษารวมกับ สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการในวันท่ี 3พฤศจิกายน2565ผาน
ระบบออนไลน Zoom Cloud Meeting

1.2 การประชุมคณะกรรมการดาํ เนินงานโครงการสงเสริมเวทีและประชาคมเพ่ือการจัดทํารูปแบบและการ
พัฒนาหลักสูตรตอเน่ืองเช่ือมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา รวมกับ สํานักงานศึกษาธิการ
ภาค 16 เมือ่ วนั ท่ี 3 กมุ ภาพันธ2 565 ผานระบบการประชุมออนไลน Google meeting

1.3 การประชุมช้ีแจงโครงการสงเสริมเวทีและประชาคมเพ่ือการจัดทํารูปแบบและการพัฒนาหลักสูตร
ตอ เน่ืองเชอ่ื มโยงการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานกบั อาชวี ศึกษาและอุดมศึกษา รวมกับ คณะศึกษานิเทศก สํานกั งานศึกษาธิการ
จงั หวดั นา นเมือ่ วันท่ี 16 มนี าคม 2565 ณ หองประชมุ กลมุ นิเทศ สํานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดนาน

กิจกรรมท่ี 2 จัดประชุมวิชาการแลกเปลี่ยนเรียนรู วิเคราะหสภาพปญหาความเชื่อมโยงการจัดการศึกษา
ขัน้ พน้ื ฐานกับอาชวี ศกึ ษา ในพ้ืนท่จี งั หวัดนา น

2.1 การประชุมวางแผนและขับเคลื่อนโครงการสงเสริมเวทีและประชาคมเพ่ือการจัดทํารูปแบบและการ
พัฒนาหลักสูตรตอเนื่องเช่ือมโยงการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานกบั อาชวี ศกึ ษาและอดุ มศึกษารว มกับผูทรงคุณวุฒิจากหนวยงาน
อาชีวศกึ ษา เม่ือวนั ที่ 4 เมษายน 2565 ณ หอ งประชมุ สริ ศิ ึกษา สํานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั นา น

กจิ กรรมที่ 3 จัดประชมุ ออกแบบ Model การดําเนินโครงการหลักสูตรตอ เน่ืองเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
กบั อาชีวศกึ ษาและอุดมศกึ ษา และคดั เลือกโรงเรียนกลมุ เปา หมาย 4 โรงเรียน

รายงานผลการขับเคลอื่ น SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 จงั หวัดนา น  หนา 14

3.1 การประชุมคดั เลือกโรงเรียนกลุมเปาหมายในโครงการสงเสริมเวทีและประชาคมเพ่ือการจัดทํารูปแบบ
และการพัฒนาหลักสูตรตอเนื่องเช่ือมโยงการศึกษาข้ันพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา รวมกับ คณะ
ศึกษานิเทศก สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนานเม่ือวันท่ี 20มิถุนายน2565ณ หองประชุมกลุมนิเทศ สํานักงาน
ศึกษาธกิ ารจังหวัดนาน

กจิ กรรมที่ 4 ประชุมลงนามบันทึกขอตกลง (MOU) ระหวางโรงเรียนกลุมเปา หมาย และ สถาบันอาชีวะศกึ ษา
คพู ฒั นา จัดสรรงบประมาณใหสถานศกึ ษากลมุ เปาหมายและจดั ทําขอกําหนดโครงการ

ประชุมลงนามบันทึกขอตกลง (MOU) ระหวางโรงเรียนกลุมเปาหมาย และ สถาบันอาชีวศึกษาคูพัฒนา
สนับสนุนวัสดอุ ุปกรณใหสถานศึกษากลุมเปาหมายพัฒนาหลักสูตรการสะสมหนวยกิต คัดเลือกสถานศึกษา 2 แหง
รวมประชุมนําเสนอ หลักสูตรตอเน่ืองเช่ือมโยงการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาระดับภาค นิเทศ
ติดตาม ประเมนิ ผล และ สรุปรายงานผลการดําเนินงานจัดทําวิจัยหลักสูตรตอเน่ืองเช่ือมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกับ
อาชีวศกึ ษาและอุดมศกึ ษา ระดับจังหวดั นาน

สงผลใหหนว ยงานการศกึ ษาในพ้นื ท่จี งั หวัดนา น มหี ลักสตู รการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานที่มีความตอเนื่อง มคี ูมือและ
กรอบแนวทางการพฒั นาหลกั สตู รตอ เนื่องเชอื่ มโยงการศึกษาข้นั พื้นฐาน กับอาชวี ศกึ ษาและอดุ มศึกษา ทาํ ใหส ดั สว น
ผเู รียนสายอาชวี ศกึ ษา : สายสามัญ เพ่มิ ขึน้ จํานวนนักเรียนท่ีจบการศึกษาข้นั พนื้ ฐานเรยี นตออาชวี ศึกษาและ
อุดมศึกษาเพิ่มขึน้ และจาํ นวนนักเรียนทีจ่ บการศึกษาแลวมีงานทาํ เพ่ิมมากขน้ึ

4) เปาหมายยอย SDG 4.4 เพ่มิ จํานวนเยาวชนและผูใหญท่ีมีทักษะที่จําเปนรวมถึงทักษะทางเทคนิค
และอาชพี สําหรบั การจา งงานการมีงานท่ีดีและการเปนผปู ระกอบการภายในป 2573

4.1) ผลการดําเนนิ งานหรือสถานการณต ามเปา หมายยอ ย
สงเสรมิ และพฒั นาทักษะอาชีพเพื่อเปนผูประกอบการ

- ดําเนนิ โครงการฯ ตามนโยบายเรง รัดเบกิ จายงบประมาณของรัฐบาล และมาตรการปอ งกนั การแพรระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ดังน้ี

