The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาปฐมวัยเชิงบูรณาการ จังหวัดน่าน พ.ศ. 2566-2570

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by podchanun36, 2021-12-16 00:14:34

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาปฐมวัยเชิงบูรณาการ จังหวัดน่าน พ.ศ. 2566-2570

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาปฐมวัยเชิงบูรณาการ จังหวัดน่าน พ.ศ. 2566-2570

คาํ นาํ

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 ไดกําหนดในมาตรา 54 ระบุวารัฐตอง
ดําเนินการใหเด็กทุกคนไดรับการศึกษาเปนเวลาสิบสองป ต้ังแตกอนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับ
อยางมีคณุ ภาพโดยไมเ กบ็ คา ใชจ าย รัฐตอ งดําเนินการใหเดก็ เล็กไดรับการดูแลและพัฒนากอนเขารับการศกึ ษาตาม
วรรคหน่ึง เพ่ือพัฒนารางกาย จิตใจ วินัย อารมณ สังคม และสติปญญาใหสมกับวัย โดยสงเสริม
และสนับสนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น และภาคเอกชนเขามีสวนรวมในการดําเนินการดวย
กระทรวงศึกษาธิการจึงไดกําหนดแนวทางการจัดการศึกษาเด็กปฐมวัยใหมีคุณภาพ โดยอาศัยจังหวัดเปนฐาน
ในการขับเคล่ือนหลักในการจัดการศึกษาในเชิงหลักการใหสถานศึกษาทุกสังกัดในพ้ืนท่ี รวมถึงบูรณาการและ
ประสานความรว มมอื การจัดการศึกษาปฐมวยั รว มกนั

สํานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดนานจึงไดจัดทําแผนยุทธศาสตรก ารพัฒนาการศึกษาปฐมวัยเชิง
บูรณาการ จังหวัดนาน พ.ศ. 2566-2570 เพ่ือใชเปนกรอบทิศทางในการบริหารและการจัดการศึกษา โดยมี
สาระสําคัญประกอบดวย วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค ยุทธศาสตร กลยุทธ เปาหมายตัวชี้วัดความสําเร็จ
โครงการ และงบประมาณ สําหรับเปนเครื่องมือในการดําเนินงานในการน้ี ขอขอบคุณคณะทํางานจัดทําแผน
ยุทธศาสตรการพัฒนาการศกึ ษาปฐมวัยเชิงบรู ณาการ จังหวัดนาน พ.ศ. 2566-2570 และผูท่ีเกี่ยวของ ทกุ ทาน
ทใ่ี หความรว มมอื ในการจัดทาํ แผนฉบับน้ี และหวังวาเปนอยา งยิง่ วาการดําเนินงานและการขับเคลื่อนการจัดการศึกษา
ปฐมวยั จงั หวัดนา น จะบรรลุผลสาํ เรจ็ ตามกรอบทศิ ทางท่ีกําหนดตอ ไป

กลมุ นโยบายและแผน
สาํ นักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั นา น

มกราคม 2565

สารบญั

เน้อื หา หนา

 สวนท่ี 1

บทนาํ

- ขอมลู จังหวดั นาน 1-4

- ขอมูลหนวยงานทางการศึกษาในจังหวดั นาน 5-6

- สภาพทั่วไปของการจัดการศึกษาปฐมวยั

ขอ มูลพ้นื ฐานดา นการศกึ ษาปฐมวัยของจังหวัดนาน 7-8

 สว นที่ 2

ทศิ ทางการพัฒนาการศึกษาและความสอดคลอง 9 - 22

- รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560

- ยทุ ธศาสตรช าติ พ.ศ.2561-2580

- แผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรชาติ

- แผนการปฏิรูปประเทศ(ฉบบั ปรับปรงุ )

- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ฉบับทส่ี ิบสอง พ.ศ.2560-2564

- แผนการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ.2560-2579

- แผนยทุ ธศาสตรกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2563 – 2565

- แผนยุทธศาสตรก ารพัฒนาการศกึ ษาปฐมวยั (พ.ศ. 2561-2564)

การพฒั นาเด็กปฐมวัย

- หนวยงานรบั ผดิ ชอบดาํ เนินการจดั บรกิ ารเพ่ือดแู ลและพัฒนาเด็กปฐมวัย 23 - 26

- การดาํ เนนิ งานพัฒนาเด็กปฐมวยั ในพืน้ ท่ีจงั หวดั นาน 27 - 28
 สวนที่ 3

- วิสยั ทัศน พนั ธกจิ เปาหมาย ยุทธศาสตร กลยุทธ 29

- ตารางเปรียบเทียบแผนยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ในระดับตางๆ 30 - 32

 สวนที่ 4 33 - 44
โครงการ/กิจกรรม 45 - 46

 สว นที่ 5
การขบั เคลื่อนสูการปฏบิ ตั ิ

 ภาคผนวก
ประกาศแตงตัง้ คณะทาํ งาน
คณะผูจัดทาํ

สว นท่ี 1
บทนาํ

1. ขอ มลู สภาพทว่ั ไปของจังหวัดนาน
1.1 ท่ตี ้งั และแผนท่ีของจงั หวัดนาน

จังหวัดนานตั้งอยูติดกับชายแดนทางดานทิศตะวันออกของภาคเหนือตอนบน ติดกับ
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) หางจากกรุงเทพมหานครโดยทางรถยนตประมาณ 668
กิโลเมตร บริเวณเสนรุงท่ี 18 องศา 46 ลิปดา 30 ฟลิปดาเหนือ เสนแวงที่ 18 องศา 46 ลิปดา 44 ฟลิปดา
ตะวันออก ระดับความสูงของพื้นท่ี 2 ,112 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง มีพ้ืนท่ปี ระมาณ 7,581,035.02ไร2
(สํานกั งานรัฐบาลอิเลก็ ทรอนิกส ,2559)

1.2 อาณาเขตของจงั หวัดนาน
ทิศเหนือประกอบดวย อําเภอเชียงกลาง อําเภอปว มีอําเภอทุงชาง อําเภอเฉลิมพระเกียรติ

อาํ เภอบอเกลอื ท่ีมีพ้ืนท่ตี ิดตอกบั เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ เชยี งฮอ น - หงสา (สปป.ลาว)
ทิศตะวันออกประกอบดวย อําเภอภูเพียง อําเภอสันติสุข โดยมีอําเภอแมจริม อําเภอเวียงสา

มีพ้นื ทต่ี ดิ ตอ กับแขวงไชยบุรี (สปป.ลาว)
ทศิ ใตป ระกอบดวย อําเภอนานอย อาํ เภอนาหม่ืน มีพื้นทีต่ ิดตอ กับจังหวัดอตุ รดิตถ อาํ เภอนานอย

มพี ื้นที่ติดตอกบั จังหวดั แพร อําเภอเวยี งสา มพี ืน้ ที่ตดิ ตอกับจังหวดั แพร
ทิศตะวันตกประกอบดวย อําเภอบานหลวง มีพื้นที่ติดตอกับอําเภอเชียงมวนจังหวัดพะเยา

อําเภอทา วังผา มีพ้ืนที่ตดิ กบั อาํ เภอปง จังหวัดพะเยา อาํ เภอสองแคว มีพื้นท่ีติดตอกับอาํ เภอเชยี งคาํ จังหวัดพะเยา

จังหวัดนานมีจุดผานแดนสากล 1 จุด คือ ดานบานหวยโกน อําเภอเฉลิมพระเกียรติ

ดานตรงขามของ สปป.ลาว คือ บานน้ําเงิน เมืองเงิน แขวงไชยะบุลี (ดานสากล) และจุดผอนปรนดาน

บานใหมชนแดน อาํ เภอสองแคว และบานหวยสะแตง อาํ เภอทงุ ชา ง กับเมอื งเชียงฮอ นสปป.ลาว

1.3 คําขวญั ของจงั หวัดนา น
“แขงเรอื ลอื เลือ่ ง เมืองงาชา งดาํ จิตรกรรมวดั ภมู นิ ทร แดนดนิ สม สีทอง เรืองรองพระธาตแุ ชแ หง”

1.4 เขตการปกครองของจงั หวดั นา นแบงการปกครองแบง ออกเปน 15 อาํ เภอ 99 ตาํ บล
893 หมูบา น ดงั น้ี

ที่ ชื่ออาํ เภอ จาํ นวนตาํ บล จํานวนหมบู า น
1 เมืองนาน 11 109
2 แมจ ริม 5 38
3 บานหลวง 4 26
4 นานอ ย 7 68
5 ปว 12 107
6 ทาวงั ผา 10 91
7 เวียงสา 17 128
8 ทุงชา ง 5 40
9 เชยี งกลาง 5 60
10 นาหม่นื 4 48
11 สันตสิ ุข 3 31
12 บอเกลือ 4 39
13 สองแคว 3 25
14 ภูเพยี ง 7 61
15 เฉลมิ พระเกียรติ 2 22

 แผนยุทธศาสตรการพฒั นาการศกึ ษาปฐมวัยเชงิ บรู ณาการ จงั หวดั นา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 2}

1.5 ประชากรของจงั หวัดนาน๑
สัดสวนประชากรจังหวัดนานมีประชากรท้ังส้ิน 164,962 หลังคาเรอื น รวมท้ังสนิ้ ๔๗๘,๒๒๗

คน แยกเปน ชาย ๒๓๙,๖๖๑คน หญิง 238,๕๖๖ คน จําแนกตามเพศและอาํ เภอ ดังนี้

อาํ เภอ/เทศบาล ชาย หญงิ รวม อาํ เภอ/เทศบาล
อาํ เภอเมืองนา น 31,๓๘๘ ๓๑,๔๕๐ ๖๒,๘๓๘ อาํ เภอเมืองนาน
อาํ เภอแมจรมิ ๘,๓๐๑ ๘,๐๓๖ ๑๖,๓๓๗ อาํ เภอแมจรมิ
อาํ เภอบา นหลวง ๕,๗๘๔ 5,๗๒๕ 11,๕๐๙ อาํ เภอบานหลวง
อาํ เภอนานอ ย ๑๔,๙๐๒ ๑๔,๘๒๐ ๒๙,๗๗๒ อําเภอนานอย
อําเภอปว 26,๗๓๘ 2๗,๑๐๕ ๕๓,๘๔๓ อําเภอปว
อําเภอทาวังผา 22,๖๖๗ 22,๖๗๑ 45,๓๓๘ อาํ เภอทาวังผา
อาํ เภอเวียงสา ๓๓,๕๕๕ ๓๓,๒๕๒ ๖๖,๘๐๗ อาํ เภอเวียงสา
อําเภอทุงชา ง ๗,๘๕๙ ๗,๗๗๘ ๑๕,๖๓๗ อาํ เภอทุงชาง
อาํ เภอเชียงกลาง ๘,๗๐๒ ๘,๘๑๕ ๑๗,๕๑๗ อําเภอเชียงกลาง
อําเภอนาหมนื่ 7,๒๐๒ ๗,๐๕๒ ๑๔,๒๕๔ อําเภอนาหม่ืน
อําเภอสนั ตสิ ุข ๘,๐๕๕ ๗,๖๐๕ ๑๕,๖๖๐ อําเภอสนั ตสิ ขุ
อําเภอบอเกลือ 7,๘๒๓ ๗,๔๘๕ ๑๕,๓๑๐ อําเภอบอเกลือ
อําเภอสองแคว ๖,๔๒๔ ๖,๐๒๓ ๑๒,๔๔๗ อําเภอสองแคว
อําเภอภเู พียง ๑๗,๗๘๐ ๑๘,๑๖๔ ๓๖,๙๙๔ อําเภอภเู พียง
อําเภอเฉลิมพระเกียรติ 5,0๒๐ ๔,๘๑๔ ๙,๘๓๔ อาํ เภอเฉลิมพระเกียรติ
เทศบาลตําบลเชยี งกลาง ๔,๖๙๕ ๔,๘๘๓ ๙,๕๗๘ เทศบาลตําบลเชยี งกลาง
เทศบาลตาํ บลทุงชาง ๑,๖๗๗ ๑,๖๑๓ ๓,๒๙๐ เทศบาลตําบลทุงชา ง
เทศบาลตําบลเวยี งสา ๑,๒๙๓ ๑,๖๑๓ ๓,๒๙๐ เทศบาลตาํ บลเวียงสา
เทศบาลตาํ บลทาวงั ผา ๒,๔๖๒ ๒,๗๑๔ ๕,๑๗๖ เทศบาลตําบลทาวังผา
เทศบาลตาํ บลปว ๕,๐๒๓ ๕,๓๘๐ ๑๐,๔๐๓ เทศบาลตําบลปว
เทศบาลตําบลนานอย ๑,๑๓๓ ๑,๒๖๘ ๒,๔๐๑ เทศบาลตาํ บลนานอย
เทศบาลเมืองนาน ๙,๔๘๗ ๙,๗๔๘ ๑๙,๒๓๕ เทศบาลเมืองนา น
รวมท้ังส้ิน ๒๓๗,๙๗๐ ๒๓๗,๙๒๔ ๔๗๕,๘๙๔ รวมท้ังสนิ้

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑ทมี่ าของขอมลู : ที่ทําการปกครองจังหวดั นา น กระทรวงมหาดไทย ขอมูล ณ เดอื นธนั วาคม 2564

 แผนยุทธศาสตรการพฒั นาการศึกษาปฐมวยั เชงิ บรู ณาการ จงั หวัดนา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 3}

1.6 สภาพภูมิประเทศและภมู อิ ากาศของจังหวัดนาน
จงั หวดั นา น มีทิวเขาหลวงพระบางและทิวเขาผปี นนํ้า ซงึ่ เปนทิวเขาหนิ แกรนิต ทม่ี ีความสงู 600

- 1,200เมตร เหนือระดบั นาํ้ ทะเลทอดผานท่วั จงั หวัด คดิ เปนพื้นทีป่ ระมาณรอ ยละ 40 ของพ้ืนที่ท้ังจังหวดั ขนาด
พื้นท่ีของจังหวัดนานโดยทั่วไปมีสภาพพื้นท่ีเปนลูกคลื่นลอนชันเกิน 30 องศา ประมาณรอยละ85 ของพ้ืนที่จังหวัด
สวนลูกคล่ืนลอนลาดตามลุมนํ้า จะเปนที่ราบแคบๆ ระหวางหุบเขาตามแนวยาวของลุมนํ้านาน สา วา ปว และ
กอน จงั หวดั นานมพี นื้ ทรี่ วมทง้ั สิน้ 7,581,035.02ไร (สํานกั งานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (องคการมหาชน) (สรอ.),
2559)จําแนกเปน พื้นที่ปาไมและภูเขา 4,654,853.32 ไร คิดเปนรอยละ 61.40พ้ืนที่ท่ีไมใชปาไม
2,926,181.70 ไร คิดเปน รอยละ 38.60

ภูมิอากาศของจังหวัดนานมีความแตกตางกันของฤดูกาล โดยอากาศจะรอนอบอาวในฤดูรอน
และหนาวเย็นในฤดหู นาว โดยไดร บั อทิ ธิพลจากลมมรสมุ ตะวันตกเฉียงใต พัดพาเอาความชุมชื้นมาสูภูมิภาค ทําให
มีฝนตกชุก ในเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน ซ่ึงเปนชวงฤดูฝน และจะไดรับอิทธิพลจากลมมรสุม
ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ พดั พาเอาความหนาวเย็นสภู ูมิภาค ในเดือนตลุ าคมถึงกุมภาพันธ และในชวงเดือนมีนาคมถึง
เมษายน จะไดรบั อิทธพิ ลจากลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉียงใต ทาํ ใหมสี ภาพอากาศรอ นนอกจากนี้จังหวัดนานยังมีสภาพ
ภูมิประเทศโดยรอบเปนหุบเขาและภูเขาสูงชันมาก ทิวเขาวางตัวในแนวเหนือใต ทําใหบริเวณยอดเขาสามารถรบั
ความกดอากาศสูงทแี่ ผม าจากประเทศจีนในฤดูหนาวไดอยางทว่ั ถึงและเต็มที่ ขณะเดียวกันที่ทิวเขาวางตัวเหนือใต
ทาํ ใหเ สมือนกาํ แพงปด ก้นั ลมมรสุมทางทศิ ตะวันออก รวมทั้งยงั มรี ะดับความสูงเฉล่ยี บนยอดเขากับความสูงเฉลี่ยที่
ผิวแตกตางกันมาก และยังมีระดับความสูงเหนือระดับน้ําทะเล จากปจจัยทั้งหลายเหลานี้ ในตอนกลางวัน ถูกอิทธิพล
ของแสงแดดเผาทําใหอุณหภูมิรอนมาก และในตอนกลางคืนจะไดรับอิทธิพลของลมภูเขา พัดลงสูหุบเขา ทําให
อากาศเยน็ ในตอนกลางคนื

1.7 ลกั ษณะทางสังคมของจงั หวดั นาน๒
ลกั ษณะทางสงั คมจะขึ้นอยูกบั กลุมของประชากร โดยประชากรในจังหวดั นา นมอี ยอู ยา งเบาบาง

เปนอันดับ 3 ของประเทศ (ประมาณ 41 คนตอ ตารางกโิ ลเมตร) กระจัดกระจายไปตามสภาพทางภมู ศิ าสตร
แบง ชาติพันธไุ ดเ ปน 5 กลมุ ใหญๆ ดงั นี้

1. ชาวไทยวน หรือ คนเมอื ง สวนใหญอ พยพมาจากเชยี งแสนและบรเิ วณตา งๆ ของลานนา ซึ่งเปน
ประชากรสวนใหญข องจงั หวัด

2. ชาวไทล้ือ ไทยอง สวนใหญอ พยพมาจากสบิ สองปนนาและหัวเมืองตา งๆบริเวณท่รี าบลมุ แมน้าํ
โขง ซ่ึงมีทง้ั อพยพมาดวยความสมัครใจและอพยพมาเน่ืองจากเกดิ ศึกสงครามทั้งภายในหัวเมอื งล้ือเอง และอพยพ
มามากทส่ี ุดยคุ เกบ็ ผกั ใสซ า เก็บขา ใสเมืองของเจากาวลิ ะแหงเชยี งใหม และเจาอัตถวรปญโญฯ แหงนครนาน
และยคุ ของเจาสุมนเทวราช อีกท้งั มีการอพยพเขา มาเรือ่ ยๆ ครั้ง เกดิ การปฏวิ ตั ิการปกครองประเทศของจีน ชาว
ไทลอ้ื อาศยั ต้ังบานเรือนอยูกระจดั กระจายตามลุมนํา้ ตางๆ ในจงั หวดั นานมีมากท่ีสุด คือ อําเภอปวแทบทกุ ตําบล
อําเภอทาวังผา อาํ เภอสองแควอาํ เภอเชยี งกลาง และอําเภอทุงชาง เลยไปถึงอําเภอเฉลิมพระเกียรติ ภาษาไทล้ือใน
จงั หวดั นาน แบงเปน 2 กลมุ คือ

(1) ไทล้ือฝง สบิ สองปน นาตะวันออก ไดแ ก เมอื งลา เมืองมาง (อาศยั อยแู ถบลมุ แมนาํ้ นาน
บรเิ วณชุมชนบานหนองบวั ตาํ บลปาคา อาํ เภอทา วงั ผา และแถวตําบลยอด อาํ เภอสองแคว) สําเนียงพูดใกลเ คียง
กบั ภาษาไทยอีสานปนลาวพวน

(2) ไทลอ้ื ฝง สบิ สองปน นาตะวันตก ไดแ ก เมืองยู เมืองยอง เมอื งเชยี งลาบ เมืองเส้ียว (อาศยั อยู
แถบลุมแมน้ํายา ง บริเวณชุมชนตําบลยม ตาํ บลจอมพระ (บานถอน) อาํ เภอทา วงั ผาแถบลุมแมน้าํ ปว ตําบลศลิ าเพชร
ตาํ บลศิลาแลง อําเภอปว ถงึ ตําบลหวยโกน อําเภอเฉลิมพระเกียรติ) สาํ เนยี งพดู เหมือนสําเนยี งคนยองใน
จงั หวัดลําพูน-เชยี งใหม

(3) ชาวไทพวน หรอื ลาวพวน อยทู ีบ่ า นฝายมลู อําเภอทาวงั ผา และบานหลบั มนื พวน
อาํ เภอเวียงสา

 แผนยุทธศาสตรก ารพฒั นาการศกึ ษาปฐมวยั เชงิ บูรณาการ จงั หวดั นาน (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 4}

(4) ชาวไทเขิน หรือ ชาวขึน อพยพมาจากเชียงตุง ปจจุบันสวนใหญจะถูกกลืนทางวัฒนธรรม
จากคนเมือง ท้ังภาษาพูดและเคร่ืองแตงกาย แตบางหมูบานยังมีการนับถือผีเจาเมืองของไทเขินอยู จึงรวู าเปน
ไทเขิน เชน บานหนองมวง อําเภอทาวังผา สวนบานเชียงยืน ตําบลยม อําเภอ ทาวังผา ถูกชาวไทล้ือกลืน
วัฒนธรรมจนไมเ หลอื เคา ของชาวไทเขิน

(5) ชาวไทใหญ หรอื เงี้ยว หรอื ไตโหลง มีถน่ิ ฐานในรฐั ฉาน และเชียงตุง อาศัยอยูบริเวณแถวอาํ เภอทุงชาง
ในปจจุบันถูกกลืนวัฒนธรรมจนแทบแยกไมออกวาเปนชาวไทใหญนอกจากน้ีในบริเวณที่สูงตามไหล
เขายงั เปน ชมุ ชนของชนกลุมนอ ยที่เรียกกันวา "ชาวเขา"ไดแ ก ชาวมง เมยี่ น ลัวะหรือถิน่ ขมุ รวมถึงชาวตองเหลือง
หรือมาบลี ที่อาศัยอยูในบริเวณพื้นท่ีตําบลแมขะนิง อําเภอเวียงสา ลักษณะสังคมในจังหวัดนาน จึงมีความ
หลากหลาย ผูคนในจังหวัดนานจึงมีภาษาพูดท่ีหลากหลายดวยเชนกัน แตสวนใหญจะพูดภาษาไทยถิ่นเหนอื หรือ
คาํ เมอื งสําเนยี งนาน

--------------------------------------------------------------------------------------------
๒ท่มี าของขอมูล : แผนพัฒนาจังหวดั นา น พ.ศ. 2561 – 2564 จังหวดั นา น

2. ขอมูลหนว ยงานทางการศึกษาและสถานศกึ ษาของจังหวัดนา น
2.1 หนวยงานทางการศกึ ษา
จังหวัดนานมีหนวยงานทางการศึกษาและมีสถานศึกษาในสังกัด ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนท่ีจัด

การศึกษาขั้นพื้นฐาน การอาชีวศึกษา อุดมศึกษาและการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
มีสถานศกึ ษา 662 แหง ดังน้ี

1) สาํ นักงานศึกษาธิการจงั หวดั นา น
ตั้งอยูเลขที่ 506/2 ถนนสุมนเทวราช ตําบลในเวียง อําเภอเมือง จังหวัดนาน รหัสไปรษณีย
55000 สงั กัดสาํ นกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

2) สํานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานา น เขต 1
ตั้งอยูเลขที่114 หมู 6 บานพญาวัด ถนนยันตรกิจโกศล ตําบลดูใต อําเภอเมือง จังหวัดนาน
รหัสไปรษณยี  55000มสี ถานศึกษาในสังกดั 194 แหง

3)สํานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานา น เขต 2
ต้ังอยูท่ีตั้ง เลขที่ 418 ตําบลปว อําเภอปว จังหวัดนาน รหัสไปรษณีย 55120 มีสถานศกึ ษา
ในสงั กดั 148 แหง

4) สํานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษานาน
ตงั้ อยเู ลขที่ เลขที่ 281 หมู 2 บา นแสงดาว ถนนพทุ ธบชู า ตําบลฝายแกว อําเภอภูเพยี ง
จังหวดั นาน 55000
มสี ถานศกึ ษาในสังกดั 30 แหง

5) สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวัดนา น
ต้ังอยูเลขท่ี 84 หมู 6 บานพญาวัด ถนนสุมนเทวราช ตําบลในเวียง อําเภอเมือง จังหวัดนาน
รหัสไปรษณยี  55000มศี นู ย กศน.อําเภอ 15 อําเภอ

