The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นางสาวอัญชลี ดวงงาม 611103130210
นางสาวรัตกานต์ มีโต 611103130214
นางสาวเพียงฤทัย ศิริรักษ์ 611103130215

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อัญชลี ดวงงาม, 2020-03-24 09:22:42

การล่วงละเมิดทางเพศ

นางสาวอัญชลี ดวงงาม 611103130210
นางสาวรัตกานต์ มีโต 611103130214
นางสาวเพียงฤทัย ศิริรักษ์ 611103130215

การล่วงละเมดิ ทางเพศ

นางสาวอญั ชลี ดวงงาม
611103130210

นางสาวรัตกานต์ มีโต
611103130214

นางสาวเพยี งฤทัย ศิรริ ักษ์
611103130215

รายงานน้เี ปน็ สว่ นหน่งึ ของการศกึ ษาวชิ าสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562
มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ์

การลว่ งละเมิดทางเพศ

นางสาวอัญชลี ดวงงาม
611103130210
นางสาวรตั กานต์ มโี ต
611103130214
นางสาวเพียงฤทยั ศิรริ กั ษ์
611103130215

รายงานน้ีเปน็ สว่ นหนึ่งของการศึกษาวชิ าสารสนเทศเพ่อื การเรียนรู้
ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2562
มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ์



คานา

รายงานเรอื่ งการถกู ลว่ งละเมิดทางเพศ จดั ทาขึน้ เพ่อื ศกึ ษาแนวทางการแกป้ ญั หาการ
ถกู ล่วงละเมิดทางเพศ โดยมีเนื้อหาสาระประกอบด้วย ความหมาย ประเภทของการล่วงละเมิดทาง
เพศ ข้อพึงระวังหรือหลีกเล่ียงการเผชิญ ปัญหาการถูกล่วงละเมิดทางเพศ หลักปฏิบัติเมื่อเผชิญอยู่
ในสถานการณ์เส่ียงต่อการถูกล่วงละเมิดทางเพศ การป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ
ทักษะการตดั สนิ ใจและแกป้ ัญหาใน สถานการณ์เส่ียงเรื่องเพศ แนวทางในการหาทางออกเมื่อเผชิญ
ปญั หาการถูกล่วงละเมดิ ทางเพศ และผลกระทบของการล่วงละเมิดทางเพศ ซ่ึงเป็นสาระสาคัญท่ีทุก
คนต้องศกึ ษาเรยี นรเู้ พื่อใหเ้ กิดความรู้ความเขา้ ใจอย่างถูกต้อง และสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง
และเหมาะสม

เนื้อหารายงานฉบับนี้จะกอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ในการอย่รู ่วมกนั ในสังคมได้อย่างมคี วามสุข
มคี วามเขา้ ใจซึง่ กันและกันระหว่างผเู้ กี่ยวขอ้ งกบั วยั ร่นุ ส่งผลให้ลดปัญหาท่จี ะเกิดกับวยั รุน่
และเป็นการพัฒนาเด็กที่อยู่ในช่วงวัยรุ่นให้มีพัฒนาการทางเพศที่ดีลดปัญหาให้กับสังคมในยุค
ปัจจุบนั วัยรุน่ สามารถใชช้ วี ิตอย่างไมป่ ระมาท มีคุณธรรมท่ดี แี ก่ตนเองและครอบครัว

ผจู้ ัดทาขอขอบคุณอาจารยน์ งลักษณ์ ยุทธศิลปเสวี ท่ีกรุณาให้ความรู้และขอ้ เสนอแนะ
ในการทารายงานฉบบั น้ี และขอขอบคุณ บรรณารกั ษ์และเจา้ หน้าท่ีห้องสมดุ ทไ่ี ดใ้ ห้
ความสะดวกในการคน้ ควา้ หาข้อมูลเพื่อประกอบการทารายงานจาสาเรจ็ ลุลว่ งดว้ ยดี

นางสาวอญั ชลี ดวงงาม
นางสาวรตั กานต์ มโี ต
นางสาวเพยี งฤทัย ศิริรกั ษ์

12 มนี าคม 2562

สารบัญ ข

คานา หน้า
สารบญั ก
สารบญั ภาพ ข
การล่วงละเมดิ ทางเพศ ง
1
๑. ความหมาย ๑
๑.๑ ความหมายของพฤติกรรมการล่วงละเมิดทางเพศ 1
๑.๒ ลักษณะของพฤติกรรมการลว่ งละเมดิ ทางเพศ 2