กิจกรรมยอ ยท่ี 1 คดั เลือกนักเรียน/นกั ศึกษาท่ีกาํ ลังศึกษาทีม่ คี วามสนใจจะเรม่ิ ธรุ กจิ ใหมเ ขา รว ม
โครงการ (ออนไลน)

กิจกรรมยอ ยที่ 2 สง เสริมและสนบั สนนุ ผปู ระกอบการหนา ใหม (NanYoung Startup) สนับสนุน
งบประมาณผูผา นคดั เลือก (คาวัสดุการศกึ ษา) จาํ นวน 10 กลมุ ๆ ละ 20,000 บาท

กจิ กรรมยอ ยที่ 3 อบรมเชงิ ปฏิบตั ิการจดั ทาํ แผนงานธุรกจิ (Business Model Canvas)
กจิ กรรมยอ ยที่ 4 อบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารเกยี่ วกบั การบริหารจัดการเพื่อเตรยี มความพรอมในการเปน
ผปู ระกอบการ
กจิ กรรมยอยท่ี 5 อบรมเชงิ ปฏบิ ัติการสรา งและพัฒนาศักยภาพผูป ระกอบการ
กิจกรรมยอยที่ 6 คัดเลือกสุดยอดผูป ระกอบการใหม Nan Young Startup
กิจกรรมยอยท่ี 7 การนิเทศ ติดตามและรายงานผลการดําเนนิ งาน ระหวา ง
-การอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสงเสริมการเรียนรูทุกระดับวัย
เพ่ือใหเด็กนา นกาวทนั ในยุคศตวรรษท่ี 21 กิจกรรมเพิ่มขีดความสามารถดา นการแขงขนั ของเด็กและเยาวชนจังหวัด
เพ่ือเตรียมความพรอมเปน YoungStartup ใหกับนักเรียน/นักศึกษาจากสถานศึกษาในสังกัด สํานักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษามัธยมศกึ ษานา นและคณะกรรมการอาชวี ศกึ ษาจังหวดั นาน รวมจํานวน 60 คนเพอื่ ฝกปฏิบตั ิในการสรา ง

รายงานผลการขับเคลอื่ น SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 จงั หวดั นา น  หนา 15

แนวความคิดการเปนเจาของธรุ กิจใหเกิดขึ้นตอเยาวชน ในการเปนผูประกอบการ Young Startup นาํ องคความรู

นํางานวิจัยนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช โดยใชกลยุทธการตลาดนําการผลิต การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตตาม

ความเหมาะสม อันจะนําไปสูการเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันเพ่ือกาวเขาสูสังคมผูประกอบการผูเขารับการ
อบรมดานการบรู ณาการความรเู พ่อื ประยุกตใ ชแนวคดิ ในการบริหารธรุ กจิ กบั องคค วามดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ใน

การพัฒนาเพื่อตอยอดใหเกิดธุรกิจสตารทอัพ มีแนวความคิดการเปนเจาของธุรกิจที่มีจรรยาบรรณ ใหเกิดข้ึนตอ

เยาวชน ในการเปนผูประกอบการดานนวัตกรรมธุรกิจเชิงสรางสรรค ผูเขารับการอบรมสามารถเขียนแผนงานธุรกิจ
(Business Model Canvas) ของกลุมตนเองได เพื่อนําแผนงานธุรกิจที่ไดไปสูการจัดทําธุรกิจของกลุมตนเอง

แผนธุรกิจทจี่ ัดทาํ ขน้ึ มีดงั น้ี

1. กลมุ เทคนคิ นา น 1 ธรุ กจิ นา้ํ มันนวดสมนุ ไพร
2. กลมุ เทคนิคนา น 2 ธุรกจิ ชานมสมนุ ไพร

3. กลุมเทคนิคนา น 3 ธรุ กิจนวดเพื่อสุขภาพ

4. กลุมสารทิศพิทยาคม ธรุ กิจกระเปา สานจากตนธปู ฤาษี
5. กลมุ ศรนี ครนา น ธุรกิจชามะหลอด

6. กลมุ เทคนิคปว 1 ธรุ กิจผงมะแขวน ปรุงรส

7. กลุม เทคนิคปว 2 ธุรกิจกระเปาตอกไมไผผ า ฝา ย
8. กลุมการอาชีพเวยี งสา ธุรกิจกระทอนเชอ่ื มแหง

9. กลุมทา วังผาพิทยาคม ธุรกจิ ขา วหลามไทย

10. กลมุ มธั ยมพระราชทานเฉลมิ พระเกียรติ ธรุ กิจกระเปาผา Coffee Dye

4.2) ปญหาอปุ สรรค หรือประเด็นทา ทายการบรรลเุ ปาหมาย
การแพรร ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
4.3) ประเดน็ ขอเสนอแนะการดําเนนิ งานใหบรรลเุ ปาหมาย
- ดาํ เนินโครงการฯ ตามนโยบายเรงรัดเบิกจายงบประมาณของรฐั บาล และมาตรการปอ งกันการ
แพรร ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
5) เปาหมายยอย SDG4.5 ขจัดความเหลี่อมลํ้าทางเพศในการศึกษาและสรางหลักประกันวากลุม
ท่ีเปราะบางซ่ึงรวมถึงผูพิการชนพ้ืนเมืองและเด็กเขาถึงการศึกษาและการฝกอาชีพทุกระดับอยางเทาเทียม
ภายในป 2573
5.1) ผลการดําเนินงานหรือสถานการณตามเปาหมายยอ ย
สรา งระบบการติดตามประชากรวยั เรียนท่ีขาดโอกาสทางการศึกษาทกุ ระดับในพน้ื ที่จังหวดั นา น
สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน ในนามคณะกรรมการขับเคล่ือนโครงการสงเสริมโอกาส ความเสมอภาค
และความเทาเทียมทางการศึกษาของจังหวัดนาน ในบทบาทและหนาท่ีตามคําสังกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ.
120/2565 ลงวันที่ 2 มีนาคม 2565เรื่อง แตงต้ังคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการสงเสริมโอกาส ความเสมอภาค
และความเทาเทียมทางการศึกษา “พานองกลับมาเรียน” ระดับจังหวัด โดยทานผูวาราชการจังหวดั นานเปนประธาน
คณะกรรมการ สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนานในฐานะกรรมการและเลขานุการ ไดดําเนินการจัดประชุม
คณะกรรมการขบั เคลอ่ื นระดับจังหวัด และเสนอแตงตั้งคณะอนุกรรมการขบั เคล่อื นระดับจงั หวัดเพ่ือชวยเหลอื