6) สถานศกึ ษาเอกชนจังหวัดนาน
สังกัดสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ มีสถานศึกษาในสังกัด 15 แหง ในจังหวัดนานอยูในการกํากับดูแลของ
สํานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั นา น

 แผนยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาการศึกษาปฐมวยั เชงิ บูรณาการ จงั หวัดนาน (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 5}

7) สถานศึกษาสงั กัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา มี 4 แหง ดงั น้ี
วิทยาลยั เทคนคิ นา น

ตั้งอยูเลขที่ 2 ถนนรอบกําแพงเมืองดานตะวันตก ตําบลในเวียง อําเภอเมือง จังหวัดนาน
รหสั ไปรษณยี  55000
วิทยาลยั เทคนิคปว
ต้งั อยูเลขท่ี 237 ถนนนา น-ทงุ ชาง ตาํ บลปว อําเภอปว จงั หวดั นา น รหัสไปรษณีย 55120
วทิ ยาลยั สารพดั ชางนาน
ตง้ั อยูเ ลขท่ี 150 ถนนสุมนเทวราช ตําบลในเวียง อาํ เภอเมือง จังหวดั นา น รหัสไปรษณยี  55000
วิทยาลัยการอาชพี เวยี งสา
ต้งั อยูเ ลขท่ี 138 ตําบลนาเหลอื ง อําเภอเวยี งสา จงั หวัดนา น รหัสไปรษณีย 55110
8) สถานศึกษาสงั กัดสํานักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา มี 5 แหง ดงั น้ี
วทิ ยาลัยชุมชนนาน
ตั้งอยูเลขที่ 10 หมู 5 ถนนยันตรกิจโกศล ตําบลดูใต อาํ เภอเมือง จังหวดั นาน รหสั ไปรษณีย 55000
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลลา นนานาน
ต้ังอยเู ลขที่ 59 หมู 13 ตาํ บลฝายแกว อาํ เภอภูเพียง จังหวดั นา น รหสั ไปรษณยี  55000

วิทยาลยั นาน มหาวิทยาลยั ราชภัฎอตุ รดิตถ
ต้ังอยเู ลขท่ี 199 ถนน โยธาธิการนา น บานนาเคยี นเหนอื หมู 8-บานนาแสนหมู 4
บา นจอมจันทรเหนือหมู 7 ตาํ บลจอมจนั ทร อาํ เภอเวียงสา จังหวัดนาน 55110
จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย (ศนู ยก ารเรยี นรแู ละบริการวชิ าการเครอื ขาย)
ตั้งอยเู ลขท่ีถนนนาน-ทงุ ชาง ตําบลผาสิงห อาํ เภอเมือง จงั หวดั นา น รหสั ไปรษณีย 55000
วิทยาลัยสงฆนครนาน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ
พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี
ตง้ั อยู ณ วดั พระธาตุแชแหง ตําบลฝายแกว อําเภอภูเพียง จังหวัดนาน รหัสไปรษณีย 55000
จัดการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี สําหรับบรรพชิตและคฤหสั ถ

9) สถานศกึ ษาในสงั กัดสํานกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษมี 3 แหง ดงั นี้
ศนู ยการศึกษาพิเศษ
จัดการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน สําหรบั ผูเรียนมคี วามบกพรองทางสติปญญา เด็กดอ ยโอกาสทาง
การศกึ ษา ตั้งอยูเลขท่ี 3 หมู 11 ถนน นา น-พะเยา ตาํ บลไชยสถาน อาํ เภอเมือง จงั หวัดนาน
โรงเรียนนา นปญญานุกลู
จัดการศึกษาระดับขั้นพืน้ ฐาน สาํ หรับผูเรียนท่มี คี วามบกพรองทางสติปญญา ตัง้ อยเู ลขท่ี 103
หมูท่ี 15 ตําบลฝายแกว อาํ เภอภูเพยี ง จังหวัดนาน 55000
โรงเรียนราชประชานุเคราะห 56
จดั การศกึ ษาระดับขนั้ พื้นฐาน สําหรบั ผเู รยี นดอ ยโอกาส ตั้งอยเู ลขท่ี 198 หมู 10 ถนนยันตรกิจ
โกศล ตําบลกลางเวียง อาํ เภอเวยี งสา จังหวดั นาน 55110

10) สถานศกึ ษาสังกัดองคกรปกครองสวนทอ งถิ่น มดี ังนี้
สถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
สงั กดั องคก ารบรหิ ารสวนจงั หวดั นาน จํานวน 1 แหง
สังกดั องคก ารบริหารสวนตําบลแมสา จํานวน 1 แหง
สงั กัดเทศบาลเมอื งนา น จํานวน 3 แหง
สงั กัดเทศบาลตําบลกลางเวยี ง จาํ นวน 1 แหง

 แผนยทุ ธศาสตรการพฒั นาการศกึ ษาปฐมวยั เชงิ บรู ณาการ จงั หวดั นา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 6}

ศนู ยพ ัฒนาเด็กเลก็
สงั กดั องคการบรหิ ารสว นตําบล จํานวน 183 แหง
สังกดั เทศบาล จาํ นวน 37 แหง
11) สถานศึกษาสังกัดกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน กองกํากับการตํารวจตระเวนชายแดน
ท่ี 32 คา ยพญางําเมือง จงั หวัดพะเยา
ตง้ั อยตู ําบลบานตอ ม อําเภอเมอื ง จงั หวดั พะเยา 56000มสี ถานศกึ ษา 2 แหง
12) สาํ นักงานพระพทุ ธศาสนาจงั หวัดนา น
ตัง้ อยู 43 ถนนหนอคาํ ตําบล ในเวยี ง อําเภอเมอื ง จังหวัดนาน 55000 มสี ถานศกึ ษา 15 แหง
13) สํานักงานสง เสรมิ การปกครองทองถน่ิ จงั หวัดนา น
ต้งั อยู ณ ศนู ยร าชการจังหวัดนาน ชน้ั 5ตาํ บลไชยสถาน อาํ เภอเมอื ง จังหวัดนา น 55000

3. ขอ มูลพน้ื ฐานดา นการศึกษาปฐมวัยของจังหวัดนา น
1) จาํ นวนสถานศึกษา/ศนู ยพัฒนาเดก็ ปก ารศึกษา 2564 จําแนกรายสังกดั

สังกัด โรงเรยี น ศนู ย รวม
12 พัฒนาเดก็ 12
รวมท้ังหมด
กระทรวงศกึ ษาธิการ -
สพป.นา น เขต 1
สพป.นา น เขต 2
สํานักงานคณะกรรมการสง เสริมการศกึ ษาเอกชน
กระทรวงมหาดไทย
เทศบาลเมือง
เทศบาลตาํ บล
องคก ารบรหิ ารสวนตําบล
กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย
สถานรบั เลี้ยงเด็กเอกชน

2) จาํ นวนครแู ละพ่ีเล้ียงเดก็ ปฐมวัยจาํ แนกรายสังกดั ครู พ่เี ล้ยี งเดก็ รวม
60 50 112
สงั กัด
รวมทั้งหมด
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
สพป.นาน เขต 1
สพป.นาน เขต 2
สํานกั งานคณะกรรมการสง เสริมการศกึ ษาเอกชน
กระทรวงมหาดไทย
เทศบาลเมือง
เทศบาลตาํ บล
องคก ารบรหิ ารสวนตําบล
กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย
สถานรบั เลีย้ งเดก็

 แผนยทุ ธศาสตรก ารพัฒนาการศกึ ษาปฐมวยั เชิงบรู ณาการ จังหวัดนาน (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 7}

3) จาํ นวนเดก็ ปฐมวัย เด็กปฐมวัย (อนบุ าล 1-3) ในสถานศึกษา ปก ารศกึ ษา 2564 จาํ แนกรายสงั กัด

สังกดั รวม เตรียมอนุบาล เด็กเล็ก/ปฐมวยั อนบุ าล 1 อนบุ าล 2 อนุบาล 3
ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง
รวม รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง
792 696 - - - - - - 471 258 213
รวมท้ังหมด

กระทรวงศกึ ษาธิการ

สํานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

ประถมศกึ ษานาน เขต 1

สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษานา น เขต 1

สํานกั งานคณะกรรมการสง เสรมิ 1,488 456 243 213 561 291 270
การศกึ ษาเอกชน

กระทรวงมหาดไทย

กรมสง เสริมการปกครองทองถ่ิน

กระทรวงการพฒั นาสังคมและ

ความม่นั คงของมนษุ ย

สถานรบั เลยี้ งเดก็

 แผนยทุ ธศาสตรก ารพัฒนาการศกึ ษาปฐมวยั เชงิ บูรณาการ จงั หวัดนา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา ๘}

สว นที่ 2
ทิศทางการพฒั นาการศึกษาและความสอดคลอง

1. ความสอดคลอง
แผนยทุ ธศาสตรการพฒั นาการศึกษาปฐมวัยเชิงบูรณาการ จังหวัดนาน พ.ศ. 2566-2570 ไดจัดทํา

ภายใตก รอบแนวคิดแผนระดับ 1 ระดับ 2 และ 3 ยุทธศาสตรระดับชาติที่สอดคลองและสนับสนนุ การจัดทําแผน
ใหเปนรูปธรรมไดแก ยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ป (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและ
เสริมสรางศักยภาพทรพั ยากรมนุษย และยทุ ธศาสตรชาติดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม เพราะ
ทรัพยากรมนุษยที่จะเปนกําลังสําคัญของประเทศในอนาคตจําเปนตองสรางตั้งแตทารกอยูในครรภมารดา การ
พัฒนาเด็กต้ังแตระดับปฐมวัยจึงถือเปนการลงทุนท่ีใหผลคุมคามากท่ีสุดตอการสรางรากฐานของชีวิตอยางยั่งยืน
โดยเฉพาะในชวง ๑,๐๐๐ วันแรกของชีวิต การสรา งภูมิคุมกันที่ดีต้ังแตเร่มิ ตน การสงเสริมพัฒนาการตามวัย การ
สรางโอกาสและความเสมอภาคในการเขาถึงบริการทางสังคมของรัฐอยางท่ัวถึง เชน ดานสาธารณสุข ดาน
การศกึ ษาดานสวัสดิการสังคม รวมถึงการใหความรูแกพอแม ผูปกครอง ผูดูแลเด็ก จะเปนรากฐานสําคัญใหเด็ก
สามารถพัฒนาไดเต็มตามศักยภาพ ทั้งทางดานรางกาย จิตใจ วินัย อารมณ สังคม และสติปญญา มีพัฒนาการ
สมวยั และเติบโตเปน กําลงั สาํ คญั ของประเทศ ดงั นี้

- รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560
- ยทุ ธศาสตรช าติ พ.ศ.2561-2580
- แผนแมบ ทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ
- แผนการปฏริ ูปประเทศ(ฉบบั ปรบั ปรงุ )
- แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบับทส่ี บิ สอง พ.ศ.2560-2564
- แผนการศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ.2560-2579
- แผนยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2563 – 2565
- แผนยุทธศาสตรการพฒั นาการศึกษาปฐมวยั (พ.ศ. 2561-2564)

1) รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560
ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กฎหมายหลักในการปกครอง
ประเทศไดกําหนดหมวดสาํ คญั ๆ ท่เี กี่ยวกบั การจัดการศึกษา การสงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา และการ
เขารบั บรกิ ารการศึกษาของประชาชน
หมวดหนาท่ีของปวงชนชาวไทย มาตรา 50 (4) บุคคลมีหนาที่เขารับการศึกษาอบรมใน
การศกึ ษาภาคบังคับ
หมวดหนา ทข่ี องรัฐ มาตรา 54 รัฐตอ งดาํ เนนิ การใหเ ด็กทกุ คนไดรบั การศึกษาเปนเวลาสิบสองป
ตั้งแตกอนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอยางมีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย รัฐตอง ดําเนินการใหเดก็ เล็ก
ไดรับการดูแลและพัฒนากอนเขารับการศึกษาภาคบังคับ เพื่อพัฒนารางกาย จิตใจ วินัย อารมณ สังคม
และสตปิ ญ ญา ใหสมกับวัย โดยสงเสริมและสนับสนุนใหองคก รปกครองสวนทองถ่ินและภาคเอกชนเขามามสี ว น
รวมในการดําเนินการดวย รัฐตองดําเนินการใหประชาชนไดรับการศึกษาตามความตองการในระบบตาง ๆ
รวมทั้งสงเสริมใหมีการเรียนรูตลอดชีวิตและจัดใหมีการรวมมือระหวางรัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่นและ
ภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหนาที่ดําเนินการ กํากับ สงเสริมและสนับสนุนใหการจัด
การศกึ ษาดังกลาวมีคณุ ภาพและไดมาตรฐานสากล ท้ังนี้ ตามกฎหมายวาดวยการศกึ ษาแหงชาติซ่ึงอยางนอยตอง
มบี ทบัญญัติเก่ียวกบั การจัดทําแผนการศกึ ษาแหง ชาติ และการดําเนินการและตรวจสอบการดําเนินการใหเปนไป
ตามแผนการศึกษาแหงชาติดวย การศึกษาท้ังปวงตองมุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดีมีวินัย ภูมิใจในชาติมี
ความสามารถเชี่ยวชาญไดตามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบตอครอบครัว ชุมชน สังคมและ

ประเทศชาติ ในการดําเนินการใหเด็กเล็กไดรับการดูแล และพัฒนากอนเขารับการศึกษาภาคบังคับ หรือให
ประชาชนไดรับการศึกษาตามความตองการในระบบตาง ๆและไดรับการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต รัฐตอง
ดําเนนิ การใหผ ูขาดแคลนทนุ ทรพั ยไดรับการสนับสนุนคาใชจา ยในการจดั การศกึ ษาตามความถนัดของตนใหจัดต้ัง
กองทุนเพ่ือใชใ นการชวยเหลือผูขาดแคลนทุนทรัพยเ พ่ือลดความเหล่ือมลํ้าในการศึกษาและเพ่ือเสริมสรางและ
พัฒนาคณุ ภาพและประสิทธิภาพครูโดยใหรัฐจัดสรรงบประมาณใหแกกองทนุ หรือใชมาตรการหรือกลไกทางภาษี
รวมท้ังการใหผูบริจาคทรพั ยสินเขากองทุนไดรับประโยชน ในการลดหยอนภาษีดวย ทั้งนี้ตามท่ีกฎหมายบัญญัติ
ซ่ึงกฎหมายดังกลาวอยางนอยตองกําหนดใหการบริหารจัดการกองทุนเปนอิสระและกําหนดใหมีการใชจาย
เงินกองทนุ เพ่ือบรรลุวัตถุประสงคด ังกลาว

หมวดการปฏิรูปประเทศ มาตรา 258 (จ) ใหดําเนินการปฏิรูปประเทศในดานการศึกษาให
เกิดผลดงั ตอ ไปน้ี

(1) เริ่มดําเนนิ การใหเด็กเลก็ ไดรับการดูแลและพัฒนากอนเขารับการศึกษาภาคบังคบั เพื่อให
เด็กเล็กไดรบั การพัฒนารา งกาย จิตใจ วนิ ัย อารมณ สงั คม และสตปิ ญญาใหส มกับวัยโดยไมเก็บคา ใชจ า ย

(2) ดําเนินการตรากฎหมายเพ่ือจัดตั้งกองทุนเพื่อใชใ นการชวยเหลือผูขาดแคลนทุนทรพั ยเ พื่อ
ลดความเหล่ือมลํ้าในการศึกษาและเพ่ือเสริมสรางและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู ใหแลวเสร็จภายใน
หนึง่ ปน ับตั้งแตวนั ประกาศใชร ฐั ธรรมนูญน้ี

(3) ใหมกี ลไกและระบบการผลิต คดั กรอง และพฒั นาผปู ระกอบวิชาชีพครูและอาจารยใ หไดผูมี
จิตวิญญาณแหงความเปนครูมีความรูความสามารถอยางแทจริง ไดรับคาตอบแทนท่ีเหมาะสมกับความสามารถ
และประสทิ ธภิ าพในการสอน รวมทั้งมกี ลไกสรา งระบบคณุ ธรรมในการบริหารงานบคุ คลของผูประกอบวิชาชพี ครู

(4) ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพื่อใหผูเรียนสามารถเรียนไดตามความถนัด
และปรับปรุงโครงสรางหนวยงานทเ่ี กี่ยวของเพื่อบรรลุเปาหมายดังกลาว โดยสอดคลองกันทั้งในระดับชาตแิ ละ
ระดับพ้นื ทด่ี งั กลาว

หมวดการปฏริ ูปประเทศ มาตรา 261 ในการปฏิรูปตามมาตรา 258 ดานการศึกษาใหมี
คณะกรรมการทีม่ ีความเปนอิสระคณะหนงึ่ ที่คณะรฐั มนตรีแตงตั้งดําเนนิ การศกึ ษาและจดั ทําขอเสนอแนะและราง
กฎหมายท่เี กีย่ วขอ งในการดําเนนิ การใหบรรลเุ ปาหมาย เพอ่ื เสนอคณะรัฐมนตรดี าํ เนนิ การ

2) ยทุ ธศาสตรชาติ พ.ศ.2561-2580
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 บัญญัติใหรัฐพึงจัดใหมียุทธศาสตรชาติเปน
เปาหมายการพัฒนาประเทศอยางย่ังยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใชเปนกรอบในการจัดทําแผนตาง ๆให
สอดคลอ งและ บรู ณาการกันเพ่อื ใหเกิดเปน พลงั ผลกั ดันรว มกนั ไปสเู ปา หมาย
วิสัยทศั น “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
เปาหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนา
อยา งตอเน่ืองสังคมเปนธรรม ฐานทรพั ยากรธรรมชาติยงั่ ยนื ”
ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ 6 ดาน และภารกิจสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
สนบั สนุนใหบ รรลุเปา หมายการพัฒนาท่ีสําคัญทั้ง 6 ดาน ดงั น้ี

1) ยุทธศาสตรด านความมนั่ คง
2) ยุทธศาสตรชาติดา นการสรางความสามารถในการแขงขนั
3) ยุทธศาสตรช าติดา นการพฒั นาและเสริมสรา งศักยภาพทรัพยากรมนุษย
4) ยทุ ธศาสตรช าตดิ านการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
5) ยุทธศาสตรช าติดานการสรา งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวติ ท่ีเปน มิตรกับส่งิ แวดลอม
6) ยุทธศาสตรชาตดิ านการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ

 แผนยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาการศึกษาปฐมวยั เชิงบูรณาการ จังหวดั นาน (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 10}

การประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตรช าติ
1) ความอยูดีมสี ุขของคนไทยและสังคมไทย
2) ขดี ความสามารถในการแขงขนั การพฒั นาเศรษฐกจิ และการกระจายรายได
3) การพฒั นาทรัพยากรมนุษยของประเทศ
4) ความเทาเทียมและความเสมอภาคของสังคม
5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพส่งิ แวดลอม และความยัง่ ยนื ของ
ทรัพยากรธรรมชาติ
6) ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการและการเขาถึงการใหบ ริการของภาครฐั

3) แผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรชาติ
แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ เปนแผนแมบทเพื่อบรรลุเปาหมายตามที่กําหนดไวในยุทธศาสตรชาติ มีผล
ผูกพนั ตอ หนว ยงานของรัฐที่เก่ียวขอ งจะตอ งปฏิบตั ิใหเปน ไปตามนน้ั รวมท้งั การจดั ทํางบประมาณรายจายประจําป
ตองสอดคลองกับแผนแมบ ทดว ย โดยแผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ ประกอบดวย 23 ประเด็น 62 แผนยอย
(ประกาศสานักนายกรฐั มนตรี เร่ืองการประกาศแผนแมบ ทภายใตยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ.2561-2580) ณ วันที่
18 เมษายนพ.ศ. 2562ซึ่งเกี่ยวของกับภารกิจสํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ 12 ประเดน็ 16 แผนยอย
แตไ ดร บั จัดสรรงบประมาณ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 11 ประเดน็ 18 แผนยอยดงั นี้

(1)ประเด็นความม่ันคง ใน 2 แผนยอย ไดแก 3.1 การรักษาความสงบภายในประเทศ
3.2 การปองกันและแกไขปญ หาทีม่ ีผลกระทบตอ ความมนั่ คง

(6) ประเดน็ พ้ืนทีแ่ ละเมืองนาอยูอัจฉริยะ ใน 1 แผนยอย ไดแก 3.1 การพัฒนาเมืองนาอยู
อัจฉริยะ

(10) ประเด็นการปรับเปล่ียนคานิยมและวัฒนธรรม ใน 1 แผนยอย คือ 3.1 การปลูกฝง
คุณธรรม จริยธรรม คา นยิ ม และการเสรมิ สรางจติ สาธารณะและการเปน พลเมืองท่ีดี

(11) ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชว งชีวิต ใน 4 แผนยอ ย ไดแก 3.2 การพัฒนา
เดก็ ต้ังแตช ว งการต้งั ครรภจนถงึ ปฐมวัย 3.3 การพัฒนาชวงวัยเรยี น/วัยรนุ 3.4 การพัฒนาและยกระดบั ศักยภาพ
วัยแรงงาน 3.5 การสง เสริมศักยภาพผสู ูงอายุ

(12) ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู ใน 1 แผนยอย ไดแ ก 3.1 การปฏิรูปกระบวนการเรยี นรู
ที่ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21

(17)ประเด็นความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคมใน 1 แผนยอย คือ 3.1
การคมุ ครองทางสังคมข้ันพ้ืนฐานและหลักประกันทางเศรษฐกจิ สงั คม และสุขภาพ

(18) ประเดน็ การเติบโตอยา งย่งั ยนื ใน 1 แผนยอ ย ไดแ ก 3.5 การยกระดบั กระบวนทัศนเพื่อ
กําหนดอนาคตประเทศ

(20) ประเด็นการบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐใน 4 แผนยอย ไดแก 3.1
การพัฒนา บรกิ ารประชาชน 3.2 การบรหิ ารจดั การการเงินการคลัง 3.4 การพฒั นาระบบบริหารงานภาครัฐ 3.5
การสรางและพัฒนาบคุ ลากรภาครัฐ

(21) ประเดน็ การตอตานการทุจริตและประพฤติมิชอบ ใน 1 แผนยอย คือ 3.1 การปองกัน
การทุจรติ และประพฤติมชิ อบ

(22)ประเด็นกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ใน 1 แผนยอย คอื 3.1 การพัฒนากฎหมาย
(23) ประเด็นการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมใน 1 แผนยอย ไดแก 3.4 การวิจัยและพัฒนา
นวัตกรรมดานองคความรูพ นื้ ฐาน

 แผนยทุ ธศาสตรการพฒั นาการศึกษาปฐมวยั เชิงบูรณาการ จังหวดั นา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 11}

4) แผนการปฏิรปู ประเทศ
คณะรัฐมนตรมี มี ตเิ ห็นชอบรางแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรบั ปรงุ ) 13 ดาน พรอมกับแนวทางการ
ขับเคลอ่ื นแผนฯ (ฉบบั ปรับปรุง) เม่ือวนั ที่ 8 ธันวาคม 2563 โดยมีสาระสาํ คัญ ดงั น้ี
1. เห็นชอบ รา งแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) 13 ดาน ตามท่ีคณะกรรมการยทุ ธศาสตรชาติ
พจิ ารณาใหค วามเห็นชอบแลวเมือ่ วันที่ 9 พฤศจกิ ายน 2563 ไดแ ก 1) ดา นการเมือง 2) ดา นการบริหารราชการ
แผนดิน3) ดานกฎหมาย 4) ดานกระบวนการยุติธรรม 5) ดานเศรษฐกิจ 6) ดานทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม7) ดานสาธารณสุข 8) ดานสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ 9) ดานสังคม 10) ดานพลังงาน
11) ดานการปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติ มิชอบ 12) ดา นการศึกษาและ 13) ดานวัฒนธรรม
กีฬา แรงงาน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย
2. เหน็ ชอบแนวทางการขบั คล่อื นแผนการปฏิรูปประเทศฯ (ฉบับปรับปรงุ ) และกิจกรรมปฏิรูปที่จะสงผล
ใหเ กดิ การเปลย่ี นแปลงตอ ประชาชนอยา งมนี ยั สาํ คญั (Big Rock) สาระสาํ คัญทเ่ี กี่ยวของ ดงั น้ี