๒. สาเหตขุ องการถกู ลว่ งละเมิดทางเพศ 4
๒.๑ สถานภาพและความสัมพนั ธ์ของบุคคล 5
๒.๒ สถานภาพการทางาน 5
๒.๓ การถูกกระตุ้นจากสื่อต่าง ๆ 6
๒.๔ ความผดิ ปกติทางสขุ ภาพ ๗
๒.๕ สถานการณ์คับขนั ๘

๓. ผลกระทบจากการถกู ล่วงละเมิดทางเพศ ๙
๓.๑ ด้านรา่ งกาย 1๐
๓.๒ ด้านอารมณ์และจติ ใจ 1๐
๓.๓ ดา้ นพฤติกรรมและบคุ คล 1๑
๓.๔ ด้านครอบครัว การใช้ชีวิตประจาวัน ๑๒
๓.๕ ดา้ นสงั คม ๑๓

๔. การแกไ้ ขปัญหาเม่ือถูกล่วงละเมิดทางเพศ
๕. การดแู ลและการบาบัดฟนื้ ฟูผูถ้ กู ลว่ งละเมิดทางเพศ

5.๑ การรักษาการบาดเจ็บทางกาย ค
5.๒ การดูแลผลกระทบดา้ นจิตใจ
5.๓ การปอู งกันการตง้ั ครรภ์และโรคติดต่อ ทางเพศสัมพนั ธ์ 1๓
๖. การปูองกนั และหลกี เลย่ี งการถูกลว่ งละเมิดทางเพศ 1๓
6.1 แนวทางการปูองกัน ๑๓
6.2การใชท้ ักษะในการปูองกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ ๑๕
๗. กฎหมายอาญาเรื่องความผิดเกี่ยวกับเพศ ๑๕
สรุป ๑๕
บรรณานกุ รม ๑๖
๑๙

สารบญั ภาพ ง

ภาพท่ี 1 การลว่ งละเมดิ ทางเพศดว้ ยวาจา หน้า
ภาพที่ 1.2 ลว่ งละเมดิ ทางเพศการกระทาท่ีไม่ถูกเน้อื ต้อง 2
ภาพที่ 1.3 การล่วงละเมดิ ทางเพศทเ่ี ป็นการกระทาอย่างชดั 3
แจง้ 4
ภาพท่ี 2.1 สถานภาพและความสัมพันธ์ของบุคคล
ภาพที่ 2.3 สภาพการทางาน 4
ภาพที่ 2.4การถกู กระตุ้นจากส่อื ตา่ งๆ 5
ภาพท่ี 2.6 ความผดิ ปกตทิ างดา้ นสขุ ภาพ 6
ภาพท่ี 2.7 สถานการณค์ ับขัน 7
ภาพท่ี 3.1 ผลกระทบดา้ นรา่ งกาย 8
ภาพที่ 3.2ผลกระทบดา้ นอารมณแ์ ละจติ ใจ 9
ภาพที่ 3.4 ด้านครอบครวั การใชช้ ีวิตประจาวนั 10
ภาพที่ 3.5 ผลกระทบด้านสงั คม 11
ภาพที่ 4 การแก้ไขปญั หาเมื่อถกู ลว่ งละเมดิ ทางเพศ 11
ภาพท่ี 5 การบาบดั ฟ้นื ฟูหลงั ถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศ 12
ภาพที่ 6 การปูองกนั และหลีกเลยี่ งการถูกลว่ งละเมิดทางเพศ 14
16