รายงานผลการขบั เคล่ือน SDG4 ปง บประมาณ พ.ศ. 2565 จังหวดั นา น  หนา 16

การปฏบิ ัตงิ านและรว มตดิ ตามและคน หานกั เรียนกลุม เปาหมายในระดับพ้ืนท่ี ตามคําสั่งจังหวัดนาน ที่ 11285/2565
ลงวันท่ี 27 พฤษภาคม พ.ศ.2565 โดยไดจ ัดกจิ กรรมการดําเนนิ งานโดยสงั เขป ดงั น้ี

1. จัดประชุมคณะกรรมการขับเคล่ือนโครงการสงเสริมโอกาส ความเสมอภาคและความเทาเทียมทาง
การศกึ ษา “พานองกลับมาเรยี น” จังหวัดนา น ในวันท่ี 25 เมษายน 2565 ประกอบดวยภาคีเครือขายเขารว มประชุม
โดยมีทา นรองผูวาราชการจังหวัดเปนประธานในการประชุมเพ่ือสรางการรบั รูและรับทราบนโยบายและแนวทางการ
ขบั เคลอ่ื นการดาํ เนินงานระดบั จังหวัด

2. ประสานการดําเนินงานเชิงบูรณาการระหวางหนวยงานทางการศึกษา หนวยงานภาคีเครือขาย ทั้งใน
ระดับจังหวัด อําเภอ ผานกลไกจังหวัดเพื่อสงเสริมและชวยเหลือกลุมเด็กเปราะบางในพ้ืนที่ เพ่ือลดความเหลื่อมลํ้า
ทางการศึกษา และสง เสรมิ การศึกษาในรูปแบบที่เหมาะสม

3. สํานักงานศกึ ษาธิการจังหวดั นานไดประสานและสงตอขอมูลนักเรียนท่ีจบช้ัน ม.3 และขอมูลนักเรียนที่มี
อายุพนเกณฑการศึกษาภาคบังคับไมประสงคเ รียนตอใหกับวิทยาลัยการอาชีพเวียงสา เพ่ือเปนกลุมเปา หมายในการ
แนะแนวและสงเสริมการฝกอาชีพตามโครงการอาชีวะสรางชางฝมือตามแนวทางโรงเรียนพระดาบส รุนท่ี 5 เพื่อ
สงเสรมิ ใหเ ด็กมีโอกาสดา นการฝกอาชีพและสรา งโอกาสทางการศึกษา

4. ผลการขับเคลือ่ นการดาํ เนินโครงการในระดบั จังหวดั ซ่ึงมีขอมลู นกั เรยี น นักศึกษาท่ีตองติดตามคน หาตาม
โครงการสงเสริมโอกาส ความเสมอภาคและความเทาเทยี มทางการศกึ ษา โดยประมวลขอมลู ผา นระบบ

“พานองกลับมาเรยี น” ณ วันท่ี 1 สงิ หาคม 2565 ดังน้ี
4.1 กลุมเปาหมายในการตดิ ตามคนหาภาพรวมจังหวดั นา น จาํ นวน 312 คน
4.2 ดําเนนิ การติดตามคน หาและพบตวั คิดเปนรอยละ 88.46
4.3 นาํ นักเรยี นกลับเขาสูร ะบบ คิดเปนรอ ยละ 62.32 ของจํานวนที่ตดิ ตามพบตัว
4.4 จบการศึกษาภาคบงั คบั และมีอายุพนเกณฑ ไมป ระสงคก ลับเขา ระบบ คิดเปนรอยละ 33.33
4.5 ติดตามไมพบตัวและอยูร ะหวางการตดิ ตาม รอยละ 11.54

ความกา วหนา ระหวา งมนี าคม - สิงหาคม 2565

300 246 246 276
250 239 240 172
55.13
200 136 140 162
150 126 132 44.87 51.92 สงิ หาคม
85
100 27.24 40.38 42.31
50

0 กรกฎาคม กรกฎาคม
มีนาคม พฤษภาคม มิถุนายน เขา สรู ะบบการศกึ ษาแลว

จาํ นวนทีต่ ดิ ตามพบตวั

คดิ เปนรอ ยละของเดก็ หลดุ จากระบบทง้ั หมด

รายงานผลการขบั เคลอ่ื น SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 จงั หวดั นาน  หนา 17

5. จัดประชุมคณะกรรมการขับเคล่ือนโครงการสงเสริมโอกาส ความเสมอภาคและความเทาเทียมทาง
การศกึ ษา “พานอ งกลับมาเรยี น” จังหวัดนาน ครั้งที่ 2/2565 ในวันท่ี 23 สิงหาคม 2565 เพือ่ สรปุ และรายงานผลการ
ดาํ เนินงานสงเสรมิ โอกาส ความเสมอภาคและความเทาเทยี มทางการศกึ ษา “พานองกลับมาเรียน” จังหวัดนา น