2.1 การดาํ เนนิ กิจกรรมของแผนการปฏิรูปประเทศเดมิ ใหดําเนนิ การคูขนานกบั กจิ กรรม
Big Rock โดยหนว ยงานรับผดิ ชอบหลักรบั ไปดําเนินการในลักษณะภารกจิ ปกตขิ องหนว ยงาน

2.2 สํานกั งบประมาณใหค วามสําคญั ในการจดั สรรงบประมาณเพื่อใชใ นการดําเนินโครงการ
ภายใตก ิจกรรม Big Rock เพอ่ื ใหเกิดการเปลยี่ นแปลงแผนการปฏริ ูปประเทศไปสูการปฏิบัติไดอยา งเปน รูปธรรม

2.3 คณะกรรมการปฏริ ปู ประเทศ 2 คณะ และหนวยงานหลัก 36 แหง รับผิดชอบ 62 กิจกรรม Big
Rock ท่มี ีเปา หมายสอดคลอ งกับเปา หมายการพัฒนาประเทศ ทกี่ าํ หนดไวใ นยทุ ธศาสตรช าตแิ ละแผน 21 แมบ ทฯ
รว มกนั ขบั เคล่ือนแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรบั ปรงุ ) ใหแลว เสรจ็ ภายในป 2565 โดยมกี ฎหมายที่ตอ งจัดทํา
หรือปรบั ปรุง รวมทัง้ สิน้ 45 ฉบับ

 แผนการปฏริ ปู ประเทศดา นการศึกษา
มีเปา ประสงค เพื่อยกระดับคุณภาพของการจดั การศึกษา ลดความเหลอื่ มลํ้าทางการ ศึกษา
มงุ ความเปนเลศิ และสรา งขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ ปรับปรงุ ระบบการศกึ ษาใหม ีประสิทธภิ าพ
ในการใชท รัพยากร เพ่ิมความคลองตวั ในการรองรับความหลากหลาย ของการจัดการ ศึกษาและสรา งเสรมิ ธรรมภิบาล
ซ่งึ ครอบคลมุ การปฏิรูปการเรียนรตู ลอดชีวติ
กิจกรรม Big Rock ท่ีเก่ียวของ คือ การสรางโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาตงั้ แตร ะดับปฐมวัย
พัฒนาการจดั การเรียนการสอนสกู ารเรียนรฐู านสมรรถนะ เพื่อตอบสนองการ เปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
การปฏริ ปู กลไกและระบบการผลติ และพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาใหมี คณุ ภาพมาตรฐาน
กจิ กรรมปฏิรปู ท่ี 1 การสรางโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษาตัง้ แตร ะดับปฐมวัย
ข้นั ตอนการดําเนินการปฏิรปู
1. การพัฒนาเคร่อื งมอื และระบบบรู ณาการทํางานเพื่อสนับสนนุ การดําเนินการปฏิรูป
2. การสนบั สนนุ นวัตกรรมการปอ งกนั (Prevention) และการแกไข (Correction) ปญหาเด็กและเยาวชนออก
จากระบบการศึกษาตั้งแตร ะดับปฐมวยั เพอื่ ลดความเหล่ือมลํา้ ทางการศกึ ษา
3. การสนบั สนนุ กลไกการดําเนินงานในระดับพน้ื ที่และตน สังกัด
4. การติดตามความคบื หนาและการระดมการมสี ว นรวมของสงั คม
กจิ กรรมปฏิรูปที่ 2 การพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนสูการเรยี นรูฐานสมรรถนะ เพ่ือตอบสนองการ
เปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21
ข้ันตอนการดําเนินการปฏริ ปู
1. ปรบั แนวทางการจัดการเรยี นรทู กุ ระดับ
2. พัฒนาครูใหมีศกั ยภาพในการออกแบบการเรยี นรู

 แผนยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาการศกึ ษาปฐมวัยเชิงบรู ณาการ จงั หวัดนา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 12}

3. ปรับปรุงระบบการวัดผลและประเมินผล
4. สง เสรมิ การมสี ว นรวมในการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรูกบั ภาคเี ครือขายตาง ๆ ทง้ั ภายในและภายนอก

โรงเรยี น
5. คณะกรรมการปฏิรปู ประเทศดา นการศกึ ษา ประชุมหนวยงานผรู บั ผดิ ชอบ ตดิ ตามความคบื หนาในการ
ดําเนนิ การ

กิจกรรมปฏิรูปที่ 3 การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการ ศึกษาใหมีคุณภาพ
มาตรฐาน

ขัน้ ตอนการดาํ เนนิ การปฏิรปู
ดานกลไกและระบบการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาสายสามัญศึกษาและสายอาชีวศึกษาใหมีคุณภาพ
ประสทิ ธิภาพและมีความกาวหนา ในการประกอบอาชพี
ขั้นตอนท่ี 1 การศึกษาวิเคราะหและกําหนดสมรรถนะและการพัฒนามาตรฐานและตัวชี้วัดสมรรถนะครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษา
ข้ันตอนท่ี 2 การศึกษาวิเคราะหและกําหนดสมรรถนะและการพัฒนามาตรฐานและตัวชี้วัดสมรรถนะครูและ
บุคลากรทางการศกึ ษา และการพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศกึ ษาตามความตองการจาํ เปน
ข้ันตอนที่ 3 การศึกษาและพัฒนาระบบ/รูปแบบการนิเทศ การตดิ ตามชวยเหลือ ครูและการพัฒนาสมรรถนะ
ศกึ ษานเิ ทศกตามความตอ งการจําเปน
ข้ันตอนที่ 4 การสงเสริม สนับสนุนระบบกลไกใหครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการพัฒนาอยางตอเน่ือง
โดยเฉพาะการติดตามชว ยเหลือครูใหม ครูที่ไมมีวุฒิทางการศกึ ษา ครูทม่ี ีความรู ความสามารถและมีคณุ ลักษณะ
ไมเ พยี งพอกบั การปฏบิ ัตงิ านในหนาท่ี ครูและสถานศกึ ษาในทองถิ่นยากจน หางไกลและทุรกันดาร อาทิ การรวมมือ
กับชุมชน (PLC&CPD: (Professional Learning Community & Continuous Professional Development)
การศกึ ษาอบรม และแพลตฟอรมกระบวนการจดั การเรียนรกู าร บริหารการศึกษาและการนิเทศการศกึ ษา
ขนั้ ตอนที่ 5 การปรับปรงุ ระบบการประเมนิ การปฏิบัตงิ านและสมรรถนะวชิ าชีพครู
ขน้ั ตอนที่ 6 การพัฒนาระบบกลไกในการเล่ือนวิทยฐานะทีไ่ ดรบั การปรบั ปรุงใหมและการคงวทิ ยฐานะของครู โดย
นําผลการประเมินวทิ ยฐานะไปเปนสว นสาํ คญั ในการประเมนิ และการปรับปรุงคาตอบแทนท่ีเหมาะสม

 แผนการปฏิรูปประเทศดานอืน่ ๆ ท่เี กย่ี วของ
มีประเด็นทีเ่ กยี่ วกบั การศึกษาเอกชนทีส่ ําคญั ดังน้ี

ดานการเมือง มีประเด็นท่ีเกี่ยวของ คือ การสงเสริมความรูทางการเมืองการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยทรงเปนประมขุ การสรา งความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ทของคนในชาติ

ดานการบริหารราชการแผน ดิน มีประเด็นที่เกี่ยวขอ ง คอื การปรับเปลยี่ นรูปแบบการบริหารงานและการ
บริการภาครัฐไปสูระบบดิจิทัล การจัดโครงสรางองคกร และระบบงานภาครัฐใหมีความยืดหยุน คลองตัวและ
เปล่ยี นแปลงไดตามสถานการณ ปรบั เปล่ียนการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐสูระบบเปด เพื่อใหไดม าและรักษา
ไวซง่ึ คนเกง ดี และมีความสามารถอยา งคลองตัว ตามหลักคุณธรรม การสรางความเขมแข็งในการบริหารราชการ
ในระดับพ้ืนท่ี โดยการมีสว นรวมของประชาชน การขจัดอุปสรรคในการจัดซ้ือจัดจางภาครัฐ และการเบิกจายเงิน
เพอื่ ใหเกิดความรวดเรว็ คมุ คา โปรงใส ปราศจากการทุจรติ

ดานกฎหมาย มีประเด็นที่เก่ียวของ คือ การยกเลิกหรือแกไขปรับปรุงกฎหมายท่ีสรางภาระหรือเปน
อุปสรรคตอการดํารงชีวิตหรือการประกอบอาชีพของประชาชน เพ่ือขับเคล่ือนใหเกิดผลอยางมีประสทิ ธภิ าพและ
เปน รปู ธรรม การจัดใหมกี ลไกกําหนดใหสว นราชการหรอื หนวยงานของรัฐซึง่ มีหนาที่ควบคุมกํากับดูแล และบังคับ
การใหเปนไปตามกฎหมาย นําเทคโนโลยีมาใชในการดําเนินการเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการบังคับใชกฎหมาย
การจดั ทําประมวลกฎหมายเพื่อรวบรวมกฎหมายเรอ่ื งเดยี วกนั ไวดวยกันเพื่อความสะดวกในการใชงาน

 แผนยุทธศาสตรก ารพฒั นาการศกึ ษาปฐมวัยเชิงบรู ณาการ จังหวดั นาน (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 13}

ดา นเศรษฐกิจ มีประเด็นท่ีเก่ยี วของ คือ การพัฒนาศักยภาพคนเพ่ือเปนพลังในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจ
ดานทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ ม มีประเด็นที่เก่ยี วของ คือ การมีสวนรวมในการบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ มทม่ี ีประสทิ ธิภาพ
ดา นสือ่ สารมวลชน เทคโนโลยสี ารสนเทศ มีประเด็นที่เก่ียวของ คอื การพัฒนา ระบบคลังขอมูลขาวสาร
เพื่อการประชาสัมพนั ธเชงิ รุกและการจดั การ การยกระดบั การรูเทา ทนั สือ่
ดานสังคม มีประเดน็ ที่เกี่ยวขอ ง คือ การแกไขปญ หาความยากจนและความเหล่ือมล้ํา ในสังคม การคุมครอง
กลุมเปราะบางในสังคม ตลอดจนการสรางความเปนธรรมในการเขา ถึงทรพั ยากรและแหลงทนุ ของประชาชน
ดานการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมิชอบ มีประเดน็ ที่เกี่ยวของ คอื การสงเสริมการ
มีสวนรวมของภาคประชาชนในการตอตานการทุจริต พัฒนาระบบคุมครองผูแจงเบาะแสการทุจริตท่ีมีประสิทธิภาพ
พัฒนากระบวนการยุติธรรมท่ีรวดเร็ว โปรงใส ไมเลือกปฏิบัติในการดําเนินคดีทุจริตทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
การพัฒนาระบบราชการไทยใหโปรง ใส ไรผลประโยชน และการพัฒนามาตรการสกัดกั้นการทุจริตเชิงนโยบายใน
การดําเนินโครงการขนาดใหญ

5) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ฉบับท1่ี 2 พ.ศ.2560-2564
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดจัดทําแผนพัฒนา
เศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบบั ที่สบิ สองพ.ศ.2560-2564 สาํ หรบั ใชเปน แผนพัฒนาประเทศไทยในระยะ 5 ป
ซ่ึงเปนการแปลงยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป สูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม เพื่อเตรียมความพรอมและ
วางรากฐานในการยกระดับประเทศไทยใหเปนประเทศที่พัฒนาแลว มีความม่ันคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน ดวยการพัฒนา
ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ยุทธศาสตรการพัฒนา 10 ยุทธศาสตร โดยมี 6 ยุทธศาสตรตามกรอบยุทธศาสตรชาติ
(พ.ศ.2561-2580) และอีก 4 ยทุ ธศาสตรท่ีเปนปจจัยสนบั สนุน ซ่ึงภารกิจสํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ
สนับสนุนใหบรรลุเปาหมายรวม 9 ยุทธศาสตร ไดแก ยุทธศาสตรที่ 1) การเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพทุน
มนุษย ยุทธศาสตรที่ 2) การสรางความเปนธรรมลดความเหลื่อมล้ําในสังคมยุทธศาสตรท่ี 3) การสรางความ
เขมแข็งทางเศรษฐกิจและแขงขันไดอยางย่ังยืน ยุทธศาสตรที่ 4) การเติบโตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอมเพ่ือการ
พัฒนาอยางยั่งยืน ยุทธศาสตรท ี่ 5) การเสริมสรางความม่ันคงแหงชาติเพ่ือการพัฒนาประเทศสูความม่ันค่ังและ
ย่ังยืน ยุทธศาสตรท่ี 6) การบริหารจัดการในภาครัฐ การปองกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลใน
สังคมไทย ยุทธศาสตรที่ 7) การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและระบบโลจิสติกส ยุทธศาสตรท่ี 8) การพัฒนา
วิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจยั และนวตั กรรม ยทุ ธศาสตรท ่ี 9) การพฒั นาภาค เมือง และพน้ื ที่เศรษฐกจิ

6) แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2560-2579
แผนการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 เปนแผนที่วางกรอบเปาหมายและทิศทางการ
จัดการศึกษาของประเทศ โดยมุงจัดการศึกษาใหคนไทยทุกคนสามารถเขาถึงโอกาสและความเสมอภาคใน
การศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคนใหมีสมรรถนะในการ
ทํางานที่สอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ แนวคิดการจัดการศึกษาตาม
แผนการศึกษาแหงชาติ ยึดหลักสําคัญในการจัดการศึกษาประกอบดวย หลักการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน
(Education for All) หลักการจัดการศกึ ษาเพ่ือความเทาเทียม และทั่วถึง (Inclusive Education) หลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และลักการมีสวนรว มของสังคม (All For Education) อีกทั้งยึด
ตามเปาหมายการพัฒนาทีย่ ั่งยืน(SustainableDevelopment Goals : SDGs 2030) ประเดน็ ภายในประเทศ
(Local Issues) อาทิ คุณภาพของคนชวงวยั การเปลี่ยนแปลงโครงสรา งประชากรของประเทศ ความเหลอ่ื มลํ้า
ของการกระจายรายได และวกิ ฤตดิ า นส่งิ แวดลอม โดยนาํ ยุทธศาสตรชาติมาเปนกรอบความคิดสําคัญในการจัดทาํ
แผนการศกึ ษาแหงชาติ โดยมสี าระสาํ คัญ ดังน้ี

 แผนยุทธศาสตรก ารพัฒนาการศกึ ษาปฐมวยั เชิงบูรณาการ จังหวดั นา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 14}

วิสัยทศั น :คนไทยทุกคนไดร ับการศกึ ษาและเรียนรตู ลอดชีวิตอยา งมคี ณุ ภาพ ดํารงชีวิตอยางเปน
สุข สอดคลองกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและการเปลย่ี นแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21

วตั ถปุ ระสงค
1. เพ่ือพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มีคณุ ภาพและมปี ระสทิ ธิภาพ
2. เพ่ือพัฒนาคนไทยใหเปนพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะท่ีสอดคลองกับ

บทบญั ญตั ขิ องรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหงชาติ และยุทธศาสตรช าติ
3. เพือ่ พฒั นาสังคมไทยใหเปนสังคมแหงการเรยี นรู และคุณธรรม จรยิ ธรรม รูรักสามคั คีและ

รว มมือผนึกกําลังมงุ สูการพัฒนาประเทศอยางยง่ั ยนื ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4.เพือ่ นําประเทศไทยกา วขามกบั ดักประเทศที่มีรายไดปานกลางและความเหลือ่ มลาํ้ ภายในประเทศลดลง

ยุทธศาสตรแผนการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 ประกอบดว ย 6 ยุทธศาสตร
ซ่งึ เกี่ยวของกบั ภารกิจของสาํ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการทัง้ 6 ยุทธศาสตร ดังนี้

ยุทธศาสตรท ี่ 1 การจดั การศึกษาเพือ่ ความม่นั คงของสังคมและประเทศชาติ
เปาหมาย 1) คนทุกชวงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 2) คนทุกชว งวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดน
ภาคใตและพื้นที่พิเศษไดรับการศึกษาและเรียนรูอยางมีคุณภาพ 3) คนทุกชวงวัยไดรับการศึกษา การดูแลและ
ปองกันจากภยั คกุ คามในชวี ิตรปู แบบใหม
แนวทางการพัฒนา 1) พัฒนาการจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสรางความม่ันคงของสถาบันหลักของ
ชาตแิ ละการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 2) ยกระดับคณุ ภาพและสงเสริม
โอกาสในการเขา ถงึ การศกึ ษาในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต 3) ยกระดับคุณภาพและสงเสริม
โอกาสในการเขาถึงการศกึ ษาในพนื้ ท่ีพิเศษ (พ้ืนทส่ี งู พนื้ ทีต่ ามแนวตะเขบ็ ชายแดน และพื้นทเ่ี กาะแกง ชายฝงทะเล
ท้งั กลุมชนตา งเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลมุ ชน-ชายขอบ และแรงงานตางดา ว) 4) พัฒนาการจัดการศึกษา
เพอื่ การจัดระบบการดูแลและปอ งกันภัยคกุ คามในรปู แบบใหม อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบตา งๆ
ยาเสพตดิ ภัยพิบัตจิ ากธรรมชาติภัยจากโรคอุบัตใิ หม ภัยจากไซเบอร เปน ตน
ยุทธศาสตรท ่ี 2 การผลติ และพัฒนากําลังคน การวจิ ัย และนวัตกรรมเพ่ือสรา งขีด

ความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ
เปาหมาย 1) กาํ ลังคนมที ักษะที่สาํ คญั จาํ เปนและมีสมรรถนะตรงตามความตองการของตลาดงาน
และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2) สถาบันการศึกษาและหนวยงานที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิต
ท่ีมีความเชี่ยวชาญและเปนเลิศเฉพาะดาน 3) การวิจัยและพัฒนาเพ่ือสรางองคความรูและนวัตกรรมท่ีสราง
ผลผลติ และมลู คาเพม่ิ ทางเศรษฐกจิ
แนวทางการพัฒนา 1) ผลิตและพัฒนากําลังคนใหมีสมรรถนะในสาขาท่ีตรงตามความตองการ
ของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2) สงเสริมการผลิตและพัฒนากําลังคนท่ีมีความ
เชี่ยวชาญและเปน เลศิ เฉพาะดาน 3) สง เสรมิ การวจิ ัยและพัฒนาเพ่ือสรางองคความรูและนวัตกรรมทสี่ รา งผลผลิต
และมูลคา เพิ่มทางเศรษฐกจิ
ยุทธศาสตรท ่ี 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทกุ ชว งวัย และการสรางสังคมแหงการเรียนรู
เปา หมาย 1) ผูเรยี นมีทกั ษะและคุณลกั ษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทยและทักษะและคุณลักษณะ
ที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 2) คนทุกชวงวัยมีทักษะความรูความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา
และมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตไดตามศักยภาพ 3) สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัด
กิจกรรม/กระบวนการเรียนรูตามหลักสูตรไดอยางมีคุณภาพและมาตรฐาน 4) แหลงเรียนรู สื่อตําราเรียน
นวตั กรรมและสือ่ การเรยี นรมู คี ุณภาพและมาตรฐาน และประชาชนสามารถเขาถึงไดโดยไมจํากัดเวลาและสถานท่ี
5) ระบบและกลไกการวัด การติดตามและประเมินผลมปี ระสิทธิภาพ 6) ระบบการผลิตครู อาจารย และบุคลากร

 แผนยทุ ธศาสตรการพฒั นาการศึกษาปฐมวัยเชิงบูรณาการ จังหวัดนาน (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 15}

ทางการศึกษาไดมาตรฐานระดับสากล 7) ครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษาไดรับการพัฒนาสมรรถนะตาม
มาตรฐาน

แนวทางการพัฒนา 1) สงเสริม สนับสนุนใหคนทุกชวงวัยมีทักษะ ความรูความสามารถ และ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตอยางเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแตละชวงวัย 2) สงเสริมและพัฒนาแหลงเรยี นรู สื่อ
ตําราเรียน และส่ือการเรียนรูตาง ๆ ใหมีคุณภาพมาตรฐาน และประชาชนสามารถเขาถึงแหลงเรียนรูไดโดยไม
จํากัดเวลาและสถานท่ี 3) สรางเสรมิ และปรับเปล่ียนคานิยมของคนไทยใหมวี ินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรมท่ี
พึงประสงค 4) พัฒนาระบบและกลไกการติดตาม การวัดและประเมินผลผูเรียนใหมีประสิทธิภาพ 5) พัฒนา
คลังขอมูล สื่อ และนวัตกรรมการเรียนรู ท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน 6) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตครู
อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา 7) พัฒนาคณุ ภาพครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา

ยุทธศาสตรท่ี 4 การสรางโอกาส ความเสมอภาคและความเทาเทยี มทางการศกึ ษา
เปาหมาย 1) ผูเรียนทุกคนไดรับโอกาสและความเสมอภาคในการเขาถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ
2) การเพ่ิมโอกาสทางการศกึ ษาผานเทคโนโลยดี ิจิทัลเพอื่ การศกึ ษาสาํ หรับคนทกุ ชว งวัย 3) ระบบขอมูลรายบุคคล
และสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกตอง เปนปจจุบัน เพ่ือการวางแผนการบริหารจัดการศึกษา การ
ตดิ ตามประเมนิ และรายงานผล
แนวทางการพัฒนา 1) เพ่ิมโอกาสและความเสมอภาคในการเขาถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพ
2) พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาสําหรับคนทุกชวงวัย 3) พัฒนาฐานขอมูลดานการศึกษาท่ีมี
มาตรฐาน เชอ่ื มโยงและเขาถึงได
ยทุ ธศาสตรท่ี 5 การจัดการศึกษาเพอ่ื สรางเสริมคณุ ภาพชีวติ ทเี่ ปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
เปาหมาย 1) คนทุกชว งวัย มีจิตสํานึกรกั ษส ิ่งแวดลอ ม มคี ุณธรรม จริยธรรม และนําแนวคิดตาม
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสูการปฏบิ ตั ิ 2) หลกั สูตร แหลงเรยี นรู และสอื่ การเรียนรูที่สงเสริมคุณภาพชีวิต
ท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม คุณธรรม จริยธรรม และการนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการ
ปฏิบัติ 3) การวิจยั เพ่อื พัฒนาองคความรแู ละนวตั กรรมดา นการสรางเสริมคณุ ภาพชีวิตทเี่ ปน มติ รกับสงิ่ แวดลอ ม
แนวทางการพัฒนา 1) สงเสริม สนับสนุนการสรางจิตสํานึกรักษสิ่งแวดลอม มีคุณธรรม
จริยธรรม และนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติในการดําเนินชีวิต 2) สงเสริมและ
พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู แหลงเรียนรู และส่ือการเรียนรูตาง ๆ ทเ่ี ก่ียวของกับการสรางเสรมิ คุณภาพ
ชีวิตทีเ่ ปน มิตรกับสิง่ แวดลอม 3) พฒั นาองคค วามรู งานวจิ ัย และนวัตกรรม ดานการสรางเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปน
มิตรกับสิง่ แวดลอม
ยทุ ธศาสตรที่ 6 การพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบริหารจดั การศึกษา
เปา หมาย 1) โครงสราง บทบาทและระบบการบริหารจัดการการศกึ ษามีความคลองตัว ชัดเจน
และสามารถตรวจสอบได 2) ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสงผลตอคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษา 3) ทุกภาคสวนของสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความตองการของ
ประชาชนและพื้นที่ 4) กฎหมายและรูปแบบการบรหิ ารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะท่ีแตกตาง
กนั ของผเู รยี น สถานศึกษา และความตอ งการกาํ ลังแรงงานของประเทศ 5) ระบบบริหารงานบคุ คลของครูอาจารย
และบุคลากรทางการศึกษามคี วามเปน ธรรม สรางขวญั กําลงั ใจ และสง เสริมใหป ฏบิ ตั ิงานไดอ ยางเต็มตามศักยภาพ
แนวทางการพัฒนา 1) ปรับปรุงโครงสรางการบริหารจัดการศึกษา 2) เพ่ิมประสิทธิภาพการ
บริหารจัดการสถานศึกษา 3) สงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในการจัดการศึกษา 4) ปรับปรุงกฎหมาย
เก่ียวกับระบบการเงินเพ่ือการศึกษาท่ีสงผลตอคุณภาพและประสิทธิภาพการจัดการศึกษา 5) พัฒนาระบบ
บริหารงานบคุ คลของครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา

7) แผนยทุ ธศาสตรกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2563 – 2565
กระทรวงศกึ ษาธิการจัดทําแผนยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2563 – 2565 สําหรับใช
เปนเครื่องมือในการกํากับทิศทางการปฏิบัติงานในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธิการโดยกําหนดวิสัยทัศน

 แผนยุทธศาสตรก ารพัฒนาการศึกษาปฐมวยั เชงิ บรู ณาการ จงั หวดั นา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 16}

กระทรวงศึกษาธิการวางระบบเพ่ือใหผูเรียนมคี วามรู – ทักษะ มีทัศนคติท่ีถูกตองตอบานเมือง มีพ้ืนฐานชีวิต
ท่ีมั่นคง มีคณุ ธรรม มีงานทาํ มอี าชพี และเปนพลเมืองทีเ่ ขม แขง็ ” มีเปาหมายหลกั ของแผน ประกอบดว ย

1) คณุ ภาพการศึกษาของไทยดีขนึ้
2) ครูมสี มรรถนะตามมาตรฐานวิชาชพี
3) สถานศกึ ษาในภูมิภาค มีทรัพยากรพน้ื ฐานท่เี พยี งพอตามเกณฑม าตรฐาน
4) ผเู รยี นทกุ กลมุ ทุกชว งวยั ไดร ับโอกาสในการเรยี นรอู ยางตอ เนือ่ งตลอดชีวติ
5) ระบบและวิธกี ารคดั เลอื กเพ่ือการศึกษาตอ ไดร ับการพัฒนา ปรบั ปรงุ แกไ ข
6) ผูเรียนในแตล ะระดบั การศึกษา ไดร ับการเพิม่ เติมความรูทกั ษะในการประกอบอาชพี ที่ ตรงกบั สภาพ
ตลาดแรงงานในพน้ื ท่ีชุมชน สงั คม จังหวดั และภาค
7) กาํ ลงั คนไดร ับการผลิตและพฒั นาตรมกรอบคุณวฒุ ิแหงชาติ
8) มีการเตรียมความพรอมผูเ รยี นปฐมวัย ในดานสขุ ภาพ และโภชนาการ รวมกับหนว ยงานท่เี กย่ี วขอ ง
9) มอี งคค วามรู นวตั กรรม สิ่งประดษิ ฐ ท่สี นบั สนุนการพฒั นาหรอื แกไขปญหาในพ้นื ท่ี จังหวดั และภาค
10) ระบบบรหิ ารจัดการการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ไดรบั การปรบั ปรุงใหมปี ระสทิ ธิภาพ เพ่ือ
รองรบั พื้นทน่ี วัตกรรมการศึกษารว มกบั ทุกภาคสวน
และไดกําหนดยทุ ธศาสตรการดาํ เนินงาน ดังนี้
ยุทธศาสตรท่ี 1 พฒั นาหลกั สูตร กระบวนการจดั การเรียนรู การวดั และประเมินผล
ยทุ ธศาสตรท ่ี 2 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
ยทุ ธศาสตรท ี่ 3 ผลติ และพฒั นากาํ ลงั คน รวมทง้ั งานวจิ ัยที่สอดคลอ งกับวามตองการของประเทศ
ยุทธศาสตรที่ 4 เพมิ่ โอกาสใหค นทกุ ชวงวยั เขา ถึงบรกิ ารทางการศึกษาอยา งตอเนื่องตลอดชีวติ
ยทุ ธศาสตรท ่ี 5 สงเสริมและพฒั นาเทคโนโลยแี ละระบบดิจิทัลเพอื่ การศกึ ษา
ยุทธศาสตรท ี่ 6 พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการและสง เสรมิ ใหทุกภาคสวนมสี วนรวมในการจัดการศกึ ษา

8) แผนพัฒนาเดก็ ปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๗๐
แผนพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๗๐ ประกอบดวย นโยบาย วสิ ัยทัศน ปรัชญา เปาประสงค
ยุทธศาสตร ตัวชวี้ ัด และมาตรการ โดยมรี ายละเอยี ดดังนี้
นโยบายดานเด็กปฐมวยั ๓ ประการ ไดแ ก

๑. เด็กปฐมวัยทุกคนตองไดรับการพัฒนาอยางรอบดาน อยางมีคุณภาพ ตามศักยภาพ ตามวัย
และตอ เนือ่ ง

๒. การพัฒนาเด็กตามขอ ๑ ตองจัดใหเปนระบบและมีความสัมพันธระหวางกัน โดยบูรณาการ
ชัดเจนระหวางหนวยงานราชการ และท่ีไมใชราชการ ระหวางวิชาชีพที่สัมพันธกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย และ
ระหวา งระดบั ตาง ๆ ของการบรหิ ารราชการแผนดนิ จากระดับชาติ สวนกลาง สวนภมู ภิ าค และสว นทอ งถิ่น

๓. รัฐและทุกภาคสวนตองรวมกันระดมทรัพยากรใหเพียงพอแกการพัฒนาเด็กปฐมวัยตาม
นโยบายขอ ๑

วสิ ยั ทศั น
“เด็กปฐมวัยทุกคนไดรับการพฒั นาอยา งรอบดานเตม็ ตามศักยภาพ เปนพนื้ ฐานของความเปน
พลเมอื งคณุ ภาพ”
ปรัชญา
เด็กปฐมวัยทุกคนมคี วามสรางสรรค จินตนาการ และเอกลักษณ มีความสามารถในการเรียนรู
ทุกสง่ิ กระตือรอื รน ในการเรียนรู มจี ติ ท่ีซมึ ซบั ส่งิ ที่เรียนรูจากประสบการณตรง ดังนั้น เด็กปฐมวัยทุกคนตองไดรับ
การดูแล พัฒนา และเรียนรอู ยางรอบดาน ทั้งดานรางกาย จิตใจ วินัย อารมณ สังคม และสติปญญาใหสมกับวัย
อยางมคี ณุ ภาพ และเทา เทยี ม ตามศักยภาพ ตามวัย และตอเนื่อง บนพนื้ ฐานของการจัดประสบการณการเรียนรูท่ี

 แผนยทุ ธศาสตรการพัฒนาการศกึ ษาปฐมวัยเชิงบรู ณาการ จงั หวัดนาน (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 17}

ดีทีส่ ุดสอดคลองกับหลักการพัฒนาศักยภาพและความตองการจําเปนพิเศษของแตละบุคคลโดยคํานึงถึงความสุข
ความเปนอยูทีด่ ี การคุมครองสิทธิ และความตองการพ้ืนฐานของเด็กปฐมวัย รวมทั้งการปฏิบตั ิตอเด็กทุกคนโดย
ยึดหลักศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย การมีสวนรวม การเปนที่ยอมรับของผูท่ีเก่ียวของกับเด็ก และการกระทําท้ัง
ปวงเพอื่ ประโยชนสูงสดุ ของเดก็ เปนสําคญั

เปา ประสงค
เดก็ ปฐมวยั ทุกคน ซ่ึงหมายถงึ เด็กทกุ คนที่อยใู นประเทศไทย รวมถึงเด็กที่เปนลูกแรงงานตา งชาติและเด็ก
ที่ไมไดมาจากครอบครัวไทย ท่ีอาศัยอยูในประเทศไทย ตองไดรับการพัฒนาอยางรอบดาน อยางมีคุณภาพ ตาม
ศกั ยภาพ ตามวยั และตอเน่ือง และสามารถเขา ถึงบริการสุขภาพ การศกึ ษา และสวัสดิการสังคมไดอยางเทาเทียม
กันเพ่ือใหนโยบายดานเด็กปฐมวัยดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรม จึงกําหนดใหมี
ยทุ ธศาสตรเ พ่อื การพัฒนาเด็กปฐมวยั ทัง้ ส้นิ ๗ ยุทธศาสตร ดังน้ี

ยทุ ธศาสตรท่ี ๑ การจดั และการใหบ ริการแกเดก็ ปฐมวยั
เปาประสงค
๑. หญิงตง้ั ครรภไดร ับการดแู ลในระหวางตั้งครรภและหลงั คลอดอยางมีคุณภาพและเทา เทียม
๒. เด็กปฐมวัยไดรับการดูแล พัฒนาอยางรอบดาน ท้ังดานสุขภาวะ การศึกษา และสวัสดิการ
สังคมเพ่อื ใหม ีพฒั นาการท่ดี รี อบดา น ทงั้ ทางรางกาย จิตใจ วนิ ยั อารมณ สังคม และสตปิ ญญาใหส มกบั วัย
๓. เด็กปฐมวัยทุกคนไดรับการสํารวจ คัดกรองและวินิจฉัยเพื่อหาภาวะความตองการพิเศษ/
ดอยโอกาสเพื่อใหสามารถรับบริการดานตาง ๆ ไดอยางเทาเทียมและมีคุณภาพ และความพรอมของระบบ
เคร่ืองมือ บุคลากร เพอ่ื สาํ รวจ คัดกรองและวนิ จิ ฉัยในการหาภาวะความตองการพเิ ศษ/ดอ ยโอกาส
มาตรการ
๑. ใหมีการพัฒนาระบบการดูแลและใหความรูแกทั้งพอและแมของทารกในครรภ อยางทั่วถึง
และมีประสิทธภิ าพ
๒. สง เสริมใหห ญงิ ต้งั ครรภแ ละหลังคลอดทุกคนไดรับบริการทางสาธารณสุขและสวสั ดกิ ารสังคม
ที่มคี ณุ ภาพอยางเทาเทยี ม รวมไปถึงหญงิ ต้ังครรภท ี่ไมมบี ตั รประชาชน และอยใู นพน้ื ทห่ี างไกล
๓. สรา งกลไกความรวมมือระหวางภาครัฐ เอกชน ภาคประชาชน และสถาบันครอบครวั ในการ
ดแู ลและพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตัง้ แตอ ยใู นครรภม ารดา
๔. พฒั นาระบบการดแู ล พัฒนาเด็กปฐมวยั เพือ่ ใหไดรับบริการดานสขุ ภาวะ การศกึ ษา และ
สวัสดกิ ารสังคม ที่มปี ระสทิ ธภิ าพ
๕. จัดใหมีระบบการสํารวจ คัดกรองและวินจิ ฉยั เพ่ือหาภาวะความตองการพเิ ศษ/ดอ ยโอกาส
และระบบสง ตอ ท่ีมีประสิทธิภาพ
๖. พัฒนาบคุ ลากรทเ่ี ก่ียวของใหมคี วามสามารถในการคดั กรองและวนิ ิจฉยั เพื่อหาภาวะความ
ตอ งการพเิ ศษ/ดอยโอกาส
๗. สรางความพรอ มเร่ืองเครอ่ื งมอื สาํ หรบั สํารวจ คดั กรองและวนิ จิ ฉยั ในการหาภาวะความ
ตองการพิเศษ/ดอ ยโอกาสอยางรอบดา น
๘. พัฒนาระบบในการเฝาระวัง ชว ยเหลือ ฟน ฟูและสง ตอเดก็ ปฐมวัยทีม่ คี วามตอ งการพเิ ศษ
เพ่ือรับบริการดา นสาธารณสขุ และการศึกษาอยา งตอ เนื่องและมีประสทิ ธภิ าพ
๙. ทกุ กระทรวงดําเนนิ งานรว มกันในการสํารวจ คัดกรองเด็กปฐมวยั ทมี่ คี วามตองการพิเศษ/
ดอ ยโอกาส

 แผนยุทธศาสตรก ารพฒั นาการศึกษาปฐมวัยเชิงบรู ณาการ จงั หวดั นาน (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 18}

ยทุ ธศาสตรท ่ี ๒ การพัฒนาและสรางความเขมแข็งใหก บั สถาบนั ครอบครวั ในการอบรมเลี้ยงดู
เดก็ ปฐมวยั

เปา ประสงค
๑. พอแม ผูปกครอง และครอบครวั มีทักษะความเปนพอแม (parenting skills)
๒. พอ แม ผูปกครอง และครอบครัวมกี ารดูแล พฒั นา และคมุ ครองสิทธเิ ดก็
๓. หญงิ วัยเจรญิ พันธแุ ละครอบครวั ไดร บั ความรูและการเตรยี มความพรอมกอนต้ังครรภ
มาตรการ
๑. สรา งชุดอบรม/ส่ือการเรียนรูเ พื่อพัฒนาทักษะความเปน พอแม (parenting skills) ใหแก
พอ แม ผปู กครอง และครอบครัว
๒. ระดมความรว มมอื ของทุกภาคสวนในการสนบั สนนุ การจัดทาํ หลกั สูตร/สอื่ การเรยี นรูเพื่อ
พฒั นาทักษะความเปนพอ แม (parenting skills) ใหแก พอ แม ผปู กครอง และครอบครัว
๓. พฒั นาทักษะความเปนพอแม (parenting skills) ใหแกพอ แม ผูปกครอง และครอบครวั
๔. พฒั นาทกั ษะความเปน พอแม (parenting skills) ใหแ กพ อแม ผูป กครอง และครอบครัวท่ีมี
เด็กท่มี ีความตองการพเิ ศษ/ดอยโอกาส ในการดูแลเด็กปฐมวยั ใหม กี ารพฒั นาอยา งรอบดาน เตม็ ตามศักยภาพ โดย
มกี ารสนบั สนนุ งบประมาณ/ทรพั ยากรอยางเหมาะสม
๕. มีกลไกสนบั สนนุ การดาํ เนินงานของพอ แม ผปู กครอง และครอบครวั ในการดแู ล ปกปอ งสทิ ธิ
และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั อยางรอบดานและมปี ระสิทธิภาพ
๖. จัดหรือสนับสนุนใหมีบริการรับเลี้ยงและพัฒนาเด็กทารกวัยเตาะแตะในชุมชน/สถาน
ประกอบการ สําหรับชวงกลางวันที่พอแม ผูปกครองทํางานและสนับสนุนความรวมมือกับภาคเอกชน/
ภาคประชาชนในการจดั บริการรับเลยี้ ง พฒั นาและอบรมเล้ียงดเู ดก็ ในสถานที่ทาํ งานอยา งเหมาะสม
๗. มีมาตรการสง เสรมิ และสนบั สนนุ สื่อมวลชนหรือองคกรเอกชนที่ชวยพัฒนาเดก็ หรอื สรางความ
เขมแข็งใหกบั สถาบันครอบครัว ปกปอ งและพฒั นาเด็กปฐมวัยอยางรอบดาน
๘. สรา งและพัฒนาชุดอบรม/ส่ือการเรียนรเู พ่อื ใหค วามรแู ละเตรยี มความพรอมกอ นตัง้ ครรภของ
หญิงวยั เจริญพันธุ และเยาวชนวัยเจรญิ พันธุ
๙. สงเสริมและสนบั สนุนใหห ญิงวัยเจริญพันธุม ีความรคู วามเขาใจและไดร ับการเตรยี มความพรอ ม
กอ นตัง้ ครรภ รวมไปถึงเยาวชนวยั เจริญพันธุ
๑๐.พัฒนาระบบการใหความชว ยเหลือกบั ครอบครัวทีอ่ ยใู นภาวะฉุกเฉนิ
๑๑.ขบั เคลื่อนพระราชบัญญัตกิ ารปองกันและแกไ ขปญหาการตงั้ ครรภในวัยรุน พ.ศ. 2559
ยุทธศาสตรที่ ๓ การพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการใหบรกิ ารพฒั นาเด็กปฐมวัย
เปาประสงค
๑. ระบบการพฒั นาเด็กปฐมวัยไดรับการปรับปรุงพัฒนาใหม ีประสิทธภิ าพ
๒. สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ทุกแหงไดรับการพัฒนาใหมคี ุณภาพตามมาตรฐานสถานพฒั นาเดก็
ปฐมวัยแหง ชาติ
๓. บคุ ลากรและผทู เ่ี ก่ียวขอ งกับการดูแล พฒั นา และจัดการเรยี นรเู ด็กปฐมวัย ไดรับการพฒั นา
ศกั ยภาพและสนับสนนุ ใหด าํ เนนิ งานไดอยางมีประสิทธิภาพ
มาตรการ
๑. มกี ารบูรณาการระบบการพัฒนาเด็กปฐมวัย เพื่อใหเดก็ ปฐมวัยไดรับบริการดา นสาธารณสขุ และ
การศกึ ษาอยางตอ เนือ่ งและมีประสิทธิภาพ
๒. สนับสนนุ ใหห นวยงานทเ่ี กี่ยวของมกี ารพัฒนาระบบการพฒั นาเด็กปฐมวัย
๓. จัดใหมีระบบการสงเสริมพัฒนาการและระบบสงตอที่เหมาะสมตั้งแตกอนระดับอนุบาลจนถึง
ระดบั ประถมศึกษาอยา งตอเนือ่ ง

 แผนยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาการศกึ ษาปฐมวัยเชงิ บรู ณาการ จงั หวดั นาน (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 19}

๔. สง เสรมิ และสนับสนนุ ทรพั ยากรใหสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ทุกแหงอยา งเพียงพอ
๕. มีการบูรณาการการดูแล กํากับติดตามการดําเนินงานตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหงชาติ
ของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยหนวยงานท่ีเก่ยี วขอ ง
๖. สง เสริมสนับสนนุ ใหส ถานพฒั นาเด็กปฐมวัยพัฒนาสภาพแวดลอ มท่ีเอื้อตอการเรียนรูและการดูแลเด็ก
ปฐมวยั
๗. สรางระบบพัฒนาสมรรถนะบุคลากรและผทู เ่ี กี่ยวของกับการดูแล พฒั นาเดก็ ปฐมวัย
๘. จดั อบรมเพ่ือพัฒนาสมรรถนะบุคลากรและผทู เี่ กย่ี วของกับการดูแล พฒั นาเดก็ ปฐมวยั
๙. มกี ารสง เสริมและสนบั สนนุ การดําเนนิ งานของบคุ ลากรและผทู ีเ่ ก่ียวของกับการดูแล พัฒนาเด็กปฐมวัย
อยางเปนรปู ธรรม
๑๐. สรา งระบบใหคําปรึกษาแนะนาํ (coaching) และระบบพีเ่ ล้ียง (mentoring) ใหแ กบคุ ลากรและ
ผทู ่เี กย่ี วขอ งกับการดแู ล พัฒนาเดก็ ปฐมวยั
๑๑. สง เสรมิ สนับสนนุ ใหสถาบันอุดมศึกษาจัดใหมกี ารเรยี นการสอนเพื่อเสริมสรา งจิตวิญญาณของความ
เปนครู มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู ทกั ษะ และความสามารถในการจัดการเรียนการสอนเพื่อดูแลและพัฒนาเดก็
ปฐมวยั ตามหลกั การและปรชั ญาของการพัฒนาเด็กปฐมวยั
ยุทธศาสตรที่ ๔ การพัฒนาระบบและกลไกการบูรณาการสารสนเทศดานเด็กปฐมวัย และการนําไปใช
ประโยชน
เปาประสงค
๑. การพัฒนาและบูรณาการระบบฐานขอมูลรายบุคคลและสารสนเทศเด็กปฐมวัยเพ่ือการวางแผน
การบริหารจัดการ การดําเนินการ การติดตามประเมินผลใหมีความถูกตอง ครอบคลุม และเปนปจจุบัน โดย
เช่ือมโยงขอมลู ต้ังแตแ รกเกิด
๒. การนาํ ระบบฐานขอมลู และสารสนเทศท่พี ัฒนาแลวไปใชในหนว ยงานที่เกยี่ วของอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ
มาตรการ
๑. วิเคราะห และออกแบบโครงสรางฐานขอมูลรายบุคคลและสารสนเทศเด็กปฐมวัยทสี่ ําคัญ ซึ่งมาจาก
การ บูรณาการจากหนวยงานทเี่ ก่ียวขอ งในการพฒั นาเด็กปฐมวัยอยางรอบดา น โดยคาํ นึงถึงการบูรณาการและสง
ตอ ขอมูลของเดก็ ในชว งรอยตอการพัฒนาชว งตา ง ๆ รวมถึงขอมูลเด็กตกหลนหรือเดก็ ท่อี ยใู นระบบทางเลือกอืน่ ๆ
๒. กําหนดแนวทางในการบูรณาการจัดทําฐานขอมูลรายบุคคลและสารสนเทศเด็กปฐมวัยและการนํา
ขอมูลไปใชป ระโยชนรวมกนั ของหนว ยงานทีเ่ ก่ียวของ
๓. สนบั สนนุ งบประมาณในการบรู ณาการจดั ทาํ ฐานขอมลู รายบคุ คลและสารสนเทศเดก็ ปฐมวยั
๔. ใหหนว ยงานท่เี กี่ยวของนาํ ฐานขอ มลู รายบุคคลและสารสนเทศเดก็ ปฐมวยั ไปใชในการวางแผนติดตาม
และประเมนิ ผลการพฒั นาเด็กปฐมวัยอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ
๕. สนับสนุนใหหนวยงานที่เกี่ยวของสามารถเขาถึงและนําระบบฐานขอมูลไปใชประโยชนอยางมี
ประสทิ ธภิ าพและสมบูรณ
ยุทธศาสตรท ี่ ๕ การจดั ทาํ และปรบั ปรุงกฎหมาย กฎระเบียบ ทีเ่ กยี่ วกับเด็กปฐมวัยและการดําเนินการ
ตามกฎหมาย
เปาประสงค
๑. ใหม ีกฎหมาย กฎระเบยี บ เพ่ือใหเ ดก็ ปฐมวัยไดรับประโยชนตามสิทธขิ นั้ พ้นื ฐาน และไดรับความ
คมุ ครองตามทีก่ ฎหมายกาํ หนด
๒. ระบบและกลไกในการบงั คบั ใชก ฎหมายและมาตรการทางกฎหมายท่เี อ้ือใหห นว ยงานและองคกรเพื่อ
สงเสริมและพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามศกั ยภาพของเด็กแตละคน

 แผนยุทธศาสตรก ารพฒั นาการศึกษาปฐมวัยเชงิ บรู ณาการ จงั หวดั นาน (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 20}