การลว่ งละเมิดทางเพศ

สังคมไทยนับวันย่ิงเกิดปัญหาเพ่ิมมากขึ้น ซ่ึงดูได้จากหนังสือพิมพ์รายวัน
หรอื นิตยสารต่าง ๆ ท่มี ีเรื่องราวเกี่ยวกับปัญหาในปัจจุบันหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ีท้ังสะเทือน
ขวัญและไร้ซ่ึงความรู้สึกผิดชอบชั่วดี รวมทั้งข่าวเร่ืองการละเมิดสิทธิมนุษยชนนั้นก็มีเกิดข้ึน
มากมาย บ้างก็อุกอาจสะเทือนต่อจิตใจและกระทบต่อศีลธรรมอันดี บ้างก็เป็นข่าวเพียง
เล็กน้อยหรือบางเรื่องก็ไม่ได้ให้ความสาคัญมากนัก จนเห็นเป็นเรื่องปกติไปแล้ว การล่วง
ละเมิดทางเพศเป็นพฤติกรรมท่ีละมิดสิทธิของผู้อื่นในเร่ือง เพศ ไม่ว่าจะเป็นด้วยคาพูด
สายตา และการใช้ท่าที รวมไปถึงการบังคับให้มีเพศสัมพันธ์ การข่มขืน การล่วงละเมิดทาง
ร่างกายการล่วงละเมิดในปัจจุบันมีตั้งแต่เด็กเล็กจนถึงผู้สูงอายุท่ีถูกล่วงละเมิดทางเพศไม่ว่า
จะเป็นเพศชายเพศหญิงและเพศท่ี 3 ท่ีถกู ลว่ งละเมิด

สังคมควรตระหนักถึงความสาคัญของปัญหาน้ีและร่วมกันคิดหาวิธีในการ
ปูองกันดีกว่าคอยแก้ปัญหาปลายเหตุ นั่นคือการรู้จักปูองกันตัวเอง ไม่ไปไหนในท่ีลับตาคน
โดยลาพัง อย่าอยู่ในสถานที่เปลี่ยว และรู้จักคุณค่าของตนเอง และไม่ให้ใครมาแตะต้องตัวได้
ง่ายๆ สังคมควรให้เวลาในการรับฟังปัญหาต่างๆอย่างเต็มออกเต็มใจ ซึ่งวิธีน้ีจะช่วยปูองกัน
ปญั หาการล่วงละเมิดทางเพศได้มากทเี ดียว

1. ความหมาย
๑.1 ความหมายของพฤติกรรมการล่วงละเมดิ ทางเพศ
การล่วงละเมิดทางเพศ (Sexual Bullying) เป็นรูปแบบหน่ึงของการล่วงละเมิด

บุคคลและเกิดข้ึนบ่อยในหมู่วัยรุ่น (อายุ 10-20 ปี) พฤติกรรมนี้เกิดบุคคลหรือกลุ่มบุคคล
กระทาการคุกคามคนอื่นๆ ผ่านการแสดงความคิดเห็นและการกระทาในแนวลามก การล่วง
ละเมิดทางเพศสามารถกระทาการผ่านทางออนไลน์หรือเจาะจงรายบุคคล เม่ือวัยรุ่นถูกล่วง
ละเมิดทางเพศไปแลว้ จะมีแนวโน้มทจ่ี ะโดนรงั แกดา้ นอน่ื ๆ อีก เช่น โดนซบุ ซิบนินทา ดถู กู
กลน่ั แกลง้ ทางโลกออนไลน์ เย็นชา ไมย่ อมรบั ทาให้อับอาย หรือข่มขู่ การล่วงละเมิดทางเพศ
จะแตกต่างจากการล่วงละเมิดทางร่างกายทั่วไป เพราะมันไม่สามารถเห็นร่องรอยชัดเจนท่ี
มองเหน็ ได้ การล่วงละเมิดทางเพศมักจะเกิดขึ้นเม่ือไม่มีผู้ใหญ่อยู่รอบๆ จึงเป็นสิ่งสาคัญที่พ่อ
แม่ต้องพูดคุยกับเด็กเก่ียวกับการล่วงละเมิดทางเพศและพัฒนาการทางเพศที่ถูกต้องอย่าง
สม่าเสมอ อาจจะเป็นเหย่ือของการถูกล่วงละเมิดทางเพศ ควรเปิดโอกาสให้ลูกๆ กล้าท่ีจะ
พูดคุยเก่ียวกับสถานการณ์ที่เกิดข้ึนการล่วงละเมิดทางเพศ (Sexual Bullying) เป็นรูปแบบ
หนึ่งของการล่วงละเมิดบุคคลและเกิดข้ึนบ่อยในหมู่วัยรุ่น (อายุ 10-20 ปี) พฤติกรรมนี้เกิด
บุคคลหรือกลุ่มบุคคลกระทาการคุกคามคนอื่นๆ ผ่านการแสดงความคิดเห็นและการกระทา
ในแนวลามก การล่วงละเมิดทางเพศสามารถกระทาการผ่านทางออนไลนห์ รอื เจาะจง