6) เปา หมายยอย SDG 4.7 สรางหลักประกันวาผเู รียนทุกคนไดรบั ความรแู ละทักษะท่ีจําเปน
สาํ หรับสงเสริมการพัฒนาอยางยั่งยนื รวมไปถึงการศึกษาสําหรับการพัฒนาอยา งยั่งยนื และการมีวิถชี ีวติ ทีย่ ่ังยืน
สทิ ธิมนุษยชนความเสมอภาคระหวางเพศการสงเสริมวัฒนธรรมแหงความสงบสุขและไมใชค วามรนุ แรงการเปน
พลเมืองของโลกและความนยิ มในความหลากหลายทางวัฒนธรรมและในสวนรวมของวัฒนธรรมตอการพัฒนา
ท่ียั่งยนื ภายในป 2573

6.1) ผลการดําเนินงานหรือสถานการณตามเปา หมายยอ ย
พฒั นาหลกั สตู รกระบวนการจัดการเรียนรสู ูความเปนพลเมืองและพลโลกตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ
การพฒั นาที่ยั่งยนื

การอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารโครงงานตามพระบรมราโชบายดานการศกึ ษาในหลวงรัชกาลท่ี 10 ระหวางวันท่ี
11-12 มิถุนายน 2565 เพื่อสงเสริมใหนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาไดเรียนรูพระราชกรณียกิจของ
พระราชวงศจักรีมีเจตคติที่ดีตอบานเมือง มีโอกาสทําหนาท่ีเปนพลเมืองดีมีพ้ืนฐานชีวิตที่ม่ันคงและมีคุณธรรม
และไดเรียนรูถึงนวัตวิถีของทองถิ่นและชุมชน มีจิตสํานึกรักและภูมิใจในทองถิ่นและชุมชนของตนเองผาน
หลักสูตรการเรียนรู โดยมีผูเขารับการอบรมจากสถานศึกษาในสังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
นา น รวมจํานวน 60 คน แยกเปน ครู 15 คน และนกั เรยี นระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 45 คน ดงั น้ี

1. Soft Skills for Project Management
2. Brainstorming Workshop
3. Design Thinking Workshop
4. How to Get Started on a Project
5. Project Simulation Workshop “การนาํ พระบรมราโชบายดานการศึกษา 4 ดาน

สูก ารปฏิบตั ”ิ คอื
1) การมีทัศคติท่ถี ูกตองตอ บานเมอื ง
2) การมพี ื้นฐานชีวิตท่มี ัง่ คงมีคณุ ธรรม
3) การมงี านทาํ -มอี าชพี
4) การเปน พลเมืองดี

ส ง ผ ล ใ ห ผู เ รี ย น ทุ ก ช ว ง วั ย มี ค ว า ม รั ก ส ถ า บั น ห ลั ก ข อ ง ช า ติ แ ล ะ ยึ ด ม่ั น ก า ร ป ก ค ร อ ง ร ะ บ อ บ
ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และมีจิตสํานึกในการนอมนําจิตอาสารักษบาน รักษถ่ิน
เปนพลเมืองดีของสังคม ครูและบุคลากรทางการศึกษาทีเ่ ขารวมโครงการ มีความรู ความเขาใจ และมีทัศคตทิ ี่ดีและ
ถูกตองตอสถาบันพระมหากษัตริย และบานเมือง หนวยงานทางการศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและสังกัดอ่ืน
ตลอดจนหนว ยงานท่เี ก่ยี วขอ งในจังหวดั รวมบูรณาการการจัดกจิ กรรมเพอ่ื สงเสริมการเปน พลเมืองดี

สว นที่ 4
บทสรุปผลการดําเนนิ งาน ความทา ทาย และขอ เสนอแนะการดําเนินงานระยะตอ ไป

4.1 สรุปผลการดําเนินงานขับเคลือ่ นเปาหมายการพฒั นาทย่ี ่งั ยืนดา นการศึกษา
เปาหมายยอย กลุมที่มีขอมูลผลการดําเนินงาน หรือขอมูลพื้นฐานตามตัวช้ีวัดครบถวน สมบูรณ

สามารถนําเสนอความกาวหนา หรอื สภาพการดาํ เนินงานขบั เคลื่อนเปา หมายยอยไดอ ยา งชัดเจน เปน รปู ธรรม
ผลการดําเนนิ งานขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยนื ดานการศึกษา (SDG4) รายเปาหมายยอย

ของจังหวัดนา น จํานวน 6 เปา หมาย ดงั นี้
1) เปา หมายยอ ย SDG 4.1 สรา งหลกั ประกันวา เด็กชายและเดก็ หญิงทุกคนสําเร็จการศกึ ษาระดับ

ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาที่มีคุณภาพเทาเทียมและไมมีคาใชจายนําไปสูผลลัพธทางการเรียนท่ีมีประสิทธิผล
ภายในป พ.ศ. 2573

-การจัดการเรยี นรทู ัง้ ระบบสกู ารยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นและการเตรียมผูเ รียนใหสอดคลอง
กบั ทศวรรษท่ี 21

2) เปาหมายยอ ย SDG 4.2 สรางหลกั ประกันวาเด็กชายและเด็กหญิงทกุ คนเขาถึงการพัฒนาการ
ดแู ลและการจดั การศกึ ษาระดับกอ นประถมศกึ ษาสาํ หรับเดก็ ปฐมวัยทมี่ ีคณุ ภาพภายในป 2573