มาตรการ
๑. รวบรวม จดั ทาํ ปรับปรงุ แกไขกฎหมาย กฎระเบียบของหนวยงานที่เกยี่ วของกบั การพัฒนาเด็กปฐมวยั
ใหเ ปน ไปในทิศทางเดียวกนั เพื่อลดความซํ้าซอน และใหเ ปนไปตามเจตนารมณของพระราชบัญญัตกิ ารพฒั นาเดก็
ปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๒ และมาตรฐานสากล
๒. ทุกภาคสวนของสังคมมสี วนรวมในการจัดทําและปรับปรงุ กฎหมาย กฎระเบยี บเพื่อใหเดก็ ปฐมวัยไดร ับ
ประโยชนตามสทิ ธิของเดก็ ปฐมวยั ทางดา นสุขภาวะ และการศกึ ษา
๓. ปรบั ปรงุ กฎหมาย กฎระเบียบ ที่เกีย่ วกับเดก็ ปฐมวยั ควรเอ้อื ตอ การเล้ียงดูบตุ รอยางเหมาะสมโดยเฉพาะ
การขยายสิทธิการลา การสงเสริมใหมรี ะบบการทํางานทยี่ ืดหยนุ การทาํ งานจากทบี่ า น (work from home)
๔. จดั ทาํ ระบบและกลไกในการพทิ กั ษและคุมครองสิทธิเดก็ ปฐมวยั ตามกฎหมาย
๕. ผลักดันใหมีหนวยงานซ่ึงมีหนาที่รับผิดชอบโดยตรงเก่ียวกับการรับเร่ืองรองเรียน ไกลเกลี่ย และ
ดาํ เนินการทางคดเี พ่อื พทิ ักษส ทิ ธ์ิของเด็กปฐมวัย
๖. ผลักดันใหมีคณะกรรมการไกลเกลี่ย ประกอบดวย ๓ ฝาย ไดแ ก คูกรณี กรรมการ และคนกลาง
๗. จัดทําแผนการผลิต พัฒนา และกําหนดอัตรากําลังของบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะดานเพ่ือ
รองรบั การดําเนนิ งานทางดานกฎหมาย
๘. สรา งความตระหนักรูใหแ กประชาชนทั่วไปถึงหนาที่ในการพิทกั ษแ ละคุมครองสิทธเิ ด็กปฐมวยั ตาม
กฎหมาย
ยุทธศาสตรท ่ี ๖ การวิจยั พฒั นาและเผยแพรอ งคค วามรู
เปาประสงค
๑. การพัฒนาองคความรู การวจิ ัย และนวตั กรรมดา นการพัฒนาเด็กปฐมวัย ทส่ี ามารถนาํ ไปใชไ ดจ ริง
๒. ระบบการจัดการความรูดานการพัฒนาเด็กปฐมวัยเพ่ือพัฒนางานและสมรรถนะของบุคลากรและ
หนวยงานท่ีเก่ยี วของกับการพัฒนาเดก็ ปฐมวัยอยา งตอเน่ือง
๓. การเผยแพรองคความรู งานวิจัย และนวัตกรรมผานเครือขายสื่อสาธารณะ และหนวยงานท่ีเกี่ยวของ
เพอื่ ใหผดู ูแลเด็กปฐมวยั ไดรับความรู ทักษะ และเจตคตทิ ีด่ ีในการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั
มาตรการ
๑. วิเคราะห สงั เคราะหงานวจิ ยั จากงานวิจยั ท่มี ีคณุ คาและสอดคลองกับการท างานของทุกยุทธศาสตรที่
เก่ียวกับการพัฒนาเด็กปฐมวยั ในมติ ิตาง ๆ ทีม่ คี ณุ ภาพ
๒. วิเคราะห สงั เคราะห และจัดลาํ ดับความสาํ คัญองคความรูที่จาํ เปนเพือ่ ส่อื สารสพู อ แม ผูป กครอง
ผดู ูแลเด็ก และผูทเ่ี กยี่ วขอ งผานส่ือสาธารณะ
๓. สงเสริมใหม ีการสรา งและตอ ยอดองคค วามรู งานวจิ ยั และนวตั กรรมดานการพัฒนาเด็กปฐมวัยในมิตติ า ง ๆ
๔. ใหการสนับสนุนองคกรที่พัฒนาองคความรู การวิจัย และนวัตกรรมดานการพัฒนาเด็กปฐมวัยใน
มติ ติ า ง ๆ ทส่ี อดคลองกับยุทธศาสตรพ ฒั นาเดก็ ปฐมวยั อยา งเรง ดว น
๕. สรางมาตรการสนบั สนุนองคกรท่ีมวี ตั ถุประสงคใ นการวิจยั ดานการพฒั นาเด็กปฐมวัย
๖. มกี ารพฒั นาระบบเครอื ขายความรวมมอื ทางวชิ าการของภาครัฐและเอกชน ทั้งภายในและตางประเทศ
๗. สรางกลไกการบูรณาการองคความรู งานวิจัย และนวัตกรรมดานการพัฒนาเด็กปฐมวัยในมิติตาง ๆ
ระหวา งหนวยงานทเี่ กี่ยวขอ ง เพื่อจัดทาํ เปนคลังความรูดา นการพัฒนาเด็กปฐมวยั ในมติ ิตาง ๆ
๘. สงเสริมและสนับสนุนใหบุคลากรและหนวยงานท่ีเก่ียวของกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยนําองคความรู
งานวิจัย และนวัตกรรมดา นการพฒั นาเด็กปฐมวยั ไปใชใ นการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
๙. พฒั นาระบบการจัดการความรดู า นการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ในมติ ิตา ง ๆ
๑๐.สนับสนุนใหเกิดประชาคมการเรียนรูของผูปฏิบัติงานเกี่ยวกับเด็กปฐมวัยในทุกพื้นท่ี เพ่ือใหเกิดการ
แลกเปล่ียนเรียนรรู ว มกนั และพัฒนาสมรรถนะในการทาํ งานอยางตอ เนือ่ ง

 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาปฐมวัยเชงิ บูรณาการ จงั หวัดนาน (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 21}

๑๑.สงเสริมใหมีการคนหาสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ทมี่ ีวธิ ีปฏิบัติดีเดน (Best Practices) เพ่ือสรางสรรค
พฒั นางานในดานตาง ๆ เชน ดา นสาธารณสุข การศกึ ษา สังคม

๑๒.สง เสรมิ ใหม กี ารเทยี บเคยี ง (Benchmarking) กับสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั อื่นทม่ี วี ิธีปฏิบัติดีเดน (Best Practices)
เพ่ือใหเกิดการพัฒนาสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยอยางตอเนื่องสรางประชาคมการเรียนรูในระดับพ้ืนท่ีและระดับชาติ
ท้งั ในรูปแบบออนไลน และการประชมุ แลกเปลยี่ นเรยี นรรู วมกนั

๑๓.สรา งระบบการเผยแพรที่มีความเชอื่ มโยงระหวา งภาคี ท้ังภาครฐั และเอกชน
๑๔.ผลักดันใหสื่อสารมวลชนเขามามีบทบาทเชิงรุกในการเผยแพรองคความรูดานเด็กปฐมวัยสู
สาธารณชนในหลากหลายรปู แบบ
๑๕.มมี าตรการสงเสริมใหมีการเผยแพรองคค วามรูสูพอแม ผปู กครอง และผูดูแลเด็กปฐมวัยอยางท่ัวถึง
และตอ เน่ืองในทุกชองทาง
ยุทธศาสตรที่ ๗ การบริหารจัดการ การสรางกลไกการประสานการดําเนินงาน และการติดตาม
ประเมนิ ผล
เปา ประสงค
๑. การบรู ณาการการบริหารจดั การการดาํ เนนิ งานของหนว ยงานสว นกลาง สวนภูมภิ าค สว นทองถ่ิน และ
ภาคเอกชนทเ่ี ก่ียวของกบั การพัฒนาเดก็ ปฐมวยั อยา งมีประสทิ ธภิ าพ
๒. ระบบการประสานงานดานการพัฒนาเด็กปฐมวยั ทุกระดบั
๓. การติดตามประเมนิ ผลการดาํ เนนิ งานดา นการพัฒนาเด็กปฐมวัยแบบบูรณาการรว มกนั ระหวาง
หนว ยงานทเ่ี กยี่ วของ
๔. แผนงบประมาณ และแผนการดาํ เนนิ งานประจาํ ปแ บบบรู ณาการของหนว ยงานทเ่ี ก่ยี วขอ งกบั การ
พัฒนาเด็กปฐมวยั
มาตรการ
๑. พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการการดําเนนิ งานของหนวยงานทเ่ี ก่ียวของกับการพฒั นาเด็กปฐมวยั
อยางมีประสทิ ธภิ าพ
๒. สรางกลไกการประสานงานดา นการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั เพ่ือใหเกิดการบูรณาการรวมกันของหนว ยงาน
ของรัฐ องคก รปกครองสวนทอ งถ่ิน ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม
๓. สง เสริมและสนับสนุนการสรา งเครอื ขายในระดบั จังหวัดและระดับอาํ เภอเพื่อการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย
๔. กาํ หนดแนวทางการติดตามผลการดาํ เนินงานของหนว ยงานท่เี กยี่ วขอ งกบั การพัฒนาเดก็ ปฐมวัย
๕. สรา งระบบตดิ ตามประเมนิ ผลการดาํ เนินงานดานการพัฒนาเดก็ ปฐมวัยแบบบูรณาการรว มกนั ระหวาง
หนว ยงานทเ่ี ก่ยี วของ
๖. กาํ หนดแนวทางการจดั สรรและแสวงหาทรัพยากรเพ่อื สง เสรมิ สนับสนุน และพฒั นาเดก็ ปฐมวัยท่ี
ชดั เจน
๗. สรางกลไกการมีสวนรวมในการสนับสนุนงบประมาณและทรัพยากร ท้ังภาครัฐและเอกชนเพื่อการ
พฒั นาเดก็ ปฐมวัย
ในสวนแนวทางการขบั เคลอ่ื นและการติดตามประเมนิ ผล ประกอบดว ย
๑) การสรางความรแู ละความเขาใจเก่ียวกับนโยบาย วิสัยทศั น ปรชั ญา เปาประสงค ยุทธศาสตร ตัวช้ีวัด
และมาตรการของแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๗๐ รวมถึงการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในการ
ขับเคลื่อนแผนไปสูการปฏิบัติ ทั้งสวนกลาง สวนภูมิภาค และทองถิ่น โดยใชกระบวนการจัดประชุมสรางความ
เขา ใจ หรอื การประชาสมั พันธผานทางส่อื ออนไลน เปน ตน
๒) การบรู ณาการระหวา งแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๗๐ กับแผนอ่ืน ๆ ท่เี ก่ียวของกับการ
พัฒนาเด็กปฐมวยั เพอื่ จดั ทาํ แผนปฏิบตั ิการตามแผนพัฒนาเดก็ ปฐมวัยทีม่ ีรายละเอียดระดบั โครงการ งบประมาณ
รายป โดยการรวมมอื จากหนวยงานรบั ผิดชอบหลักและหนวยงานสนับสนุน

 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศกึ ษาปฐมวัยเชิงบรู ณาการ จงั หวดั นา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 22}

๓) การผลกั ดันใหม งี บประมาณเชงิ บูรณาการดา นการพัฒนาเด็กปฐมวัยของทุกหนวยงานที่เก่ียวของ โดย
การจัดประชุมหารือกับหนวยงานสวนกลาง เชน สํานักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาระบบราชการ และหนวยงานอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของ เพ่ือกําหนดแนววิธีการจัดสรรงบประมาณใหสอดคลองกับ
การขับเคลอื่ นแผนพฒั นาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๗๐

๔) สรา งกลไกการประสานงานรว มกันระหวา งหนวยงานท่เี กยี่ วของกบั องคกรระหวางประเทศ ความรวมมือ
ภาครัฐ – ภาคเอกชน (PPP) องคกรไมแสวงหาผลกําไร (NGOs) เชน องคการยูนิเซฟ องคการยูเนสโกกลุมประเทศ
อาเซียน ส านักงานเลขาธกิ ารรัฐมนตรี ศึกษาแหงเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต (SEAMEO) เพ่ือชว ยสนบั สนุน ตดิ ตาม
และประเมินผลการทาํ งานตาม แผนพัฒนาเดก็ ปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๗๐

๕) การกําหนดบทบาทหนาที่ของหนวยงานท่ีเก่ียวของในการขับเคลื่อนแผนไปสูการปฏิบัติ ไดแก
หนวยงานระดับนโยบาย (Regulator) หนวยงานปฏบิ ตั ิ (Operator) และหนว ยงานสนบั สนุน (Supporter)

๖) การติดตามและประเมินผลดวยการมีสวนรวมของหนวยงานตาง ๆ ท้ังสวนกลางและระดับพ้ืนที่
การกําหนดใหจัดทํารายงานผลการดําเนินงานเปนประจําทุกป รวมท้ังการติดตามและประเมินผลในการน า
แผนพัฒนาเดก็ ปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๗๐ สูก ารปฏิบัตใิ นทุกระดับ ทงั้ ในชวงกลางแผน และปลายแผนเพอ่ื เปน
ขอมลู ประกอบการพจิ ารณาแนวทางในการปรบั ปรงุ หรือทบทวนแผนตอ ไป

7) การวจิ ัยและพฒั นา (Research & Development) เพ่ือใชใ นการปรบั ปรุงระเบียบ กฎหมาย และ
นโยบายตาง ๆ ทเ่ี กี่ยวของ ใหมีมาตรฐานและดาํ เนนิ การไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงข้ึน

2. การพัฒนาเดก็ ปฐมวัย

 หนวยงานรบั ผิดชอบดําเนินการจดั บรกิ ารเพอื่ ดแู ลและพัฒนาเด็กปฐมวัย

การสงเสริมและพัฒนาเด็กปฐมวัยไดดําเนินการอยางตอเนื่อง จากความรวมมือของ ๔ กระทรวงหลัก
ไดแก กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย กระทรวงมหาดไทย และ
กระทรวงศึกษาธิการ รวมถึงหนวยงานอื่นท่ีมีการดําเนินงานเก่ียวของกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย ไดแก กระทรวง
แรงงาน กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม และกระทรวงยุติธรรม โดยมีรายละเอียด
ภารกจิ และนโยบาย ดังน้ี

๑. กระทรวงสาธารณสุข เปนหนว ยงานที่ดูแลสง เสรมิ สขุ ภาพประชากรทุกชวงวัย เร่ิมตั้งแตทารกอยูใน
ครรภ ชวงปฐมวัย วยั เรยี น วยั รนุ วัยทาํ งาน และวัยสูงอายุ ตอเนื่องตลอดชีวิต อีกทงั้ ยังเปนหนวยงานท่ีใหบริการ
ดูแลและประเมินพัฒนาการของทารกใหกับพอแมและเด็ก ต้ังแตการบริการใหขอมูลความรูกอนแตงงาน
การเตรียมตัวเปนพอแม การดูแลแมท่ีตั้งครรภ ตลอดจนครอบครัวที่มีบุตรอยูในชวงปฐมวัย นอกจากน้ัน
มีการดําเนินงานแบบบูรณาการเพ่ือการพัฒนาเด็กปฐมวัยภายใตโครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพ
รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เน่อื งในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ โดยคัดกรองเดก็
อายุ ๙ เดือน ๑๘ เดอื น ๓๐ เดือน และ ๔๒ เดือน จากการใชคูมอื การเฝาระวังและสงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
(Developmental Surveillance and Promotion Manual : DSPM) เพ่ือดูแล สงเสริม กระตุนเด็กที่สงสัยวา มี
พัฒนาการลาชา ทั้งนี้ หนวยงานในสังกัดที่มีภารกิจเก่ียวของกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยยังมีการสนับสนุนการ
ดาํ เนินงาน และการกํากับตดิ ตามเชงิ บริหารจัดการ เชน การเยยี่ มเสรมิ พลังในระดบั พน้ื ที่ การดําเนินการเกีย่ วกับ

ภาวะโภชนาการของแมและเด็ก การเฝาระวังโรคขาดสารไอโอดีน การสงเสริมการเล้ียงลูกดวยนมแม
เพียงอยางเดียวในชว ง ๖ เดือนแรก การไดรับวัคซีนตามเกณฑในเด็ก และการขับเคล่ือนนโยบายเด็ก ๐ - ๕ ป
ใหสงู ดีสมสว น

 แผนยทุ ธศาสตรการพฒั นาการศึกษาปฐมวัยเชงิ บรู ณาการ จงั หวัดนาน (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 23}

๒. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เปนองคกรท่ีขับเคล่ือนและสรางระบบ
สวัสดิการใหประชาชนมีหลักประกันและมีความมั่นคงในชีวิต พัฒนาคนและสงั คมใหมีคุณภาพและมีภูมิคุม กันตอ
การเปล่ยี นแปลง และมีความสุขอยางย่ังยืน ในสว นการพฒั นากลุมเปาหมายเด็กปฐมวัยมีการดําเนนิ งานท้ังในสวน
ของนโยบาย มาตรการ กลไก วิชาการ และการปฏบิ ัติ และมิติของการพัฒนาสงเสริมศักยภาพ การคมุ ครอง และ
จัดสวสั ดกิ ารแกกลุมเปา หมาย มกี ิจกรรมดงั นี้

๑) เปนหนว ยงานหลักในการประสานความรวมมือกับ ๔ กระทรวงหลกั ไดแก กระทรวงการพัฒนาสงั คม
และความม่นั คงของมนุษย กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ ในการจัดทาํ และ
พฒั นามาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แหงชาติ ตามภารกิจและนโยบายแหงรฐั เปนมาตรฐานกลางของประเทศ
ซง่ึ คณะรฐั มนตรีเหน็ ชอบ เมอื่ วันท่ี ๒ มกราคม ๒๕๖๒

๒) ดําเนินงานสถานรับเลี้ยงเด็ก โดยสงเสริมภาคเอกชนจัดตง้ั สถานรับเล้ียงเด็ก เขารับการจดทะเบียน
ขอรับใบอนุญาตจัดต้ังสถานรับเล้ียงเด็ก ตามพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ เมื่อจดทะเบียนถูกตอง
จะไดรับการสงเสริมสนับสนุนความรูวิชาการดานการพัฒนาเด็กปฐมวัย การอบรมพัฒนาศักยภาพแกผูดําเนิน
กจิ การ ผูเลี้ยงดเู ดก็ และผูปกครอง รวมถึงไดร บั การตรวจเย่ียม ใหคาํ แนะนําการดําเนินงานอยา งใกลชิด โดยพื้นที่
เขตกรงุ เทพมหานครรับผิดชอบโดยกรมกิจการเดก็ และเยาวชน สวนภูมิภาครับผิดชอบโดยสาํ นักงานพัฒนาสังคม
และความมนั่ คงของมนุษยจังหวดั กิจกรรมภายในสถานรับเลี้ยงเด็กเปนการดูแล พัฒนาและจัดการเรียนรูแกเด็ก
อายุต้ังแตแรกเกิดถึงกอนเขาประถมศึกษาปที่ ๑ ใหมีพัฒนาการสมวัยและมีความพรอมสามารถเขาเรียนตอใน
ระดับอนุบาล หรือประถมศึกษาปท่ี ๑ ปจจุบันมีสถานรับเล้ียงเด็กจํานวน ๑,๔๙๓ แหง มีเด็กจํานวน ๖๙,๕๓๐ คน
(ขอมูลจากกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย พ.ศ. ๒๕๖๓)

๓) จัดทําระบบขอมูลสารสนเทศการพัฒนาเด็กปฐมวัยตามมาตรฐานชาติ (ระบบประเมินออนไลน) ในป
๒๕๖๑ เปนระบบฐานขอมูลกลาง เพื่อรองรับการติดตามผลการดําเนินงานของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหงชาติท่ัวประเทศ ผานทางเว็บไซตกรมกิจการเด็กและเยาวชน
(https://ecd.dcy.go.th) เพื่อใหหนวยงานไดใชประโยชนจากขอมูลเพ่ือยกระดับสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ใหมี
คุณภาพตามมาตรฐาน

๔) จดั สวสั ดิการแกกลมุ ดอยโอกาส โดยการสงเสริม สนบั สนุน คมุ ครอง และจัดสวัสดิการแกเด็กที่อยูใน
ครอบครัวยากจน ขาดแคลน และประสบปญ หาทางสงั คม ๒ กิจกรรม ไดแ ก

๔.๑ การอุปการะอบรมเล้ียงดูและพัฒนา รวมทั้งสนับสนุนทรัพยากรการดาํ เนนิ งานในรูปแบบสถาน
สงเคราะหเด็กของรัฐ แกเด็กกําพรา เด็กถูกทอดทิ้ง มารดาตงั้ ครรภไมพรอม เด็กตดิ เช้ือ HIV เด็กท่ีประสบปญหา
เดือดรอน และปญ หาทางสงั คมดานตาง ๆ รวมถึงการหาครอบครัวทดแทนแกเด็กทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ
ตลอดจนสงเด็กทอ่ี ยูในวยั เรยี นเขา สถานศกึ ษาเพ่ือใหเด็กไดรับความรูและเรียนรูการใชชีวติ ประจําวัน และการเขา
สังคมกับบุคคลภายนอก ปจจุบันมีสถานสงเคราะห ๘ แหงในจังหวัดตาง ๆ ดังนี้ จังหวัดสงขลา อุดรธานี
นครศรีธรรมราช เชยี งใหม ขอนแกน นนทบุรี และปทุมธานี มีเด็กอยูภายใตการคุมครอง จาํ นวน ๑,๒๑๕ คน

๔.๒ การจัดสวัสดิการแกเด็กที่อยูในครอบครัวยากจน การใหการอุดหนุนเพ่ือการเล้ียงดูเด็กแรกเกิด
ตามนโยบายของรัฐ โดยรัฐจัดใหมีโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเล้ียงดูเด็กแรกเกิด ซึ่งนับเปนโครงการท่ีเปน
รูปธรรมชัดเจนในชวงระยะที่ผานมา โดยใหเงินอุดหนนุ เด็กแรกเกิดท่ีอยูในครัวเรือนยากจน หรือครัวเรือนทเ่ี ส่ียง
ตอความยากจนท่ีเกิดระหวางวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘ ถึง วนั ท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๕๙ รายละ ๔๐๐ บาทตอเดือน
เปนระยะเวลา ๑ ป และเม่ือวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๙ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบใหดําเนินโครงการเงินอุดหนุนเพื่อ
การเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดตอเนื่อง โดยใหเงินอุดหนนุ ต้ังแตแ รกเกิดจนครบอายุ ๓ ป และเพิ่มเงินอุดหนนุ เปนรายละ
๖๐๐ บาท ตอคน ตอเดอื น เร่ิมตั้งแตเดอื นตุลาคม ๒๕๕๙ เปนตนไป และมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี ๒๖ มีนาคม
๒๕๖๒ ไดเห็นชอบการขยายระยะเวลาการใหเงินอุดหนุน เพื่อการเล้ียงดูเด็กแรกเกิด ต้ังแตแรกเกิดจนถึง ๖ ป
และขยายฐานรายไดครอบครวั ไมเ กิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ตอคน ตอป โดยเร่ิมตั้งแตปงบประมาณ ๒๕๖๒ เปนตน
ไป

 แผนยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาการศึกษาปฐมวัยเชงิ บรู ณาการ จงั หวัดนา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 24}

๕) สงเสริมและพฒั นากลไกการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ในป ๒๕๕๘ คณะกรรมการสงเสริมการพัฒนาเด็กและ
เยาวชนแหงชาติ (กดยช.) จัดต้ังคณะอนุกรรมการ ๓ ระดับ ประกอบดวย (๑) คณะอนุกรรมการประสานและ
สงเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย (สวนกลาง) (๒) คณะอนุกรรมการสงเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับจังหวัด
๗๖ จังหวัด (ซ่ึงมีเลขานุการรวม ๔ หนวยงานหลัก ที่ดําเนินงานเก่ียวกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยในจังหวัด ไดแก
สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจ ังหวัด สํานกั งานสง เสรมิ การปกครองทองถิ่นจังหวัด สํานักงาน
สาธารณสุขจังหวัด และสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด) และ (๓) คณะอนุกรรมการสงเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย
กรุงเทพมหานคร เพื่อรับผิดชอบงานดานเด็กปฐมวัยและเช่ือมโยงการพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับนโยบายจาก
สว นกลาง ขบั เคลือ่ นไปสกู ารปฏบิ ตั ใิ นระดบั จงั หวดั ใหม คี วามชัดเจนเปนรูปธรรม

๖) ดําเนนิ งานตามพระราชบญั ญตั คิ มุ ครองเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๒๓ มเี จตนารมณใ หบุคคลแวดลอม
เดก็ มคี วามสามารถในการดแู ล อปุ การะเลีย้ งดู อบรมสั่งสอน และพฒั นาเด็กท่ีอยูในความปกครองดแู ลของตนตาม
สมควร ท้งั นี้ตอ งไมตาํ่ กวามาตรฐานขั้นต่ําตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง รวมไปถึงตองคุมครองสวัสดิภาพเด็กที่อยู
ในความปกครองดูแลของตนมิใหตกอยูในภาวะอันนา จะเกิดอันตรายแกรางกายหรือจิตใจ โดยการทํางานรว มกับ
อาสาสมัครและองคกรปกครองสวนทองถ่ิน จํานวน ๕๖๒ แหง รวมไปถึงมีพนักงานเจาหนาท่ที ําหนาที่ใหความรู
และคําปรึกษาแกพอแมผูปกครองใหสามารถดูแลเด็กได หากพอแมผูปกครองไมสามารถดูแลเด็กไดจะมีการ
จัดบริการการเล้ียงดูทดแทนเพ่ือใหเด็กไดอยูในสภาพแวดลอมที่มีความเปนครอบครัวมากที่สุด เชน การจัดหา
ครอบครัวอุปถัมภ หรือการจัดหาครอบครัวบุญธรรมใหกับเด็กตามพระราชบัญญัติการรับเดก็ เปนบุตรบุญธรรม
พ.ศ. ๒๕๒๒

๗) ดาํ เนินงานดานครอบครัวเกี่ยวกับประเด็นเด็กปฐมวัย การดําเนินงานของกรมกิจการสตรีและสถาบนั
ครอบครวั (สค.) ในการสง เสรมิ และพัฒนาองคค วามรูใหแกพอ แม ผูปกครอง จะดาํ เนินกิจกรรมผานกลไกในระดับ
พ้ืนท่ี ไดแก ทีมวิทยากรดา นครอบครัวระดับจังหวัด และคณะทํางานศูนยพัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) โดย
สค. ไดดาํ เนินโครงการ/กิจกรรม ตาง ๆ ดังน้ี