การลว่ งละเมดิ ทางเพศ หมายถึง พฤติกรรมของบุคคลทีล่ ะเมิดสิทธิของบคุ คลอ่ืนใน
เร่ืองเพศลกั ษณะตา่ งๆ เช่น คาพดู ดว้ ยสายตาการคมคืนการใชท้ า่ ทที ี่เจตนาล่วงเกนิ ทางเพศ


การกระทาอนาจารตลอดจนการบังคับใหม้ ีเพศสมั พนั ธ์และการกระทาท่ีทาให้ผู้อน่ื ไดร้ ับความ
อบั อายโดยท่ผี ู้ถูกกระทาไมย่ ินยอมพรอ้ มใจอันส่งผลกระทบต่อร่างกายจติ ใจอารมณ์สังคม
รวมถึงการดารงชวี ิตอยา่ งปกตสิ ุขทั้งในระยะสั้นและระยะยาวของผทู้ ่ีถกู กระทาถือเป็นเรื่องท่ี
ผิดกฎหมายศลี ทาและความสุขของสังคมเปน็ อยา่ งมากพฤติกรรมการลว่ งละเมิดทางเพศเป็น
รูปแบบการกระทาอนาจารต่อบคุ คลอ่นื ท้ังหญงิ และชายโดยการเรียกร้องความพึงพอใจทงั้
กายและวาจาหรือเข้าแทรกแซงสภาพแวดล้อมอันดใี นการดารงชีวิตของบุคคลอนื่
(Honestdocs, ม.ป.ป)

1.2 ลักษณะของพฤติกรรมการล่วงละเมิดทางเพศ
ลกั ษณะของพฤติกรรมการลว่ งละเมิดทางเพศ พฤติกรรมการลว่ งละเมดิ ทาง

เพศ เป็นรูปแบบการกระทาอนาจารตอ่ บคุ คลอนื่ ทั้งหญงิ และชาย โดยการเรยี กร้องความพงึ
พอใจท้ังทางกายและวาจาหรือเขา้ แทรกแซงสภาพแวดล้อมอนั ดใี นการดาเนนิ ชวี ติ ของบุคคล
อันอยา่ งไร้เหตุผลมที ั้งการกระทาทีร่ ุนแรงและไมร่ นุ แรง ซึง่ แบง่ ออกเป็น 3 ลกั ษณะ คือ

1.2.1 การลว่ งละเมดิ ทางเพศด้วยวาจา หมายถงึ การกระทาอนาจารต่อบุคคล
อื่นดว้ ยคาพดู เพื่อตอบสนองความพึงพอใจของตนเองในเรอื่ งเพศซึ่งถือว่าเป็นการกระทาที่ไม่
รนุ แรง เช่นการวพิ ากษ์วิจารณ์เกีย่ วกบั รูปรา่ งหน้าตาของผู้อื่นทส่ี ่อไปในทางลามกอนาจาร
การตามจบี ตามตื้อ พูดจาเก้ียวพาราสีท้งั ๆ ท่ีรู้วา่ อกี ฝุายไมช่ อบการเล่าเรื่องตลกลามก
เรอ่ื งสองแง่สองงา่ มในเร่ืองเพศการใช้คาพูดแทะโลมหยาบคายเร่อื งเพศ การใชค้ าพูดเพ่ือ
กระตนุ้ อารมณ์ทางเพศ

ภาพที่ 1 การลว่ งละเมิดทางเพศด้วยวาจา
ท่ีมา (https:// www.mangozero.com/sexual-harassment-101/)



1.2.2 การลว่ งละเมิดทางเพศการกระทาทไ่ี มถ่ กู เน้อื ต้องตัว หมายถึง

กระทาอนาจารต่อบุคคลอน่ื ด้วยการกระทาต่าง ๆ อาจจะสายตา อวดโชวต์ ลอดจนการใช้ส่อื
ต่างๆ เพ่ือตอบสนองในความพงึ พอใจของ ตนเองเรื่องเพศ เชน่ การจ้องมองของสงวน เชน่
หนา้ อก อวัยวะเพศของผ้อู น่ื การแอบดทู ่เี รยี กว่า “ถ้ามอง” การแอบตดิ ตั้งเคร่ืองวงจรปิด
และการแอบถ่ายหรือถา่ ยคลิป

ภาพท่ี 2 ลว่ งละเมิดทางเพศการกระทาท่ีไม่ถูกเนื้อต้องตัว
ที่มา (https://www.facebook.com/820204734663400/posts)