-การพฒั นาทักษะ EF ในเดก็ ปฐมวัย
3) เปาหมายยอย SDG 4.3 ใหชายและหญิงทุกคนเขาถึงการศึกษาวิชาเทคนิคอาชวี ศึกษาอุดมศกึ ษา
รวมถงึ มหาวทิ ยาลยั ที่มีราคาทีส่ ามารถจายไดและมคี ุณภาพภายในป 2573
-เสริมสรา งศักยภาพความเขมแข็งของเครอื ขายความรว มมอื แบบบูรณาการ
4) เปาหมายยอย SDG 4.4 เพ่ิมจํานวนเยาวชนและผูใหญที่มีทักษะที่จําเปนรวมถึงทักษะทาง
เทคนิคและอาชีพสาํ หรบั การจางงานการมีงานทีด่ ีและการเปน ผูประกอบการภายในป 2573
-สง เสริม และพฒั นาทักษะอาชพี เพ่ือเปนผูประกอบการ
5) เปาหมายยอย SDG4.5 ขจดั ความเหล่อี มล้ําทางเพศในการศกึ ษาและสรา งหลักประกันวากลมุ
ที่เปราะบาง ซ่ึงรวมถึงผูพิการชนพ้ืนเมืองและเด็กเขาถึงการศึกษาและการฝกอาชีพทกุ ระดับอยาง
เทา เทยี มภายในป 2573
-สรา งระบบการตดิ ตามประชากรวยั เรียนทีข่ าดโอกาสทางการศกึ ษาทุกระดับในพื้นท่จี ังหวัดนาน
6) เปาหมายยอย SDG 4.7 สรางหลักประกันวาผูเรียนทุกคนไดรับความรูและทักษะท่ีจําเปน
สําหรับสง เสริมการพัฒนาอยางยั่งยืนรวมไปถึงการศึกษาสําหรับการพัฒนาอยา งยั่งยืนและการมีวิถีชีวิตท่ียั่งยืนสิทธิ
มนษุ ยชนความเสมอภาคระหวางเพศการสงเสริมวัฒนธรรมแหงความสงบสุขและไมใชความรุนแรงการเปนพลเมือง
ของโลกและความนิยมในความหลากหลายทางวัฒนธรรมและในสวนรว มของวฒั นธรรมตอการพัฒนาที่ยั่งยืนภายในป
2573
-พัฒนาหลักสูตรกระบวนการจัดการเรียนรูสูความเปนพลเมืองและพลโลกตามหลักปรัชญา ของ
เศรษฐกิจพอเพยี งเพือ่ การพัฒนาท่ียั่งยนื

รายงานผลการขับเคล่อื น SDG4 ปง บประมาณ พ.ศ. 2565 จงั หวดั นาน  หนา 19

4.2 สรปุ ประเด็นความทา ทายการบรรลเุ ปา หมาย

1. การแพรระบาดของโรคโควิด-19 สงผลกระทบตอการศึกษา ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
โดยเฉพาะตอกลุมนักเรียนที่มีฐานะยากจนและอยูในพื้นท่ีหางไกล เนื่องจากสวนใหญไมมีโอกาสในการเขาถึง
มาตรการทีใ่ ชทดแทนการเรียนการสอนในโรงเรยี น เชน การเรียนออนไลน และการถายทอดสดผานสญั ญาณโทรทัศน
ทาํ ใหเ กดิ ภาวการณ การเรียนถดถอย นอกจากนั้น สําหรับครัวเรอื นท่ีไดรับผลกระทบทางเศรษฐกิจอยางหนัก ก็อาจ
สงผลใหน กั เรยี นตองออกจากระบบการศกึ ษาได

2. การพัฒนาทักษะแรงงานยังไมครอบคลุมแรงงานนอกระบบในทุกสาขา โดยโครงการพัฒนาทักษะ
แรงงานนอกระบบสว นใหญอ ยูใ นภาคเกษตรกรรม ทําใหผลิตภาพแรงงานเพม่ิ ขึ้นอยางไมเ ต็มที่ดังน้ัน ควรมีการพัฒนา
ทักษะแรงงานดานอื่น ๆ โดยมุงเนนการเช่ือมโยงเทคโนโลยีกับการฝกอบรมใหมากขึ้น เพ่ือใหแรงงานมีรายไดและ
สรา งมูลคาเพิม่ ไดม ากขนึ้ และมที กั ษะทีเ่ ปน ท่ีตอ งการในอนาคต

4.3 สรปุ ประเดน็ ขอเสนอแนะการดําเนินงานใหบรรลเุ ปา หมาย
1. งบประมาณที่จัดสรรลดลงตอ เน่ืองทุกปใ นขณะทเ่ี ปาหมายการพฒั นาตอ งการสรา งเครือขายที่เพิม่ มากข้ึน
2. การพัฒนานวัตกรรมใหสมบูรณในรูปแบบของงานวิชาการ ตองใชร ะยะเวลาตอเนื่องไมตํ่ากวา 2 ป แต
สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการกําหนดใหมีกิจกรรมการสรุปผลการดําเนินงานและนําเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรูกําหนด
ระยะเวลาใหแลวเสร็จภายในปงบประมาณ ทําใหสถานศึกษามีระยะเวลาในการดําเนินงานจริงประมาณ 6 เดอื น ทาํ ใหได
เพยี งรปู แบบนวัตกรรมทย่ี งั ไมสมบูรณ
3. จัดตั้งกลไกการประสานงานในระดับภูมภิ าค เพ่ือการตดิ ตามผลและทบทวน เปาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน
ดานการศกึ ษา ใหเปนไปในทิศทางเดยี วกนั
4. จัดต้ังระบบฐานขอมูลกลาง (Dashboard) ของตัวช้ีวัดเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนดานการศึกษา
(SDG4) ทั้งหมด เพื่อเปนฐานขอมูลที่มีความนาเชื่อถือและเขาถึงไดสามารถใชติดตามความกาวหนาในการขับเคลื่อนการ
ดาํ เนนิ งาน เปรยี บเทยี บในระดบั ภมู ิภาคและระดับโลกได
5. ประเมินความพรอมของขอมูล ในดานความสามารถในการเขาถึงขอมูล รวมท้ังมีการกําหนดคําจํากัด
ความของตัวชี้วัดท่ีมีความชัดเจนเปนรูปธรรม มีความเปนไปไดในการเก็บขอมูลและจะตองพัฒนาเทคนิคในการตรวจสอบ
ขอมลู ไปพรอ มกันดวย