๑) พัฒนาหลกั สูตรโรงเรยี นครอบครวั สาํ หรบั บุคลากรท่ีทํางานเกี่ยวกบั ครอบครัว 2 หลักสตู ร ไดแก
การเตรยี มความพรอ มกอนมีครอบครัว และการเตรียมความพรอมพอแมม อื ใหมแ ละทว่ั ไป

๒) ฝกอบรมเพิ่มทักษะทีมวิทยากรดานครอบครัวระดับจังหวัด 42 จังหวัด เพื่อใหทีมวิทยากรดา น
ครอบครวั ระดบั จังหวดั ไปจัดกจิ กรรมการสงเสรมิ บทบาทพอ แม ผูปกครองในการดแู ลเดก็ เลก็ ในชุมชน

3) สนับสนุนงบเงินอุดหนุนใหกลไกระดับพื้นที่ ไดแก ศูนยพัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.)
จดั กจิ กรรมตามกรอบกิจกรรมทที่ างสค.กาํ หนดท้ังนี้ พน้ื ที่สามารถเลือกจัดกิจกรรมตามบรบิ ทและปญ หาของพ้ืนที่

๔) จดั ทําสือ่ สารคดสี ัน้ เพ่อื เสรมิ สรางครอบครัวคณุ ภาพ ชดุ “โรงเรยี นครอบครวั ”
๓. กรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน กระทรวงมหาดไทย มีการจัดศูนยพัฒนาเด็กเล็กโดยองคกร
ปกครองสวนทองถิ่นจํานวนมาก นับเปนหนวยงานสําคัญที่ดูแลการจัดการศึกษาปฐมวัยของประเทศ ทั้งนี้
ในปการศึกษา ๒๕๕๙ มกี ารจัดการเรียนการสอนโดยใชหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ที่กระทรวง
ศึกษาธกิ ารกําหนด และแบง ออกเปน ๒ ประเภท คือ
๑) การจัดการศึกษาปฐมวัย สําหรับเด็กปฐมวัย อายุ ๒ - ๕ ป ในรูปแบบศูนยพฒั นาเด็กเล็ก ปจจุบัน
องคก รปกครองสว นทองถิน่ มศี ูนยพฒั นาเด็กเล็กอยูในความรับผิดชอบทั้งท่ีองคกรปกครองสวนทอ งถิ่นจดั ต้ังเอง
และรับถายโอนจากสวนราชการอ่ืน ท่สี าํ รวจในป 256๓ มีศูนยพัฒนาเด็กจํานวน 18,810 แหง มีนักเรียนใน
ศนู ยพ ฒั นาเด็กจํานวน 798,464 คน (กรมสง เสริมการปกครองทองถิ่น, ๒๕๖๓)
๒) การจัดการศึกษาปฐมวัย สําหรับเด็กอายุ ๔ - ๖ ป ในรูปแบบโรงเรียนอนุบาล ปจจุบันองคกร
ปกครองสว นทองถ่นิ ทีจ่ ัดการศกึ ษาปฐมวัยในโรงเรียนอนุบาล มีจํานวนนักเรียนที่อยูในความรับผิดชอบ จํานวน
171,671 คน ใน 1,338 โรงเรียน (กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น,๒๕๖๓)นอกจากนี้ กรมสงเสริม
การปกครองทองถิ่นมีการจัดทาํ มาตรฐานการดําเนินงานศูนยพัฒนาเดก็ เล็กขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เพ่ือ
ยกระดับการพัฒนาศูนยพัฒนาเด็กเล็กใหมีมาตรฐานและมีคุณภาพยิ่งข้ึน โดยกําหนดมาตรฐานออกเปน ๖ ดาน

 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาปฐมวยั เชงิ บูรณาการ จังหวัดนา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 25}

ไดแก ดานการบรหิ ารจัดการ ดานบุคลากร ดานอาคารสถานท่ี ส่ิงแวดลอมและความปลอดภยั ดานวิชาการและ
กิจกรรมตามหลักสตู ร ดา นการมีสวนรวมและการสนับสนุนจากทกุ ภาคสวน และดานสงเสริมเครือขายการพัฒนา
เดก็ ปฐมวัย รวมถึงสนบั สนุนสง เสริมใหใชมาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยแหงชาติเพื่อใหศูนยพัฒนาเดก็ เล็กของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่นใชเปนมาตรฐานสําหรับการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา รวมถึงเปนการ
ยกระดบั การจัดการศึกษาไดอยางมคี ณุ ภาพและมมี าตรฐานเปนท่ยี อมรบั

๔. กระทรวงศึกษาธิการ มีหนวยงานท่ีจัดการศึกษาและดําเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย ไดแ ก
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน (สช.) และ
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) โดย สพฐ. ไดจัดทําหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐
เพ่อื ใหสถานศกึ ษาและสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยทุกสงั กดั นาํ ไปปรับใชใ หเ หมาะสมกับบริบท และจัดการศกึ ษาระดับ
ปฐมวยั หลกั สตู ร ๓ ป (อนบุ าล ๓ - ๕ ป) ปจ จบุ นั มีนักเรยี นจาํ นวน ๘๙๗,๕๖๓ คนในสวนของ สกศ. ไดเรง ผลักดัน
การจัดทํา (ราง) แผนพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๙ มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหงชาติ การจัดทําระบบ
สารสนเทศและฐานขอมลู กลางดานเดก็ ปฐมวัยของประเทศ รวมถึงสมรรถนะของเด็กปฐมวัย ๐ - ๕ ป ภายใตการ
ขบั เคลอ่ื นของคณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแหงชาติชุดเดิมและมีการดําเนนิ งานตอ เน่ืองตามอํานาจหนาที่ของ
คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัยชุดใหม ที่แตงต้ังภายใตพระราชบัญญัติการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั พ.ศ.
๒๕๖๒ เพ่ือใหการดําเนินงานดานเด็กปฐมวัยของประเทศมีแนวทางและมาตรฐานเดียวกันสําหรับ สช. ไดจัด
การศึกษาระดับปฐมวัย หลักสูตร ๓ ป (อนุบาล ๓ - ๕ ป) ปจจุบันมีนักเรียนจํานวน๕๔๔,๒๑๙ คน (ขอมูลจาก
สถิติการศึกษา ประจําป ๒๕๖๒ ของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ) ในสวนของสํานักงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธกิ าร ไดจ ัดทาํ แผนปฏิบตั ิการดานการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ของกระทรวงศกึ ษาธิการ (พ.ศ. 2563 – 2565)
และดําเนินการขับเคล่ือนแผนปฏบิ ัติการดานการจัดการศึกษาปฐมวัยของกระทรวงศกึ ษาธิการ (พ.ศ. 2563 – 2565) สูการ
ปฏิบัติ โดยมีคณะกรรมการขับเคล่ือนแผนปฏิบัติการดานการจัดการศึกษาปฐมวัยของกระทรวงศึกษาธิการ
(พ.ศ. 2563 – 565) สูการปฏิบัติ ประกอบดวย คณะกรรมการอํานวยการและคณะกรรมการดําเนินงาน โดย
รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาในฐานะประธานคณะกรรมกาอํานวยการขับเคล่ือนแผนปฏิบัติราชการฯ ไดให
ความเห็นชอบนโยบายและแนวปฏิบัติในการจัดการศึกษาและเรียนรูสําหรับเด็กปฐมวัย และรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงศึกษาธิการไดลงนามในประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง นโยบายและแนวปฏบิ ัติในการจัดการศกึ ษา
และการเรียนรูสําหรับเดก็ ปฐมวัย เมอ่ื วันที่ 7 สิงหาคม 2563 นอกจากน้ี สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการได
ดําเนินงานภายใตแผนงานบูรณาการยกระดับคณุ ภาพการศึกษา ไดแก ปงบประมาณ 2561 โครงการสงเสริม
และพัฒนาการจัดการศึกษาเด็กปฐมวัย (อนุบาล 1 – 3) ปง บประมาณ 2562 โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการ
จัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพ้ืนท่ี (ภาคและจังหวัด) และปงบประมาณ 2563 ไดแก โครงการขับเคลื่อนการ
พัฒนาการจดั การศึกษาปฐมวัยในระดบั พน้ื ท่ี (ภาคและจงั หวัด)

๕. กระทรวงแรงงาน มีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานเปนหนวยงานเดียวท่ีรบั ผิดชอบในการพัฒนา
เด็กปฐมวัย โดยดําเนินการสงเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีเปนบุตรของผูใชแรงงาน จัดตั้งศูนยเด็กเล็ก
วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย ในพระราชูปถัมภ ซ่ึงเปนโครงการที่จัดต้ังข้ึนตามพระราชดําริในสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เริ่มดําเนินงานตงั้ แตป  พ.ศ. ๒๕๓๖ เพื่อดูแลเด็กกอนวัยเรยี นซ่งึ เปนบุตรของ
ผูใชแรงงาน ใหไดรับการพัฒนาดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา อยางถูกตองและเหมาะสม
เพอ่ื เตรยี มความพรอ มสูการศกึ ษาภาคบงั คับ ปจจุบนั มสี ถานประกอบกิจการทจ่ี ัดตง้ั มุมนมแมแลว จํานวน ๑,๒๖๔
แหง มีลูกจางมาใชบริการท้ังหมด ๙,๐๕๘ คน และมีการจัดตั้งศูนยเล้ียงดบู ุตรของผูใชแรงงานในสถานประกอบ
กิจการและชมุ ชน จํานวน ๗๙ แหง มีเดก็ ไดรบั การเลยี้ งดู จํานวน ๒,๐๑๑ คน

๖. กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม มีสถาบันอุดมศึกษาที่ผลิตบุคลากรดาน
การพัฒนาเด็กปฐมวัยในมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐหลายแหงและสถาบนั ราชภัฏจํานวน 38 แหง ที่ผลิตบัณฑิต
ดา นการศกึ ษาปฐมวัย รวมท้ังเปนหลกั ในการดําเนินงานวจิ ยั พฒั นาและเผยแพรอ งคค วามรรู วมกับหนว ยงานอ่ืน ๆ

 แผนยทุ ธศาสตรการพฒั นาการศึกษาปฐมวัยเชิงบรู ณาการ จงั หวัดนาน (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 26}

๗. กระทรวงยุติธรรม มีการดําเนินงานท่ีสําคัญกับกลุม เปาหมายเฉพาะ คือ ผูตองขังหญิงตง้ั ครรภและ
เด็กติดผูตองขัง โดยกระทรวงยุติธรรมไดดําเนินการจัดสรรงบประมาณใหแกเรือนจําและทัณฑสถานที่ควบคุม
ผูตองขังหญิงตั้งครรภและเด็กติดผูตองขัง และใหโรงพยาบาลหรือสาธารณสุขเปนผูจัดอบรมใหแกผูตองขังหญิง
ต้ังครรภและเจาหนาท่ีท่ีปฏิบัติงานดานการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูตองขังหญิงตั้งครรภและเด็กติดผูตองขัง
เพื่อการตั้งครรภท่ีมีคุณภาพและการดูแลหลังคลอด ทั้งดานโภชนาการ และการตรวจสุขภาพ ซึ่งมีการดูแลเด็ก
ปละประมาณ ๒๕๖ คน ทั้งน้ี ในชวงปงบประมาณ ๒๕๕๖ - ๒๕๕๘ มีการจัดอบรมใหความรูจํานวน ๒๕๒ แหง
การพัฒนาเด็กปฐมวัยของแตละกระทรวงและหนวยงานท่ีเกี่ยวของทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ
มีการดําเนินการตามภารกิจหนาท่รี ับผิดชอบหลักของตน อยางไรก็ตามยังขาดระบบการดูแลและการพัฒนาเด็ก
ปฐมวยั แบบองคร วมที่มุง เนนการบรู ณาการการดําเนินงานระหวางกระทรวงที่เกี่ยวของทั้งหมด เพ่ือลดการทํางาน
ทซี่ ้าํ ซอนและไมเปนเอกภาพ เชน มาตรฐานการพัฒนา ระบบการสํารวจพัฒนาการ/ศักยภาพ ระบบการประเมิน
การดาํ เนินงาน ฯลฯ อันจะนําไปสูประโยชนในการผลักดันขับเคลื่อนการดําเนินงานใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน
อยา งมปี ระสิทธภิ าพและเห็นผลอยา งเปนรปู ธรรม

 การดาํ เนนิ งานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยในพน้ื ท่จี ังหวดั นาน

การดาํ เนินงานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยแบงเปน 2 กลุมอายุ คอื กลุม อายุต่ํากวา 3 ป และกลมุ 3-5 ป
1) กลุมอายุตํ่ากวา 3 ป ครอบครัวตองเปนแกนหลักในการดูแลและสงเสริมพัฒนาการ ซ่ึงบุคคล
สําคัญคอื พอแม ผปู กครอง และสมาชกิ ในครอบครัว โดยตองถอื เปน เด็กทุกคนมีสิทธ์ิที่จะไดรับการดูแล ชวยเหลือ
ใหมีชีวิตอยูรอดปลอดภัย ไดรับการคุมครองปองกันและไดรับการพัฒนาเต็มศักยภาพ สามารถดาํ เนินชีวิตอยูใน
สงั คมไดอ ยา งมคี วามสุข
2) กลุมอายุ 3-5 ป ใชสถานพัฒนาเด็กหรือรูปแบบอ่ืนทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
โดยใหค รผู เู ลีย้ งดูเดก็ ผูด ูแลเด็ก รวมมอื กบั พอ แม ผปู กครองและครอบครวั ในการพัฒนาเดก็
หนว ยงานรับผิดชอบดาํ เนินการจดั บรกิ ารเพอ่ื ดแู ลและพฒั นาเด็กปฐมวยั
1. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยโดยสํานกั งานพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย จังหวัดนาน การดาํ เนินงานดานการพัฒนาเด็กปฐมวัย กระทรวงมีมาตรการ กลไก และนวัตกรรมใน
การสง เสรมิ สวสั ดภิ าพและคมุ ครองพิทักษสิทธเิ ดก็ ปฐมวยั เพ่อื ใหเ ด็กปฐมวัยตัง้ แตแรกเกิดถึงกอนประถมศึกษาปที่
1ในประเทศไทยทุกคนไดรับการคุมครองสวัสดิภาพและพิทักษสิทธิ ในการไดรับการอบรมเล้ียงดูอยางมีคุณภาพ
แบบองคร วม และปราศจากความรุนแรง อยางทั่วถึง เทาเทียม โดยคํานึงประโยชนสงู สุดท่ีเกิดกับเดก็ เพื่อใหเด็ก
ไดรับการพัฒนาเต็มศกั ยภาพ ตลอดจนบูรณาการการมีสวนรวมละเสริมสรางความเข็มแข็งของภาคีเครือขายทุก
ระดับในการทาํ งานรวมกัน เพอ่ื ใหเ ด็กปฐมวยั มคี ณุ ภาพชวี ติ ท่ดี ีและมีความมัน่ คงในการดํารงชวี ติ

2. กระทรวงสาธารณสุขโดยสาํ นกั งานสาธารณสขุ จังหวดั นาน
กระทรวงสาธารณสุข นับเปนกระทรวงตน ๆ ของการดแู ล สงเสริมสุขภาพประชากรทุกชวงวัย โดย
วางแนวคิดในการพัฒนา “คน” อยางมีประสิทธิภาพ เริ่มต้งั แตทารกอยูในครรภ ชวงปฐมวัย วัยเรียน วัยรุน วัยทํางานและ
วัยสูงอายุ ตอเน่ืองตลอดชีวิต ปจจัยทางพันธุกรรม ทางชีวภาพ ดานสิ่งแวดลอมและการเลี้ยงดูเด็กที่เหมาะสม
สามารถเปลยี่ นโครงสรา งและประสิทธิภาพการทํางานของสมองมนุษย และการพัฒนาทักษะชีวิตใหแกเด็ก อีกท้ัง
การเล้ียงดูเด็กอยางถูกตองและตอบสนองความตองการอยางสมดุล เปนการวางรากฐานบุคลิกภาพของเด็กเพื่อ
การปองกันปญหาสังคมในระยะยาว โดยเนนใหพอแมและบุคคลในครอบครัวเลี้ยงดูอบรมสั่งสอนและฝกทักษะ
การอยูในสังคมอยางมีความสุข โดยมีชุมชนเปนฐานรากท่มี ีสวนรวมอยางแทจริงในการพัฒนาเด็ก ซ่ึงผลงานวิจัย
สรุปชดั เจนวา การทเ่ี ดก็ ไดร ับสง่ิ เรา ดวยการสมั ผัสประสบการณตา งๆ การกระตุนพัฒนาการ สามารถพัฒนาระบบ
การคดิ พัฒนาการควบคมุ อารมณ พฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรมของเดก็ ใหมีความพรอมในการนําใชกับชีวิตประจําวัน
ไดอยา งมคี วามสุข กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัยจึงจัดทําแผนงานการพัฒนาเด็กปฐมวัย และสตรีอยางมี
คุณภาพโดยใชกระบวนการความฉลาดทางปญญา (IQ) ความฉลาดทางอารมณ (EQ) และความฉลาดทางสังคม (SQ) ใหเด็ก
มคี ุณภาพชวี ติ ที่ดีเตบิ โตเปนผใู หญท ี่เปนกาํ ลังสําคัญตอการพฒั นาประเทศชาตติ อ ไป

 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาปฐมวยั เชงิ บูรณาการ จงั หวดั นา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 27}

3. กระทรวงมหาดไทยโดยทอ งถิ่นจงั หวัดนา น
กระทรวงมหาดไทย โดยกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน ในฐานะท่ีเปนองคกรหลักในการสงเสริม
สนับสนนุ ใหอ งคก รปกครองสวนทอ งถนิ่ ปฏิบัติงานตามอํานาจหนาที่ภายใตหลักธรรมาภิบาลเพื่อประโยชนสุขของ
ประชาชน ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของการจัดการศึกษาปฐมวัย ซึ่งเปนรากฐานของการพัฒนาบุคลากรของ
ประเทศชาติ จึงไดกําหนดนโยบายในการสงเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาปฐมวัยในศูนยพัฒนาเด็กเล็กและ
โรงเรียนอนุบาลขององคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยสงเสริมและมุงพัฒนาความพรอมแกเด็กปฐมวัยใหไดรับการ
พัฒนาท้ังดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม สติปญญา และมีความพรอมในการเขารับการศึกษาตอในระดับ
ประถมศึกษา เพื่อใหสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาลในการพัฒนาเด็กปฐมวัย ท้ังน้ีตั้งแตป พ.ศ.2546 เปนตน
มา องคกรปกครองสวนทองถิ่นไดรับถายโอนภารกิจการจัดการศึกษาปฐมวัยของศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ตาม
พระราชบัญญัติกาํ หนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจใหแ กอ งคก รปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2542 จากกรม
พัฒนาชุมชน ศูนยอบรมเด็กกอนเกณฑในวัด/มัสยิด จากกรมการศาสนา และการจัดการศึกษาอนุบาล 3 ขวบ
จากสํานักงานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหงชาติ (สปช.เดิม)
4. กระทรวงศกึ ษาธิการ
กระทรวงศกึ ษาธิการมีหนวยงานท่ีจัดการศึกษาและดําเนินการเก่ียวกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย ไดแก
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน สํานักงาน
เลขาธิการสภาการศกึ ษา ดังน้ี

1) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) มีหนวยงานท่ีรับผิดชอบการศึกษา
ปฐมวัยคือ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักบริหารงานการศึกษาภาคบังคับ สํานักนโยบายและ
แผนการศกึ ษา ขั้นพ้ืนฐาน และสํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษในระดับจังหวดั ที่สถานศึกษาสังกัดสํานกั งานเขต
พ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษานาน เขต1,2

2) สํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีหนวยงานในสังกัดที่รับผิดชอบการศึกษาปฐมวัย 2
หนว ยงาน คอื สาํ นักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และสาํ นักงานคณะกรรมการการ
สง เสริมการศกึ ษาเอกชนในระดับจังหวดั ท่มี ีสถานศึกษาเอกชน
3) สาํ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา มีภารกิจในฐานะพัฒนานโยบายและแผน และเปนฝาย
เลขานกุ ารคณะกรรมการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แหงชาติ ดาํ เนนิ งานดานการพัฒนาการศกึ ษาปฐมวัย
5. กระทรวงแรงงาน
กระทรวงแรงงานมีหนวยงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย คือ กรมสวัสดิการและคุมครอง
แรงงาน มีภารกิจในการสงเสริมใหนายจาง/เจาของสถานประกอบกิจการใหความสําคัญในการจัดสวัสดิการ
แรงงาน โดยเฉพาะการจัดสวัสดิการแรงงานนอกเหนือจากที่กฎหมายกําหนดในรูปแบบการจัดต้ังศูนยเลี้ยงเด็ก
และมมุ นมแมในสถานประกอบกิจการ โดยมวี ตั ถุประสงคเพ่อื ชวยลดภาระคา ครองชีพและความกังวลในการเล้ียงดู
บุตรหลานของลูกจาง
6. สาํ นกั นายกรัฐมนตรี
สํานักนายกรัฐมนตรีมีหนวยงานท่ีอยูในความรับผิดชอบในการพัฒนาเด็กปฐมวัย คือ สํานักงาน
ตํารวจแหงชาติ โดยกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดนจัดการศึกษาใหพัฒนาเด็กปฐมวัยในโรงเรียนตํารวจ
ตระเวนชายแดน โดยมุง กระตุนและพัฒนาใหสมาชิกของชุมชน อาทิ ผูปกครอง กรรมการหมูบ าน ผูที่เกี่ยวของใน
ชุมชนเห็นความสําคัญและมีสวนรวมในการเตรียมความพรอมของเด็กในช้ันอนุบาลที่จะเขาเรียนในระดับ
ประถมศึกษา รวมท้ังใหมีความเขาใจในเร่ืองการเลี้ยงดูเด็ก พัฒนาการ จิตวิทยาเด็ก และสามารถจัดกิจกรรมให
เหมาะสมกบั วยั ของเด็ก

 แผนยุทธศาสตรการพฒั นาการศกึ ษาปฐมวยั เชิงบรู ณาการ จังหวดั นาน (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 28}

สวนท่ี ๓
สาระสําคญั ของแผนยุทธศาสตรการพฒั นาการศกึ ษาปฐมวยั

เชิงบูรณาการ จงั หวดั นา น พ.ศ. 2566-2570

วสิ ัยทัศน
เด็กปฐมวยั จังหวัดนานไดร บั การดูแลใหมีพัฒนาการสมวัยตามมาตรฐาน โดยความรวมมือแบบบูรณาการทุกภาคสวน

พันธกิจ
1. สง เสรมิ ใหเ ดก็ ปฐมวัยจงั หวัดนานทกุ คนไดรบั การอบรมเลี้ยงดูอยา งมีคณุ ภาพตามมาตรฐานสถานพัฒนา

เด็กปฐมวยั แหงชาติ
2. พัฒนาศักยภาพผทู ่เี กย่ี วของในเรื่องการอบรมเลีย้ งดู สงเสรมิ สขุ ภาพและพฒั นาการของเด็กปฐมวัย
3. สงเสริมใหม กี ารจัดและพัฒนาสภาพแวดลอมที่เหมาะสมกบั เด็กปฐมวยั ตามบริบทของแตล ะพนื้ ท่ใี นจังหวดั นา น
4. สงเสรมิ การใชเ ครือขา ยในการดูแลอบรมเลี้ยงดู ใหมีพฒั นาการสมวยั
5. สง เสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาดานปฐมวยั ใหส ามารถเชอ่ื มโยงและแลกเปล่ียนขอมลู

รวมกันได

เปาหมายหลกั
1. เพ่ือใหเด็กปฐมวยั มีพัฒนาการทางดานรางกาย อารมณ – จิตใจ สังคม และสตปิ ญ ญา ตามศกั ยภาพ
2. เพอ่ื ใหครอบครัว สงั คม ชมุ ชน องคก รภาครฐั และเอกชน เขา มามสี ว นรวมในการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั
3. เพ่อื ใชเปนแนวทางในการดําเนนิ งานดา นการสงเสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวัยแบบบูรณาการทุกภาคสวน