1.2.3 การลว่ งละเมิดทางเพศทเ่ี ปน็ การกระทาอยา่ งชดั แจง้ หมายถงึ
การกระทาอนาจารดว้ ยการ กระทาของตนเองในเร่ืองเพศ ซึ่งถือเปน็ การกระทาท่ีรนุ แรง เชน่
การแตะเนือ้ ต้องตวั ท่ีไม่พงึ ประสงค์ เช่น การนัง่ การยืน การเดนิ ท่ีใกลช้ ดิ เกินไป การเสียดสี
รา่ งกาย การแตะเน้ือต้องตัว จบั ต้องเส้อื ผ้า การกระทาอนาจาร เช่น กอด จูบ ลบู คลา
ซึ่งเปน็ การแสดงความใคร่ การขอมเี พศสัมพนั ธ์การถกู บงั คับให้มเี พศสัมพันธ์การข่มขืน
(ดวงพร เพชรคง, 2557)



ภาพที่ 3 การลว่ งละเมดิ ทางเพศทีเ่ ปน็ การกระทาอย่างชดั แจ้ง
ท่มี า (https:// www.facebook.com/820204734663400/posts)
๒. สาเหตุของการถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศ

ปัญหาการลว่ งละเมิดทางเพศทีม่ กั พบบอ่ ยๆ ตามที่เปน็ ข่าว มักเป็นเรื่องของ
การใช้อานาจในเร่ืองเพศ เช่น ผู้ชายกระทากับผู้หญิง ผู้ใหญ่กระทากับเด็ก หัวหน้า
กระทากับลกู น้อง เปน็ ต้น ซึง่ ปญั หาดังกลา่ วอาจมสี าเหตุ 5 สาเหตุตอ่ ไปน้ี

๒.๑ สถานภาพและความสมั พนั ธข์ องบคุ คล
เป็นสาเหตสุ าคัญอย่างหนง่ึ ของการถูกล่วงละเมดิ ทางเพศ แบง่ ออกเป็น 2

กรณเี ชน่ คนคุ้นเคย คือ บุคคลที่มีความสัมพนั ธร์ ูจ้ กั ใกล้ชดิ สนิทสนมคุน้ เคยไว้วางใจเป็น
อย่างดคี วามใกล้ชิดน้ีอาจเปน็ บ่อเกดิ ทีท่ าใหบ้ ุคคลเกดิ การอยากถกู เนือ้ ต้องตวั และคน
แปลกหน้า คอื บุคคลที่ไม่คนุ้ เคยหรอื รจู้ ักกนั มาก่อน เช่น นักเลง อันธพาล
(กลุม่ สาระการเรยี นร้สู ขุ ศกึ ษาและพละศึกษา, ม.ป.ป.)

ภาพท่ี 4 สถานภาพและความสัมพันธข์ องบคุ คล
ทมี่ า (https:// www.amarinbabyandkids.com/pre-school)



๒.2 สภาพการทางาน
มักพบเหน็ ได้ตามขา่ วส่วนใหญ่จะมปี ัญหาเกยี่ วกบั การถูกล่วงละเมิดทางเพศ

ซึ่งเกิดจากสาเหตุดงั ต่อไปนี้การทางานในสถานทท่ี างาน โรงงาน หรือรับใช้ในบ้านอาจ
ถูกกระทาโดย นายจ้าง หรือผ้รู ว่ มงาน ซึง่ ไม่สามารถปูองกนั ตนเอง หรอื กลา้ โตแ้ ย้งขัด
ขืนได้ เพราะเกรงวา่ จะถูกไล่ออกจากงาน จงึ ยอมต้องตกเป็นเหย่อื ของการถกู ล่วงละเมดิ
ทางเพศได้ การถูกหลอกลวงจากตา่ งจงั หวดั ให้มาหางานทาซึ่งต้องเปลย่ี นแปลงท่ีอยู่
อาศัยที่ทางานโดยที่ไม่รู้จักใครและไมร่ ู้จะไปไหนเมื่อเกดิ ปัญหาตา่ ง ๆ ขึ้นจึงไม่กลา้ หนี
จาเป็นตอ้ งทนตอ่ การถูกกระทาท่เี ปน็ การลว่ งละเมิดทางเพศหรอื การทาร้ายทัง้ ทาง
รา่ งกายจิตใจหลาย (กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพละศกึ ษา, ม.ป.ป.)