ภาคผนวก

การประชมุ คณะทํางานจัดทาํ ฐานขอมูลและระบบตดิ ตามประเมนิ ผลระดบั พ้นื ท่ี
เพือ่ สนับสนุนการขับเคล่ือนเปา หมาย ของสหประชาชาติ

วา ดวยการพัฒนาทยี่ ่ังยืนดานการศกึ ษา SDG4 สาํ นกั งานศึกษาธิการจังหวัดนา น



การประชมุ คณะทาํ งานขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืนดา น
การศกึ ษาระดบั จังหวัดนาน



คำสง่ั คณะกรรมการขบั เคล่ือนเปา้ หมายการพัฒนาทีย่ ่งํ ยีนดา้ นการศกึ ษา
ท \$3 / ๒๕๖๕

เรื่อง แต่งต้ังคณะทำงานขบั เคลือ่ นเป้าหมายการพฒั นาท่ยี ่งั ยนี ด้านการศึกษาระดับจังหวัด
จังหวัดนา่ น

สืบเน่ืองจากประเทศไทยได้รว่ มลงนามรับรองวาระการพฒั นาทย่ี ัง่ ยนื ค.ศ. ๒๐๓๐ โดยกำหนด
เป๋าหมายการพัฒนาท่ีย่งั ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ๑๗ เปา๋ หมายหลัก และ ๑๖๙ เปา๋ หมายยอ่ ย
เพอ่ื เป็นกรอบแนวทางใหแ้ ตล่ ะประเทศดำเนินการร่วมกนั ซงึ่ ในการดำเนนิ งานของประเทศไทย ได้แต่งตั้ง
คณะกรรมการเพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืน หรือ “กพย.” โดยมีนายกรัฐมนตรี เป็นประธานคณะกรรมการ ทำหนา้ ทกี่ ำหนด
แนวทางการพัฒนาประเทศ นโยบายและยทุ ธศาสตร์การพัฒนาใหเ้ ป็นไปตามขอ้ ตกลงหรือความร่วมมอื
ระหว่างประเทศ และบรรลุเป๋าหมายการพฒั นาทยี่ ง่ั ยืนข้างดน้ สำหรับแนวทางการขับเคลือ่ นเป๋าหมายการพฒั นา
ท่ียงั่ ยนื ของประเทศไทย กพย. ไดเ้ หน็ ขอบแผนการขบั เคลอ่ื นเปา๋ หมายการพัฒนาท่ียงั่ ยนื สำหรับประเทศไทย
(Thailand’s SDGs Roadmap) และกำหนดให้ ตัง้ แตป่ ี ๒๕๖๔-๒๕๗๓ เป็นทศวรรษแหง่ การทำจรงิ “Decade of
Action” รวมทั้ง กำหนดหนว่ ยงานรบั ผดิ ขอบและประสานงานหลักในระดบั เปา๋ หมายหลัก (C1) และระดับ
เปา๋ หมายย่อย (C2) ทำหน้าที่กำหนดแนวทางการดำเนนิ งานและจดั ทำแผนทน่ี ำทาง (Roadmap) เพ่ือเป็นกรอบ
แนวทางการดำเนินงานให้บรรลุเปา๋ หมายการพัฒนาท,ี ย่งั ยืนทกี ำหนดไว้ ซ่ึงกระทรวงศึกษาธกิ ารได้รับมอบหมาย
เปน็ หนว่ ยงานรับผิดขอบและประสานงานหลัก เปา๋ หมายหลักที ๔ “สร้างหลักประกนั ว่าทกุ คนมกี ารศกึ ษา
ทมี่ คี ณุ ภาพอย่างครอบคลมุ และเทา่ เทียม และสนบั สนุนโอกาสในการเรยี นรตู้ ลอดขวี ติ ”

การขับเคลอ่ื นเปา๋ หมายการพฒั นาที'ยัง่ ยืน เป๋าหมายหลกั ท'ี ๔ กระทรวงศึกษาธกิ ารไดแ้ ตง่ ตงั้
คณะกรรมการขับเคลอ่ื นเป๋าหมายการพฒั นาทย่ี ง่ั ยืนดา้ นการศึกษา มปี ลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารเป็นประธาน
มีหนา้ ทีก่ ำหนดกรอบแนวทางและเป๋าหมายการดำเนนิ งานขบั เคลอ่ื นเป๋าหมายการพัฒนาที'ยัง่ ยืนด้านการศึกษา
ภาพรวม ซง่ึ คณะกรรมการฯ ได้เหน็ ขอบแผนทน่ี ำทางการขับเคลื่อนเป๋าหมายการพฒั นาท่ยี งั่ ยืนดา้ นการศึกษา (SDG4
Roadmap) เพือ่ นำไปใข้เป็นกรอบแนวทางและเปา๋ หมายการดำเนนิ งานแลว้ แตก่ ารขับเคลอ่ื นเปา๋ หมาย
การพัฒนาท่ยี ่งั ยนื ดา้ นการศกึ ษาให้บรรลุเป๋าหมายได้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม มีความสอดคลอ้ ง เหมาะสมกบั บรบิ ท
สภาพปญั หาและความต้องการของพ้ืนท'ี ตอ้ งดำเนนิ การโดยใข้พื้นท'ี เป็นฐานการพัฒนา ซงึ่ ในการดำเนนิ งาน
มีภาคีเครอื ขา่ ยเกี่ยวขอ้ งเป็นจำนวนมาก และต้องมกี ารบรู ณาการการทำงานรว่ มกนั อยา่ งเขม้ แข็ง และจริงจัง
ดังทัน้ ในคราวประขุมคณะกรรมการขับเคลื่อนเป๋าหมายการพฒั นาที'ยั่งยืนด้านการศกึ ษา ครั้งท'ี ๑/๒๕๖๔
เมอ่ื วันท'ี ๒๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ คณะกรรมการฯ มีมตเิ หน็ ขอบใหแ้ ต่งตง้ั คณะทำงานขับเคลอ่ื นเปา๋ หมาย
การพัฒนาที่ยงั่ ยืนดา้ นการศกึ ษาระดับภาคและจงั หวดั เพ่อื ให้เปน็ กลไกในการขับเคลอ่ื นการดำเนินงาน และบรู ณาการ
การทำงานรว่ มกันในพนื้ ทใี่ หป้ ระสบผลสำเรจ็ และบรรลเุ ป๋าหมายทีก่ ำหนดไว้