ประเด็นยุทธศาตร
ยทุ ธศาสตรท ี่ ๑ การจัดและการใหบรกิ ารแกเ ด็กปฐมวัย
ยุทธศาสตรที่ ๒ การพัฒนาบทบาทความเปนพอเปนแม (Parenting) ในการอบรมเลยี้ งดแู ละบทบาท

ของครอบครัว
ยุทธศาสตรท ่ี ๓ การพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการใหบรกิ ารเดก็ ปฐมวยั
ยทุ ธศาสตรท่ี ๔ การจดั ระบบขอ มูลสารสนเทศดา นเด็กปฐมวยั และการนําไปใชประโยชน
ยทุ ธศาสตรท ่ี ๕ การสรางความเขา ใจในกฎหมายกฎระเบียบท่ีเกี่ยวกบั เดก็ ปฐมวัย และดาํ เนินการตามกฎหมาย
ยุทธศาสตรท ่ี ๖ การวจิ ยั พัฒนาและเผยแพรอ งคค วามรู
ยทุ ธศาสตรท่ี ๗ การบริหารจัดการสรางกลไก ประสานงานและติดตามประเมินผล

กลยทุ ธ
1. สง เสรมิ และพัฒนาการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ พ.ศ.๒๕๖๑แบบบูรณาการ

ทกุ ภาคสว น
๒. สนับสนนุ การมีสวนรวมของเครอื ขาย ในการนาํ ภูมปิ ญญา วัฒนธรรมประเพณที องถ่ิน ทรัพยากร สง่ิ แวดลอม

เศรษฐกจิ และการทอ งเทีย่ วมาใชในการจัดประสบการณเ ด็กปฐมวยั ตามบรบิ ทเชิงพื้นท่ี
๓. สง เสรมิ ศนู ยเ ครอื ขา ยการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาปฐมวัยจงั หวดั นานใหค วามรูแ กค รู ผูปกครอง
๔. สงเสรมิ การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการบริหารการศกึ ษาปฐมวยั ท่ีถูกตอ งและเหมาะสม

ตารางเปรียบเทยี บแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเด็ก ในระดบั ตา งๆ

แผนพัฒนาเดก็ พ.ศ.2566-2570 แผนยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาการศึกษาเด็กปฐมวัย แผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาเด็กปฐมวัย
(สํานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา) เชงิ บรู ณาการ จงั หวัดนา นพ.ศ. 2561-2564 เชงิ บรู ณาการ จังหวดั นาน
พ.ศ. 2566-2570
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562)

วสิ ยั ทัศน เดก็ ปฐมวยั ทุกคนไดร บั การพฒั นาอยา งรอบดา น เดก็ ปฐมวัยจังหวัดนา น มีพัฒนาการสมวัยและไดรับ เด็กปฐมวัยจังหวัดนา นไดร บั การดแู ลใหมพี ัฒนาการ

พนั ธกิจ/ เตม็ ตามศกั ยภาพ เปน พ้ืนฐานของความเปน การเลีย้ งดูอยางมคี ณุ ภาพตามมาตรฐาน สมวัยตามมาตรฐาน โดยความรวมมือแบบ
นโยบาย
พลเมอื งคุณภาพ โดยความรวมมือจากทกุ ภาคสว น บูรณาการทกุ ภาคสวน

นโยบายดา นเด็กปฐมวัย ๓ ประการ ไดแก 1.สง เสริมใหเดก็ ปฐมวัยจงั หวดั นา นทุกคนไดร ับการ 1.สงเสรมิ ใหเ ดก็ ปฐมวยั จังหวดั นานทุกคนไดรบั การ

๑. เด็กปฐมวัยทุกคนตองไดร ับการพฒั นาอยางรอบ อบรมเลยี้ งดูอยางมีคณุ ภาพตามมาตรฐานสถานพัฒนา อบรมเลยี้ งดูอยา งมีคณุ ภาพตามมาตรฐานสถานพัฒนา
ดา น อยา งมีคณุ ภาพ ตามศักยภาพ ตามวยั และ เด็กปฐมวยั แหงชาติพ.ศ. 2561 เด็กปฐมวยั แหง ชาติ

ตอเนื่อง 2.พฒั นาศกั ยภาพผทู ี่เกยี่ วของในเรื่องการอบรมเลี้ยงดู 2.พฒั นาศกั ยภาพผทู เ่ี ก่ยี วของในเร่อื งการอบรมเลี้ยงดู

๒. การพัฒนาเดก็ ตามขอ ๑ ตองจัดใหเ ปน ระบบและ สงเสรมิ สขุ ภาพและพัฒนาการของเด็กปฐมวยั สง เสรมิ สขุ ภาพและพฒั นาการของเด็กปฐมวยั
มคี วามสมั พนั ธร ะหวางกนั โดยบรู ณาการชดั เจน 3.สงเสรมิ ใหมีการจดั และพฒั นาสภาพแวดลอมที่ 3.สง เสริมใหม ีการจัดและพัฒนาสภาพแวดลอ มที่
ระหวา งหนว ยงานราชการ และทไี่ มใชราชการ เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยตามบรบิ ทของแตล ะพ้นื ท่ีใน เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยตามบริบทของแตล ะพ้นื ท่ีใน
ระหวางวิชาชีพทีส่ มั พันธกับการพัฒนาเด็กปฐมวยั จงั หวดั นา น จงั หวัดนา น
และระหวางระดบั ตาง ๆ ของการบรหิ ารราชการ 4. พฒั นาเครือขายในเร่อื งการอบรมเล้ยี งดู สงเสริม 4.สง เสริมการใชเ ครือขายในการดูแลอบรมเลีย้ งดู
สุขภาพและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ใหมีพัฒนาการสมวัย
แผน ดินจากระดับชาติ สว นกลาง สว นภมู ิภาค และ จงั หวัดนาน
สวนทอ งถนิ่ 5. สง เสรมิ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

5. พฒั นาฐานขอมลู สารสนเทศเดก็ ปฐมวัย ดานปฐมวยั ใหสามารถเชอ่ื มโยงและแลกเปลยี่ นขอ มูล
๓. รฐั และทกุ ภาคสวนตองรวมกนั ระดมทรัพยากรให สถานศึกษาและบุคลากรทีเ่ ก่ียวขอ งใหส ามารถ
เพยี งพอแกการพฒั นาเด็กปฐมวัยตามนโยบายขอ ๑ เชื่อมโยงและแลกเปลยี่ นขอมูลเพอื่ ใชรวมกับ รวมกนั ได

หนว ยงานอนื่ ได

 แผนยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาการศกึ ษาปฐมวยั เชิงบูรณาการ จงั หวัดนาน (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 30}

แผนพฒั นาเด็กพ.ศ.2566-2570 แผนยุทธศาสตรก ารพฒั นาการศึกษาเด็กปฐมวัย แผนยุทธศาสตรการพฒั นาการศึกษาเด็กปฐมวยั
(สํานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา) เชิงบูรณาการ จงั หวัดนานพ.ศ. 2561-2564 เชิงบรู ณาการ จงั หวัดนา น
พ.ศ. 2566-2570
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2562)

เปาประสงค เดก็ ปฐมวยั ทกุ คน ซึ่งหมายถึงเดก็ ทุกคนทอ่ี ยูใน 1. เพอ่ื ใหเดก็ ปฐมวัยมพี ฒั นาการทางดานรางกาย 1. เพอ่ื ใหเ ดก็ ปฐมวยั มพี ัฒนาการทางดา นรางกาย
ประเทศไทย รวมถึงเดก็ ท่เี ปน ลูกแรงงานตา งชาติ
ยทุ ธศาสตร และเด็กทีไ่ มไดมาจากครอบครัวไทย ท่อี าศัยอยูใน อารมณ – จิตใจ สังคม และสตปิ ญญา เต็มตาม อารมณ – จิตใจ สังคม และสติปญญา ตามศกั ยภาพ
การพัฒนา ประเทศไทย ตองไดร ับการพัฒนาอยา งรอบดาน
อยา งมีคณุ ภาพตามศกั ยภาพ ตามวัย และตอ เนือ่ ง ศักยภาพ 2. เพื่อใหครอบครัว สังคม ชุมชน องคกรภาครัฐ และ
และสามารถเขาถึงบริการสุขภาพ การศกึ ษา และ
สวัสดกิ ารสงั คมไดอยา งเทา เทียมกัน 2. เพ่ือใหครอบครัว สังคม ชุมชน องคกรภาครัฐ และ เอกชน เขา มามีสวนรว มในการพัฒนาเด็กปฐมวยั

เอกชน เขามามสี ว นรว มในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั 3.เพ่อื ใชเ ปน แนวทางในการดาํ เนินงานดานการ

3.เพอื่ ใชเปน แนวทางในการดําเนินงานดา นการสงเสริม สงเสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวัยแบบบูรณาการทกุ ภาค
พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ทีบ่ รู ณาการกับทุกภาคสวน สว น

ยุทธศาสตรท่ี ๑ การจัดและการใหบ ริการแกเด็ก ยุทธศาสตรท ่ี ๑การจดั และการใหเด็กเขาถึงบริการที่ ยุทธศาสตรท ี่ ๑ การจัดและการใหบ รกิ ารแกเด็ก
ปฐมวัยยุทธศาสตรท่ี ๒ การพฒั นาบทบาทความเปน
ปฐมวัย พัฒนาเด็กปฐมวัย พอเปน แม (Parenting) ในการอบรมเลยี้ งดูและ
บทบาทของครอบครัว
ยุทธศาสตรท ่ี ๒ การพัฒนาและสรางความเขมแขง็ ยทุ ธศาสตรที่ ๒การพฒั นาบทบาทความเปน พอเปน ยทุ ธศาสตรท ี่ ๓ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการ
ใหบรกิ ารเด็กปฐมวยั
ใหกับสถาบันครอบครัวในการอบรมเลย้ี งดูเด็กปฐมวัย แม (Parenting) ในการอบรมเลยี้ งดแู ละบทบาทของ ยทุ ธศาสตรท่ี ๔ การจดั ระบบขอมลู สารสนเทศดา น
เด็กปฐมวัยและการนาํ ไปใชป ระโยชน
ยุทธศาสตรท่ี ๓ การพฒั นาคุณภาพและมาตรฐาน ครอบครัว ยทุ ธศาสตรที่ ๕ การสรางความเขา ใจในกฎหมาย
กฎระเบียบท่ีเกี่ยวกับเด็กปฐมวยั และดาํ เนนิ การตาม
การใหบ ริการพัฒนาเด็กปฐมวัย ยุทธศาสตรที่ ๓การพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการ กฎหมาย
ยทุ ธศาสตรท ี่ ๖ การวิจยั พฒั นาและเผยแพรอ งค
ยุทธศาสตรที่ ๔ การพฒั นาระบบและกลไก ใหบริการทีพ่ ัฒนาเด็กปฐมวยั ความรู

การบูรณาการสารสนเทศดา นเดก็ ปฐมวยั และการ ยทุ ธศาสตรท่ี ๔การจัดระบบขอมลู สารสนเทศและ

นําไปใชประโยชน ตวั ช้วี ดั ดานเด็กปฐมวยั

ยทุ ธศาสตรท่ี ๕การจดั ทาํ และปรบั ปรงุ กฎหมาย ยทุ ธศาสตรที่ ๕สรางความเขาใจในกฎหมาย

กฎระเบยี บ ท่ีเกย่ี วกับเดก็ ปฐมวัยและการดาํ เนินการ กฎระเบียบทเ่ี ก่ยี วกับเด็กปฐมวัยและการดาํ เนนิ การ

ตามกฎหมาย ตามกฎหมาย

ยุทธศาสตรที่ ๖ การวิจัยพฒั นาและเผยแพร ยทุ ธศาสตรที่ ๖การวจิ ยั พฒั นาและเผยแพรอ งค

องคความรู ความรู

 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาปฐมวยั เชงิ บูรณาการ จงั หวัดนาน (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 31}

แผนพัฒนาเด็กพ.ศ.2566-2570 แผนยุทธศาสตรก ารพฒั นาการศกึ ษาเดก็ ปฐมวัย แผนยุทธศาสตรการพฒั นาการศึกษาเดก็ ปฐมวยั
(สํานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา) เชิงบรู ณาการ จังหวัดนา นพ.ศ. 2561-2564 เชงิ บูรณาการ จังหวดั นา น
พ.ศ. 2566-2570
ยทุ ธศาสตรท ่ี ๗ การบริหารจดั การ การสรา งกลไก (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2562)
การประสานการดําเนนิ งาน และการติดตาม
ประเมนิ ผล ยทุ ธศาสตรท ่ี ๗ การบริหารจดั การการสรา งกลไกการ ยุทธศาสตรท ี่ ๗ การบรหิ ารจัดการสรางกลไก
ประสานการดาํ เนินงานและการติดตามประเมนิ ผล ประสานงานและตดิ ตามประเมินผล

 แผนยทุ ธศาสตรการพัฒนาการศกึ ษาปฐมวัยเชงิ บรู ณาการ จังหวดั นา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 32}

สว นท่ี ๔

โครงการ กิจกรรม และ งบประมาณ แผนยทุ ธศาสตรการพัฒนาการศกึ ษาปฐมวัยเชิงบูรณาการ จังหวดั นา น พ.ศ. 2566-2570

ตารางรายละเอียดโครงการกจิ กรรม

ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 การจดั และการใหบริการแกเ ด็กปฐมวยั

เปาประสงคท ี่ 1 เพอื่ ใหเ ดก็ ปฐมวยั มพี ัฒนาการทางดา นรางกาย อารมณ – จิตใจ สังคม และสตปิ ญ ญา ตามศกั ยภาพ
กลยุทธท ี่ 1 สง เสรมิ และพฒั นาการจดั การศกึ ษาปฐมวัย ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ.๒๕๖๑แบบบรู ณาการทุกภาคสวน

โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค เปาหมาย ตวั ชีว้ ัดและ งบประมาณ แหลง หนว ยงาน
โครงการ คาเปาหมาย 2566 2567 2568 2569 งบประมาณ รับผิดชอบ
2570
1.โครงการพฒั นาทกั ษะ เพอื่ พฒั นาเดก็ 1.ครูปฐมวัยทกุ 1. ครรู อยละ 80 700,000 850,000 900,000 1,000,000 อบจ.นาน สนง.
สมองEF สําหรบั เดก็ ปฐมวัยใหไดร ับการ สงั กัดในจังหวดั มคี วามรูแ ละ 150,000
ปฐมวัย (บรู ณาการ 6 พัฒนาทักษะสมอง นาน สามารถจดั ศธจ.นา น
กิจกรรม) ใหมคี วามเชือ่ มั่น ประสบการณให
และภูมิใจนําสเู ดก็ 2.เด็กปฐมวัยใน เดก็ ไดร ับการ
ยคุ ใหมใ นศตวรรษท่ี จงั หวัดนา นไดร ับ พฒั นาทกั ษะสมอง
21 การพัฒนาทกั ษะ
สมอง 2.เดก็ ปฐมวัยรอย
ละ 100 ไดร บั การ
พัฒนาทกั ษะ EF

 แผนยุทธศาสตรก ารพัฒนาการศึกษาปฐมวัยเชิงบรู ณาการ จงั หวดั นา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 33}

ยทุ ธศาสตรท ี่ 1 การจดั และการใหบรกิ ารแกเ ดก็ ปฐมวยั

เปา ประสงคท ี่ 1 เพ่อื ใหเดก็ ปฐมวยั มพี ฒั นาการทางดานรา งกาย อารมณ – จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญญา ตามศกั ยภาพ
กลยุทธท ี่ 1 สง เสรมิ และพฒั นาการจดั การศึกษาปฐมวยั ตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ พ.ศ.๒๕๖๑แบบบรู ณาการทุกภาคสวน

โครงการ/กิจกรรม วตั ถปุ ระสงค เปาหมาย ตวั ช้วี ัดและ งบประมาณ แหลง หนว ยงาน
โครงการ คา เปาหมาย 2566 2567 2568 2569 งบประมาณ รับผดิ ชอบ
2570
2.โครงการศนู ยภาษา 1.เพ่ือพัฒนาเดก็ ปฐมวัย 1.ครูปฐมวยั ทุก 1. ครรู อยละ 80 150,000 150,000 150,000 150,000 - พมจ.นา น พมจ.นาน
มที ักษะการใช 150,000 - ศธจ.นา น ศธจ.นา น
สมวัย ในจงั หวัดนา นใหม ที กั ษะ สังกัดในจงั หวดั ภาษาตางประเทศ 300,000 300,000
เพ่มิ ขนึ้ 300,000 อปท.นาน
ภาษาตางประเทศ นา น สสจ.นา น

2.เด็กปฐมวัยใน 2.เดก็ ปฐมวัยรอย
จังหวดั นา น ละ 80 ไดร ับการ
พฒั นาทักษะ
ภาษาตางประเทศ

3.โครงการคาย 1.เพื่อพัฒนาและปลูกฝง เด็กปฐมวยั ใน 1. เดก็ ปฐมวัย 300,000 300,000 - พมจ.นา น พมจ.นาน
พัฒนาปลูกฝง โคด กระบวนการคดิ และ จังหวัดนา น รอยละ 80 - ศธจ.นาน ศธจ.นาน
ดิ้งสกิล สาํ หรับเดก็ ข้ันตอนการคิดอยางเปน มที ักษะการคิด อปท.นา น
ปฐมวัย Coding ระบบผา นคาย แบบ Coding สสจ.นา น
skill) ประสบการณ skill
2.เพื่อสรา งทักษะและ 2. เด็กปฐมวยั
การแกไขปญ หาของเดก็ รอยละ 80
ปฐมวยั มีทักษะการแกไช
3. เพอ่ื สรางทกั ษะการ ปญหาแบบกลมุ
แกไขปญหาแบบกลมุ
ของเดก็ ปฐมวยั ผา นคา ย
พฒั นา

 แผนยทุ ธศาสตรก ารพัฒนาการศึกษาปฐมวัยเชงิ บูรณาการ จงั หวดั นา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 34}

ยุทธศาสตรที่ 1 การจดั และการใหบ ริการแกเ ด็กปฐมวัย

เปาประสงคท ี่ 1 เพอ่ื ใหเด็กปฐมวยั มพี ัฒนาการทางดา นรา งกาย อารมณ – จติ ใจ สังคม และสตปิ ญญา ตามศักยภาพ
กลยุทธที่ 1 สง เสรมิ และพฒั นาการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ.๒๕๖๑ แบบบูรณาการทกุ ภาคสวน

โครงการ/กิจกรรม วตั ถุประสงค เปา หมายโครงการ ตัวชว้ี ัดและ งบประมาณ แหลง หนว ยงาน
คาเปา หมาย 2567 2568 2569 งบประมาณ
2566 2570 รับผดิ ชอบ
100,000 100,000 100,000 สสส.
4.โครงการปลูกพลัง 1. เพ่อื พฒั นาครู เชิงปริมาณ นกั เรยี นระดับ 100,000 100,000 อบจ. พมจ.นาน
บวก เพ่ือสราง ปฐมวยั ใน 1. โรงเรยี นหรือ ปฐมวยั มภี มู ิคุมกนั ทองถนิ่ ศธจ.นาน
จติ สาํ นกึ ภูมคิ ุมกัน สถานศึกษา สถานศกึ ษานท่เี ปดสอน ปจ จยั เสย่ี งตางๆ จังหวัด อปท.นา น
ปจจยั เสยี่ งสําหรบั เครอื ขา ยโครงการ ระดับปฐมวยั ทกุ แหงใน รอบตัว สสจ.นา น
เด็กปฐมวัย ปลูกพลังบวกเพ่ือ จังหวดั นาน สพป.นา น 1
สรา งจติ สํานกึ เชงิ คณุ ภาพ สพป.นาน 2
ภูมิคมุ กนั ปจจัยเสย่ี ง 1. ครปู ฐมวยั ผรู วม
สําหรับเด็กปฐมวัย โครงการสามารถจดั
1.2 เพื่อขยาย กจิ กรรมตามโครงการ
เครือขายโครงการ ไดอ ยางมีประสิทธิภาพ
ปลกู พลงั บวกเพ่ือ 2. ครู ผบู ริหาร และ
สรางจติ สาํ นกึ ปกครอง มีความพึง
ภมู ิคมุ กันปจจัยเสี่ยง พอใจโครงการในระดับ
สําหรับเด็กปฐมวัย มากถึงมากท่สี ดุ
1.3 เพอื่ ศกึ ษาผล 3. เดก็ ปฐมวยั รอยละ
การดาํ เนนิ งานการ 80 มีพัฒนาการดาน
ขยายเครือขา ย ทกั ษะชีวติ ท้งั 4
โครงการ ปลกู พลงั องคประกอบ
บวก สรางจติ สํานกึ
ภูมคิ ุมกนั ปจจัยเสย่ี ง
สาํ หรับเดก็ ปฐมวยั

 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาปฐมวยั เชิงบูรณาการ จงั หวดั นา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 35}

ยทุ ธศาสตรท ี่ 1 การจดั และการใหบ รกิ ารแกเ ดก็ ปฐมวัย

เปาประสงคท่ี 1 เพ่อื ใหเ ดก็ ปฐมวยั มีพฒั นาการทางดา นรางกาย อารมณ – จิตใจ สังคม และสตปิ ญ ญา ตามศกั ยภาพ
กลยุทธท่ี 2 สนบั สนุนการมสี ว นรว มของเครอื ขาย ในการนาํ ภมู ปิ ญ ญา วฒั นธรรม ประเพณที องถนิ่ ทรัพยากร ส่ิงแวดลอม เศรษฐกจิ และการทองเทย่ี วมาใช ในการจัดประสบการณเ ด็ก

ปฐมวยั ตามบริบทเชิงพื้นที่

โครงการ/กจิ กรรม วัตถุประสงค เปา หมาย ตวั ชว้ี ัดและ งบประมาณ แหลง หนว ยงาน
โครงการ คา เปาหมาย 2566 2567 2568 2569 งบประมาณ รับผดิ ชอบ
2570
5. โครงการหน่งึ 1.เพ่อื ใหเ ดก็ ปฐมวัย เด็กปฐมวัยใน เด็กปฐมวยั ใน 500,000 250,000 250,000 250,000 -พมจ.นาน พมจ.นาน
ประสบการณลา น มีทักษะในการสังเกต จังหวดั นานทกุ คน สถานศกึ ษาทุก 250,000 - อปท.นา น ศธจ.นา น
ความรู สาํ รวจ และทํา สังกดั เขา รบั การ อปท.นา น
กจิ กรรมตามความ เรียนรจู ากโครงการ สสจ.นา น
สนใจ จาก รอ ยละ 80
ประสบการณจ รงิ

2.เพอื่ ใหเ ด็กปฐมวยั
มคี วามรสู กึ ผูกพันธ
กับส่งิ แวดลอมและ
ชมุ ชน

3.เพ่อื เปลีย่ น
บรรยากาศของการ
เรียนรูใ หม ีความ
หลากหลาย มคี วาม
สนกุ สนานในการ
เรยี นรสู ิ่งใหมๆ

 แผนยทุ ธศาสตรการพัฒนาการศึกษาปฐมวัยเชิงบรู ณาการ จงั หวดั นา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 36}

ตารางรายละเอียดโครงการกจิ กรรม

ยุทธศาสตรท ่ี 2 การพัฒนาบทบาทความเปนพอ เปน แม (Parenting) ในการอบรมเล้ยี งดแู ละบทบาทของครอบครวั
เปาประสงคท ่ี 2 เพอ่ื ใหค รอบครวั สังคม ชุมชน องคก รภาครัฐ และเอกชน เขา มามสี วนรว มในการพัฒนาเด็กปฐมวยั
กลยุทธท่ี 1 สง เสรมิ และพัฒนาการจดั การศึกษาปฐมวัย ตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ พ.ศ.๒๕๖๑แบบบูรณาการทุกภาคสว น