ดงั น้นั เพ่ือใหก้ ารดำเนนิ งานขับเคลอื่ นเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ่งั ยืนด้านการศึกษาในระดบั พื้นที่ภาค
และจงั หวดั เปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลเุ ป๋าหมายทีกำหนด และเป็นไปตามมตคิ ณะกรรมการฯ ข้างต้น
จึงแต่งต้ังคณะทำงานขับเคล่อื นเป๋าหมายการพัฒนาท'ี ย่งั ยนื ด้านการศึกษาระดบั จังหวัด จงั หวดั นา่ น
โดยมอี งคป์ ระกอบและอำนาจหน้าที่ ดงั นี้

/คณะทำงาน...

ร ท -๒-

คณะทำงาน ประธานคณะทำงาน
รองประธานคณะทำงาน
๑. ศึกษาธิการจังหวัดน่าน
๒. รองศึกษาธกิ ารจงั หวัดนา่ น คณะทำงาน
๓. ผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานา่ น เขต ๑ คณะทำงาน
๔. ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต ๒ คณะทำงาน
๔. ผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษานา่ น คณะทำงาน
๖. นายกองค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั น่าน คณะทำงาน
คณะทำงาน
๗. ท้องถนิ่ จงั หวดั น่าน คณะทำงาน
๘. นายแพทยส์ าธารณสุขจังหวดั นา่ น คณะทำงาบ
๙. รองอธิการบดีมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนาน่าน คณะทำงาน
๑๐. คณบดวี ิทยาลยั น่าน มหาวทิ ยาลยั ราซภัฎอุตรดิตถ์
๑๑. ผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆ์นครนา่ น มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ คณะทำงาน
คณะทำงาน
ราขวิทยาลยั เฉลมิ พระเกียรติฯ คณะทำงาน
๑๒. ผู้อำนวยการสำนกั วิชาทรพั ยากรการเกษตร จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย คณะทำงาน

๑๓. ผอู้ ำนวยการวทิ ยาลยั ชมุ ซนน่าน คณะทำงาน
๑๔. ประธานกรรมการอาชีวศกึ ษาจังหวัดน่าน คณะทำงาน
๑๔. ผู้อำนวยการสำนกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบ คณะทำงาน
คณะทำงาน
และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดนา่ น คณะทำงาน
๑๖. ผู้อำนวยการศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจำจังหวดั น่าน คณะทำงาน
๑๗. ผู้อำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนาจงั หวดั น่าน คณะทำงาบ
๑๘. พาณขิ ย์จงั หวัดนา่ น คณะทำงาน
๑๙. วัฒนธรรมจงั หวัดน่าน คณะทำงาน
๒๐. แรงงาบจังหวดั นา่ น คณะทำงาน
๒๑. พฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์จงั หวัดน่าน คณะทำงาน
๒๒. หัวหนา้ สำนักงานจงั หวัดน่าน คณะทำงาน
คณะทำงาน
๒๓. ประซาสมั พันธ์จังหวัดนา่ น
๒๔. ผูอ้ ำนวยการศูนย์พฒั นาราษฎรบนพืน้ ท่ีสูงจงั หวัดน่าน คณะทำงาน
๒๔. ผกู้ ำกบั การตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๓๒ คณะทำงาน
๒๖. ประธานหอการค้าจังหวัดนา่ น

๒๗. ประธานสภาอุตสาหกรรมจงั หวดั น่าน
๒๘. ผู้อำนวยการสำนกั งานดา้ นความยง่ั ยืนและพฒั นาชมุ ซน จงั หวัดน่าน

เครอื เจริญโภคภัณฑ์
๒๙. ประธานมูลนิธฮิ กั เมืองนา่ น
๓๐. ประธานคณะกรรมการประสานและสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกซนจงั หวดั นา่ น

(ปสกซ.)

/ ๓๑. พนั เอก...

-๓-

๓๑. พนั เอกพงศ์คริ ิ พงศ์อาริยะมงคล ผู้ทรงคุณวฒุ ิ คณะทำงาน
๓๒. นายสุเมธ สายสูง คณะทำงาน

ประธานสภาวัฒนธรรมจงั หวดั น่าน คณะทำงาน
๓๓. นายสมเรจ็ อุดแดง
คณะทำงาน
ผู้เขยี่ วซาญดา้ นการบรหิ ารจัดการการศกึ ษา คณะทำงาน
๓๔. ผูอ้ ำนวยการกลุ่ม/หนว่ ยในสำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั และเลขานกุ าร
๓๕. นายณรงค์ พนั หนเู ทยี น คณะทำงาน
และผู้ขว่ ยเลขานกุ าร
ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดนา่ น คณะทำงาน
๓๖, นางสกนธรัตน์ วงษ์สริ ิโซตนํ และผู้ข่วยเลขานกุ าร
คณะทำงาน
นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน สำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั นา่ น และผู้ช่วยเลขานกุ าร
คณะทำงาน
๓๗. นางพสซณันศ์ พรหมจรรย์ และผชู้ ว่ ยเลขานุการ
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดน่าน คณะทำงาน
และผู้ช่วยเลขานุการ
๓๘. นายเอกพนั ธ์ ทิพย์จำนง
นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวดั น่าน

๓๙. นางสาวนนวรตั น์ ณวี ัง
นกั วซิ าการคอมพวิ เตอร์ สำนักงานศึกษาธิการจังหวดั นา่ น

๔0 . นายจีระวัฒน์ อินทำ
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั นา่ น

อำนาจหน้าที่
๑. กำหนดกรอบแนวทางและเป้าหมายการดำเนินงานเพ่ือขับเคล่อื นเป๋าหมายการพัฒนาท'ี ยงั่ ยืน
ดา้ นการศกึ ษาในพ้ืนทีจ่ ังหวัด

๒. จัดทำ ทบทวน ปรับปรงุ กรอบแนวทางการดำเนินงาน หรอื แผนที่นำทางการขับเคลอื่ นเปา้ หมาย
การพฒั นาท,ี ยง่ั ยืนดา้ นการศึกษาระดบั จังหวดั โดยคำนึงถงึ ความสอดคล้องกบั การเปล่ยี นแปลงของสถานการณ์

บรบิ ท สภาพแวดลอ้ ม ความต้องการจำเปน็ ในพื้นที่
๓. ประสานกับภาคเี ครอื ข่ายการพฒั นาในพนื้ ที่ เพื่อจัดทำแผนบรู ณาการหรอื แผนปฏิบตั ิการ

เพอื่ ร่วมกนั ขับเคลอ่ื นแผนท่ีนำทางการขบั เคลือ่ นเปา้ หมายการพฒั นาท'ี ย่งั ยืนดา้ นการศกึ ษาระดบั จังหวัด
ไปสู่การปฏบิ ัตใิ ห้บรรลเุ ป้าหมาย

๔. กำกับ ตดิ ตามและประเมินผลการดำเนินงาน และปญ้ หาอปุ สรรคในการขบั เคล่อื นเปา้ หมาย

การพฒั นาท่ียั่งยนื ด้านการศึกษาในพน้ื ท่ีจงั หวัด รวมทงั้ ให้ข้อคิดเหน็ ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ การดำเนินงาน
เพอ่ื ให้บรรลุเปา้ หมายตัวชีว้ ัดที่กำหนดใว้

๕. ประสาน จัดเก็บ รวบรวมข้อมลู สารสนเทศท่ีเกยี่ วข้อง และขอ้ มลู ผลการดำเนินงานตามตวั ชว้ี ดั
ของแผนทน่ี ำทางๆ เพอื่ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ข้อมลู จัดทำสารสนเทศ สถติ หิ รือฐานขอ้ มลู การดำเนนิ งาน
ขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยืนดา้ นการศึกษาระดับจังหวัด รวมถงึ พัฒนารูปแบบ วิธีการหรอื กระบวนการ
ในการจดั เกบ็ ขอ้ มูลสารสนเทศ สำหรบั ตัวช้ีวดั กลมุ่ ทยี่ งั ไม่สามารถจัดเกบ็ ขอ้ มลู ได้

/ ๖. จัดทำ...

๖. จัดทำรายงานผลการดำเนนิ งานขับเคล่ือนเปา้ หมายการพฒั นาทย่ี ่งั ยนื ด้านการศกึ ษาระดับจังหวัด
นำเสนอคณะกรรมการขบั เคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที'ยัง่ ยนื ด้านการศกึ ษาทราบและพจิ ารณานำไปใชป้ ระโยชน์
ส่วนท่ีเกี่ยวช้องตอ่ ไป

๗. ปฏบิ ตั ิงานอ่นื ๆ ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
ทงั้ น้ี ต้งั แตบ่ ัดนีเ้ ป็นตน้ ไป

สงั่ ณ วนั ที่ 80 ร) พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕:

(นายสุภัทร จำปาทอง)
ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ประธานคณะกรรมการ
ขบั เคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนาทีย่ ง่ั ยืนด้านการศกึ ษา







คณะผูจัดทํา

ทป่ี รกึ ษา

นางณนั ศภรณ นิลอรุณ ศกึ ษาธิการจงั หวดั นา น
รองศึกษาธกิ ารจังหวัดนาน
นางฐิตมิ า เรงประเสริฐ
นักวิเคราะหน โยบายและแผนชาํ นาญการ
บรรณาธิการกิจ นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ
นกั วิเคราะหน โยบายและแผนปฏบิ ตั ิการ
นางสกนธรตั น วงษสริ โิ ชตน นักวเิ คราะหนโยบายและแผนปฏิบตั กิ าร
นางพสชณนั ค พรหมจรรย นักวิชาการคอมพิวเตอรปฏบิ ัตกิ าร
นายจีระวัฒน อนิ ทาํ
นายเอกพันธ ทพิ ยจ ํานงค
นางสาวนนวรัตน ณวี ัง

วเิ คราะหและจดั ทํารูปเลม นกั วเิ คราะหน โยบายและแผนชาํ นาญการ

นางพสชณนั ค พรหมจรรย

หนว ยงานผจู ัดทาํ

กลมุ นโยบายและแผน สาํ นักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั นาน

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดน่าน
เลขที่ 506/2 ถ.สุมนเทวราช ต.ในเวียง อ.เมืองน่าน จ.น่าน 55000

โทร. 0 5471 9587 โทรสาร 0 5471 9588
E-MAIL : [email protected]


Click to View FlipBook Version