โครงการ/กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค เปา หมาย ตวั ชีว้ ดั และ งบประมาณ แหลง หนวยงาน
โครงการ คาเปา หมาย 2566 2567 2568 2569 งบประมาณ รบั ผดิ ชอบ
2570
1.โครงการสง เสรมิ เพอ่ื ใหพอ แม พอแมผปู กครอง รอ ยละ 80 ของ 150,000 150,000 150,000 150,000 - สพฐ. พมจ.นาน
วินัยเชิงบวก และ ผปู กครองสมาชิก เด็กปฐมวยั ใน พอแมผปู กครอง 150,000 -พมจ.นาน ศธจ.นา น
สงเสริมพัฒนาการ ในครอบครัว ได จังหวดั นา น เดก็ ปฐมวยั มี - ศธจ.นา น อปท.นาน
เด็กปฐมวยั triple p ตระหนกั ใน ความรคู วามเขาใจ สสจ.นา น
แบบบูรณาการ ความสาํ คญั ของการ พัฒนาการเดก็
รวมกนั พัฒนาเด็กปฐมวยั ปฐมวัย และวิธีการ
มีความรูความเขา ใจ อบรมเลยี้ งดู
พฒั นาการเดก็
ปฐมวัย และวธิ กี าร
อบรมเลีย้ งดู
2. เพอ่ื จัด
ประสบการณ
เด็กปฐมวัยอยา ง
ถูกตองและ
เหมาะสม

 แผนยุทธศาสตรการพฒั นาการศึกษาปฐมวัยเชิงบรู ณาการ จงั หวดั นา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 37}

ยุทธศาสตรท ่ี 2 การพฒั นาบทบาทความเปนพอเปนแม (Parenting) ในการอบรมเลีย้ งดแู ละบทบาทของครอบครวั
เปาประสงคท ี่ 2 เพื่อใหค รอบครวั สังคม ชุมชน องคก รภาครฐั และเอกชน เขา มามสี ว นรวมในการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั
กลยุทธท่ี 2 สนบั สนนุ การมีสว นรว มของเครอื ขา ย ในการนําภูมิปญญา วัฒนธรรม ประเพณที อ งถ่ินทรัพยากร สิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ และการทองเทย่ี วมาใช ในการจดั ประสบการณเดก็

ปฐมวัยตามบริบทเชิงพืน้ ท่ี

โครงการ/กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค เปา หมาย ตวั ชีว้ ัดและ งบประมาณ แหลง หนว ยงาน
โครงการ คา เปา หมาย 2566 2567 2568 2569 งบประมาณ รับผดิ ชอบ
2570
2. โครงการอยุ สอน 1.เพ่ือใหเ ดก็ ได เดก็ ปฐมวยั ใน เดก็ ปฐมวัยใน 500,000 250,000 250,000 250,000 - สพฐ. พมจ.นา น
หลานสบื สานวถิ ีนาน เรียนรจู าก จงั หวัดนานทุกคน สถานศึกษาทกุ 250,000 -พมจ.นา น ศธจ.นา น
ประสบการณต รง สงั กดั เขารับการ - ศธจ.นาน อปท.นา น
สามารถบรู ณาการ เรยี นรจู ากโครงการ สสจ.นา น
ความรูทีไ่ ดร บั จาก รอยละ 80
โครงการ
2. เพื่อสง เสรมิ ให
ชุมชนมสี วนรว มใน
การจดั ประสบการณ
การเรยี นรู
3. เพื่อใหน กั เรียนได
เรียนรเู ก่ียวกบั ชมุ ชน
และทองถิน่ ของ
ตนเอง

 แผนยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาการศกึ ษาปฐมวัยเชงิ บรู ณาการ จงั หวัดนา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 38}

ตารางรายละเอียดโครงการกิจกรรม

ยทุ ธศาสตรที่ 3 การพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการใหบ ริการเดก็ ปฐมวัย
เปาประสงคท่ี 3 เพ่อื ใชเปน แนวทางในการดาํ เนินงานดา นการสง เสริมพฒั นาการเด็กปฐมวัยแบบบรู ณาการทกุ ภาคสว น
กลยทุ ธท ี่ 1 สง เสรมิ และพัฒนาการจัดการศกึ ษาปฐมวัย ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ.๒๕๖๑ แบบบูรณาการทุกภาคสว น

โครงการ/กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค เปาหมาย ตวั ชี้วดั และ งบประมาณ แหลง หนว ยงาน
โครงการ คา เปา หมาย 2566 2567 2568 2569 งบประมาณ รบั ผิดชอบ
2570
1.โครงการสอื่ สรางเด็ก 1.เพือ่ พัฒนาครู 1.ครผู สู อนปฐมวยั 1.ครผู สู อนปฐมวยั 150,000 150,000 150,000 150,000 - สพฐ. พมจ.นา น
ปฐมวัยใหมี ในจงั หวัดนา น จดั ทาํ สื่อและ 150,000 -พมจ.นา น ศธจ.นา น
ความสามารถในการ 2. เดก็ ปฐมวัยใน นํามาใชในการจดั - ศธจ.นา น อปท.นาน
ผลติ สอ่ื การเรยี นรู จงั หวัดนาน ประสบการณสอน สสจ.นา น
เด็กปฐมวยั เดก็ ปฐมวยั ได
2.เพ่ือสนับสนุน รอ ยละ 100
สงเสริม และการ 2. เด็กปฐมวยั ใช
ผลติ สื่อ การใชส ่อื สอ่ื เทคโนโลยี
เทคโนโลยีของเด็ก เหมาะสมกับ
ปฐมวัย พัฒนาการตาม
มาตรฐานและ
บรบิ ท ทุกคน

 แผนยุทธศาสตรก ารพัฒนาการศกึ ษาปฐมวยั เชิงบรู ณาการ จงั หวดั นา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 39}

ตารางรายละเอยี ดโครงการกิจกรรม

ยุทธศาสตรที่ 4 การจดั ระบบขอ มูลสารสนเทศดานเดก็ ปฐมวยั และการนาํ ไปใชประโยชน
เปาประสงคที่ 3 เพอ่ื ใชเปน แนวทางในการดําเนนิ งานดา นการสงเสริมพฒั นาการเด็กปฐมวัยแบบบรู ณาการทกุ ภาคสว น
กลยทุ ธท่ี 4 สง เสรมิ การใชเทคโนโลยสี ารสนเทศในการบริหารการศกึ ษาปฐมวยั ทถี่ ูกตอ งและเหมาะสม

โครงการ/กจิ กรรม วตั ถุประสงค เปาหมาย ตวั ช้วี ัดและ งบประมาณ แหลง หนว ยงาน
โครงการ คาเปาหมาย 2566 2567 2568 2569 2570 งบประมาณ รบั ผิดชอบ

1.โครงการ Digital 1.สรา งและพฒั นา ครูผสู อนระดับ จงั หวดั นา นมี 200,000 100,000 100,000 100,000 100,000 -พมจ.นาน พมจ.นาน
For Nan แอปพลแิ คชนั่ ดา น ปฐมวัยในจงั หวดั เวปไซตเ ปน ศูนย - ศธจ.นาน ศธจ.นาน
Childhood การจัดประสบการณ นาน รวมขอมลู ของ อปท.นา น
(DFNC) และขอมลู การศึกษาระดับ สสจ.นา น
สารสนเทศ ปฐมวยั ในจงั หวดั
นาน
2.สรางหองอบรม
ออนไลนสําหรับ
ครูผสู อนระดับ
ปฐมวัย

3.สรา งศนู ยสื่อ
ออนไลน

4.สรา งเวปไซต
เครือขา ยออนไลนใน
การเผยแพรผลงาน/
แลกเปลย่ี นเรยี นรู

 แผนยทุ ธศาสตรการพัฒนาการศกึ ษาปฐมวัยเชงิ บรู ณาการ จงั หวดั นา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 40}

ตารางรายละเอียดโครงการกิจกรรม

ยุทธศาสตรท่ี 5 การสรา งความเขา ใจในกฎหมายกฎระเบียบทเี่ กี่ยวกบั เดก็ ปฐมวัย และดาํ เนินการตามกฎหมาย
เปา ประสงคท ี่ 2 เพ่อื ใหค รอบครวั สงั คม ชุมชน องคก รภาครัฐ และเอกชน เขา มามสี ว นรวมในการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั
กลยุทธที่ 3 สง เสรมิ ศูนยเครอื ขายการพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาปฐมวยั จังหวดั นานใหความรแู กครู ผปู กครอง

โครงการ/กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค เปา หมาย ตัวช้วี ัดและ งบประมาณ แหลง หนวยงาน
โครงการ งบประมาณ รบั ผิดชอบ
คา เปา หมาย 2566 2567 2568 2569 2570

1.โครงการจัดต้งั ศนู ย 1.เพอ่ื สงเสรมิ พัฒนา จงั หวัดนา นมี รอ ยละ 85 ของ 300,000 200,000 200,000 200,000 200,000 -พมจ.นาน พมจ.นาน
เครอื ขายปฐมวยั คุณภาพการจัด เครอื ขายปฐมวยั สถานศึกษาปฐมวยั - ศธจ.นา น ศธจ.นา น
จงั หวดั นา น การศกึ ษาปฐมวยั ใน จงั หวดั นา น เปน ในจงั หวดั นาน อปท.นา น
จังหวดั นาน ศูนยก ลางในการ ไดรบั การพฒั นา สสจ.นา น
บรหิ ารจดั การ โดยศูนยเ ครอื ขา ย
2.เพื่อจดั ตงั้ ศนู ย การศึกษาปฐมวัย ปฐมวยั จงั หวัด
เครือขา ยปฐมวยั ในจงั หวัดนา น นาน
จงั หวัดนาน สาํ หรบั
เปน ศูนยกลางในการ
บรหิ ารจดั การ
การศึกษาปฐมวัยใน
จงั หวัดนา น

 แผนยทุ ธศาสตรการพัฒนาการศกึ ษาปฐมวัยเชิงบรู ณาการ จงั หวดั นา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 41}

ตารางรายละเอียดโครงการกจิ กรรม

ยุทธศาสตรท ี่ 6 การวจิ ัยพัฒนาและเผยแพรอ งคความรู
เปา ประสงคท ี่ 2 เพือ่ ใหค รอบครวั สังคม ชมุ ชน องคก รภาครฐั และเอกชน เขา มามสี ว นรวมในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
กลยทุ ธท่ี 3 สงเสริมศูนยเ ครอื ขายการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาปฐมวยั จงั หวดั นา นใหความรแู กค รู ผูปกครอง

โครงการ/กิจกรรม วตั ถุประสงค เปาหมาย ตวั ชวี้ ัดและ งบประมาณ แหลง หนวยงาน
โครงการ คา เปา หมาย 2567 2568 2569 งบประมาณ รบั ผดิ ชอบ
2566 2570
1.โครงการสง เสรมิ 1.เพอื่ สนับสนนุ การ ผบู รหิ าร ครู รอยละ 85 ของ 300,000 300,000 300,000 -พมจ.นา น พมจ.นาน
คณุ ภาพการจัด จัดการศึกษาปฐมวัย ผปู กครอง และ ผเู ขารวมกิจกรรม 300,000 300,000 - ศธจ.นา น ศธจ.นาน
การศึกษาปฐมวยั ในจังหวดั นา น เดก็ ปฐมวยั ใน มคี วามรใู นการจัด อปท.นาน
จงั หวดั นา น จังหวดั นาน การศกึ ษาปฐมวัย สสจ.นา น
2.เพ่ือสงเสรมิ ให
ผูบรหิ ารบคุ ลากร
ทางการศึกษาและ
ผูปกครองมีความรู
และความเขา ใจใน
การจดั การศกึ ษา
ปฐมวยั

 แผนยุทธศาสตรก ารพฒั นาการศกึ ษาปฐมวยั เชงิ บูรณาการ จงั หวัดนา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 42}

ยทุ ธศาสตรท ี่ 6 การวจิ ัยพัฒนาและเผยแพรองคความรู
เปาประสงคท ่ี 2 เพือ่ ใหครอบครวั สังคม ชมุ ชน องคก รภาครัฐ และเอกชน เขา มามสี ว นรว มในการพฒั นาเด็กปฐมวยั
กลยุทธท ี่ 4 สงเสรมิ ศูนยเ ครอื ขายการพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาปฐมวยั จังหวัดนา นใหค วามรแู กค รู ผูปกครอง

โครงการ/กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค เปาหมาย ตวั ชีว้ ัดและ งบประมาณ แหลง หนว ยงาน
โครงการ คาเปา หมาย
2566 2567 2568 2569 2570 งบประมาณ รับผิดชอบ

2. โครงการสง เสรมิ 1.เพื่อเสริมสรา งให ผบู รหิ าร ครู เชิงปรมิ าณ 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 -พมจ.นาน พมจ.นา น
ผูบริหารครแู ละ ผปู กครอง 1.ผูบรหิ ารครุและ - ศธจ.นาน ศธจ.นา น
สมรรถนะทางดาน ผปู กครองมีความรู เดก็ ปฐมวยั ทุกคน ผปู กครองทีเ่ ขารว ม -อบจ.นา น อปท.นา น
เทคโนโลยีทาง ความเขา ใจเกี่ยวกบั โครงการ รอ ยละ 70 -สสจ.นาน สสจ.นา น
การศึกษาปฐมวัย เทคโนโลยีการศึกษา มคี วามรู ความเขาใจ
สําหรับเด็กปฐมวัย เก่ียวกบั เทคโนโลยี
2. เพื่อสงเสริมให การศกึ ษาปฐมวยั
ผูบริหาร ครู 2. ผบู รหิ าร ครู
ผปู กครองสามารถ ผปู กครอง รอ ยละ 70
ใชเ ทคโนโลยี ท่ีเขา รวมโครงการ
การศกึ ษาปฐมวัยได สามารถใชเทคโนโลยกี าร
จัดการศกึ ษาปฐมวยั
เชงิ คณุ ภาพ
ผูบริหาร ครู และ
ผปู กครอง สามารถนาํ
เทคโนโลยกี ารจดั
การศึกษาปฐมวยั ไป
สงเสริมพฒั นาการเด็ก
ปฐมวัยได

 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศกึ ษาปฐมวยั เชงิ บูรณาการ จงั หวัดนา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 43}

ตารางรายละเอียดโครงการกิจกรรม

ยุทธศาสตรท ่ี ๗ การบริหารจัดการสรา งกลไกประสานงานและติดตามประเมินผล
เปา ประสงคท ่ี 2 เพอ่ื ใหค รอบครวั สงั คม ชมุ ชน องคก รภาครัฐ และเอกชน เขา มามสี ว นรว มในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
กลยุทธท ่ี 2 สนับสนนุ การมีสวนรว มของเครือขาย ในการนาํ ภมู ปิ ญ ญา วัฒนธรรม ประเพณีทอ งถ่ินทรัพยากร ส่งิ แวดลอม เศรษฐกิจ และการทองเทย่ี วมาใช ในการจดั ประสบการณ

เด็กปฐมวัยตามบริบทเชิงพ้นื ที่

โครงการ/กิจกรรม วตั ถปุ ระสงค เปาหมาย ตัวชีว้ ัดและ งบประมาณ แหลง หนว ยงาน
โครงการ 2570 งบประมาณ รบั ผดิ ชอบ
คาเปาหมาย 2566 2567 2568 2569

1.โครงการเครอื ขาย 1. เพือ่ เสรมิ สรา ง ครูปฐมวัยใน ครูปฐมวัยใน 500,000 250,000 250,000 250,000 250,000 -พมจ.นา น พมจ.นา น
คุณภาพสูการพฒั นา ความเขม แข็งของ จงั หวดั นานทุกคน สถานศึกษาทกุ - ศธจ.นาน ศธจ.นาน
การศกึ ษาปฐมวัย เครอื ขา ยในการ สงั กดั ไดรบั การ -อบจ.นาน อปท.นา น
- จดั ประชุม ขบั เคล่ือนการ พัฒนา รอ ยละ 80 -สสจ.นา น สสจ.นา น
เครอื ขาย สม่าํ เสมอ ดาํ เนนิ งานดาน
- จัดอบรมพฒั นาครู การศึกษาปฐมวัย
ปฐมวัย 2. เพื่อเสรมิ สรา ง
ศกั ยภาพการ
ดาํ เนินงานดา นความ
รวมมอื ของเครอื ขาย
ใหม ีความย่ังยืน

 แผนยุทธศาสตรก ารพัฒนาการศกึ ษาปฐมวยั เชงิ บรู ณาการ จงั หวดั นา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 44}

สวนท่ี 5
การขบั เคลื่อนสูการปฏิบัติ

แผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาปฐมวัยเชิงบูรณาการ จังหวัดนาน พ.ศ. 2566-2570
มุงพัฒนาใหเด็กปฐมวัยทุกคนซ่งึ เปนชวงวัยที่สําคัญท่ีสุดตองไดรับการดูแล พัฒนา และเรียนรอู ยางรอบดา น ท้ังดาน
รางกาย จิตใจ วินัย อารมณ สังคม และสติปญญาใหสมกับวัย อยางมีคุณภาพ และเทาเทียม ตามศักยภาพ ตามวัย
และตอ เนื่อง บนพ้ืนฐานของการจัดประสบการณก ารเรียนรูที่ดีท่ีสุดสอดคลองกับหลักการพัฒนาศักยภาพและความ
ตอ งการจาํ เปน พิเศษของแตละบคุ คล โดยคาํ นึงถงึ ความสุข ความเปนอยูที่ดี และความตองการพ้ืนฐานของเดก็ ปฐมวัย
รวมทั้งการปฏิบัติตอเด็กทุกคนโดยยึดหลักศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย การมีสวนรวม การเปนท่ียอมรับของผูท่ี
เกี่ยวของกับเด็ก และท้ังปวงเพื่อประโยชนสูงสุดของเด็กเปน สําคัญ ดวยการบูรณาการการทํางานจากทุกหนวยงานท่ี
เกี่ยวของ สอดคลองกับเปา หมายสําคัญของแผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรชาติ ประเด็นท่ี ๑๑ การพัฒนาศกั ยภาพคน
ตลอดชว งชีวิต และประเด็นที่ ๑๒ การพัฒนาการเรียนรู แผนการปฏิรูปประเทศดานการศึกษา เร่ืองท่ี ๒ การปฏิรูป
การพัฒนาเด็กเลก็ และเดก็ กอนวัยเรียน รวมท้ังแผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ยุทธศาสตรท่ี ๓ การ
พฒั นาศกั ยภาพคนทุกชวงวัยและการสรางสังคมแหงการเรียนรู ท้งั น้ี ในการขับเคล่ือนแผนใหการดําเนินงานบรรลผุ ล
ตามเปาหมายท่ีกําหนด คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย ซ่ึงเปนกลไกสําคัญของประเทศในการกํากับ
ติดตามยุทธศาสตรตางๆ ไดมีการจัดทําตัวชี้วัดท่ีชวยในการกํากับติดตามผลสัมฤทธิ์ที่แตละกระทรวงกําหนด และมี
ความสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาลและยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ป เพ่ือใหเกิดการขับเคลื่อนแผนฯ ไปสูการปฏิบัติ
ใหเกดิ ผลอยางเปนรูปธรรม โดยมีแนวทางในการดาํ เนินงานดงั ตอ ไปนี้

การนาํ แผนสูการปฏิบตั ิ
การนําแผนยุทธศาสตรก ารพัฒนาการศึกษาปฐมวัยเชิงบูรณาการ จังหวัดนาน พ.ศ. 2566-2570
สกู ารปฏิบัติของหนวยงานท่รี ับผดิ ชอบทางการศึกษาปฐมวยั จงั หวัดนาน และภาคเี ครือขาย มแี นวทางการดําเนนิ งาน
ดงั น้ี
๑. การสรา งความรูค วามเขาใจเกี่ยวกบั นโยบาย วิสัยทศั น ปรัชญา เปา ประสงค ยุทธศาสตร ตวั ช้วี ดั
และมาตรการของแผนยุทธศาสตรการพฒั นาการศึกษาปฐมวัยเชิงบรู ณาการ จงั หวดั นา น พ.ศ. 2566-2570 รวมถึง
การมีสว นรว มของทกุ ภาคสว นในการขับเคล่ือนแผนไปสูการปฏิบตั ิ โดยการประชาสัมพันธผา นทางสือ่ ออนไลน
๒. การบูรณาการระหวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาปฐมวัยเชิงบูรณาการ จังหวัดนาน
พ.ศ. 2566-2570 กับแผนอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวของกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย เพ่ือจัดทําแผนปฏิบัติการใหสอดคลองกับ
แผนพัฒนาฯ ทม่ี รี ายละเอยี ดระดับโครงการ งบประมาณรายป โดยการรว มมอื จากหนวยงานในพืน้ ท่รี วมกนั
3. กําหนดใหสถานศึกษา และหนวยงานทางการศึกษา ท่ีมีการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยใน
จงั หวัดนาน และภาคีเครือขาย ๔ กระทรวงหลัก ไดแก กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนุษย กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงศึกษาธิการ ที่ไดนําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาปฐมวัยเชิง
บูรณาการ จงั หวัดนา น พ.ศ. 2566-2570 ไปกาํ หนดทศิ ทางในการพัฒนาเด็กปฐมวัยในจังหวัดนา น โดยมีเปาหมาย
ในการดาํ เนินงานรว มกัน
4. กําหนดใหสถานศึกษา และหนวยงานทางการศึกษา ที่มีการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยใน
จงั หวัดนา นและภาคเี ครือขา ย ๔ กระทรวงหลัก มสี วนรวมในการบรหิ ารจดั การศึกษา และพัฒนาเดก็ ปฐมวัยในจังหวดั
นานตามทิศทางของแผนยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาการศึกษาปฐมวยั เชงิ บูรณาการ จังหวัดนาน พ.ศ. 2566-2570

 แผนยุทธศาสตรการพฒั นาการศกึ ษาปฐมวัยเชิงบูรณาการ จงั หวัดนา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 45}

5. ดําเนินกิจกรรมสรางความรับรู ความเขาใจเกี่ยวกับแนวนโยบาย ทิศทางและเปา หมายของการ
ดําเนินงานการจัดการศึกษาปฐมวัยใหกับหนวยงานที่เก่ียวของกับการจัดการศึกษาปฐมวัยในจังหวัด เชน การอบรม
และพัฒนา การเสวนาทางวชิ าการ การประชุมสมั มนา การประชมุ ชแ้ี จง การนิเทศ

6. ประสานหนวยงานตนสังกัด จังหวัด และองคกรตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ชวยสนับสนุน
งบประมาณ และทรัพยากรตาง ๆ ท่ีจําเปนตอการพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามที่กําหนดไวในแผนยุทธศาสตรการพัฒนา
การศกึ ษาปฐมวัยเชิงบูรณาการ จังหวัดนา น พ.ศ. 2566-2570 เพ่อื ใหบรรลผุ ลสาํ เรจ็ ตามเปา หมายทก่ี ําหนดไว

7. กําหนดใหมีการติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ไดแก
สถานศึกษา หนวยงานทางการศึกษา และภาคีเครือขาย ๔ กระทรวงหลัก ตามท่ีกําหนดไวในแผนยุทธศาสตรการ
พัฒนาการศึกษาปฐมวัยเชิงบูรณาการ จังหวัดนาน พ.ศ. 2566-2570 และนําผลการติดตามและประเมินผลไป
ปรบั ปรงุ และพัฒนาการจดั การศกึ ษาระดับปฐมวัยในลําดบั ตอ ไป

การตดิ ตามผลการดําเนนิ งาน
การติดตาม ประเมินผลการดําเนินงาน และการนําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาปฐมวัย
เชงิ บรู ณาการ จงั หวดั นา น พ.ศ. 2566-2570 มแี นวทาง และกระบวนการสาํ คญั ดงั น้ี
๑. ใหค วามสําคัญกบั การตดิ ตามความกาวหนา การประเมินผลสาํ เรจ็ และผลกระทบการดําเนินงาน
อยางตอ เนอื่ ง และผลการพฒั นาดําเนนิ งานดา นการพฒั นาเด็กปฐมวัยจังหวัดนานในภาพรวม
๒. การพัฒนาระบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และรายงานใหมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว เพื่อใหได
ขอ มูลสารสนเทศเพอื่ การทบทวน ปรับปรงุ การดาํ เนินงานใหบ รรลุเปาหมายไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ ทนั เหตกุ ารณ
๓. สรางการเชือ่ มโยงโครงขายขอมูลระหวางหนวยงานทางดานการพัฒนาเด็กปฐมวัยในจังหวัดนา น
เพือ่ ประโยชนตอการวางแผน และตดิ ตามประเมินผลทางดา นการพฒั นาเด็กปฐมวัย ของจงั หวัดนาน

 แผนยุทธศาสตรก ารพฒั นาการศึกษาปฐมวัยเชิงบรู ณาการ จงั หวัดนา น (พ.ศ. 2566 - 2570)  {หนา 46}

ภาคผนวก


Click to View FlipBook Version