ภาพที่ 5 สภาพการทางาน
ท่มี า (https:// www.thaihealth.or.th/Content/23021)

๒.3 การถูกกระต้นุ จากสอ่ื ตา่ ง ๆ
ท้ังทางสือ่ สง่ิ พมิ พล์ ามกเว็บไซตท์ ีเ่ นน้ เร่ืองเพศตา่ งๆ คลิปวดิ โี อโปู เกม

ลามก CD DVD ลามกอนาจารซง่ึ อิทธิพลตอ่ ท้ังผกู้ ระทาและผถู้ ูกกระทาโดยเมื่อถูก
กระตุน้ จากสือ่ ต่าง ๆ เหล่านอี้ าจทาใหเ้ กิดพฤติกรรมการเลียนแบบอันเปน็ สาเหตุและ
สง่ ผลใหเ้ กิดการล่วงละเมดิ ทางเพศขึน้ ไดส้ ื่อตา่ งๆไม่ว่าจะเป็น โทรทศั น์ วิทยุ
หนงั สือพมิ พ์ นติ ยสาร และภาพยนตรต์ า่ ง ๆ เริ่มมกี ารนารูปแบบความบนั เทงิ เรือ่ งเพศ
สอดแทรกมากขึ้น อีกทั้งเครื่องมือสื่อสารเชน่ อนิ เตอรเ์ น็ต และโทรศัพทม์ ือถือ มีการ
นาเอาวัฒนธรรมและค่านยิ มทางเพศเข้ามามากมายโดยส่ิงเหลา่ นเ้ี รม่ิ มาจากการมี
วัฒนธรรมของตะวนั ตกหรอื สื่อจากตา่ งประเทศเกย่ี วกับเรอื่ งเพศเข้ามาในสังคมไทย
อยา่ งมากมาย จนทาให้สงั คมไทยเกิดปัญหาเร่ืองภาพเปลือย หรอื กิจกรรมการรว่ มเพศ
ในสอื่ กันมากขึ้น ไมว่ า่ จะสื่อส่ิงพมิ พ์ เช่น นิตยสาร หนงั สอื ปลุกใจเสือปุา และภาพยนตร์



ในรูปแบบวซี ดี ี ดวี ีดี ซงึ่ เปน็ ส่ือที่สามารถเข้าถงึ และหาซ้ือไดต้ ามรา้ นคา้ ทีข่ ายสื่อเหล่าน้ี
การสอดแทรกเนื้อหาและรปู ภาพที่ไม่เหมาะสมในเร่ืองเพศนี้ ทาให้มีผลตอ่ กลุม่ วยั รนุ่ ซง่ึ
เปน็ กลุ่มท่ีเตรยี มพร้อมทีจ่ ะรับเอาสิ่งแปลกใหม่ ได้รบั อิทธิพลจาดส่ือเหล่าน้โี ดยร้ตู วั และ
ไมร่ ู้ อันเนื่องมาจากอุปนสิ ัยในการชอบทดลอง ชอบเลียนแบบและอยากรู้อยากเหน็
ปญั หาจงึ เกิดขึ้นจากการรับส่อื ท่ีถ่ายทอดสารทางเพศ โดยสิ่งตา่ ง ๆ ทถ่ี าโถมเข้ามาอย่าง
มากมายทาให้กลมุ่ วยั รุ่นเร่ิมมีทัศนคติ ค่านยิ มเร่ืองเพศ เปล่ียนไปจากแต่เดมิ เร่ือง
เพศสัมพนั ธเ์ ปน็ เรื่องท่ตี ้องมคี วามรู้ ความเข้าใจทถ่ี กู ต้อง และต้องใชเ้ วลาและความ
เหมาะสมในเร่ืองความพร้อมของวยั ได้กลายเป็นกิจกรรม ทสี่ ามารถทาไดง้ ่ายและถือ
เปน็ เร่อื งธรรมดาสามัญไปเสยี แล้ว

ภาพท่ี 6 การถกู กระตนุ้ จากสอ่ื ตา่ ง ๆ
ที่มา (https:// www.thaihealth.or.th/Content)

๒.4 ความผิดปกตทิ างสุขภาพ (Health impairments)
ความบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพจะแตกต่างกันไปตามลักษณะท่ี

ปรากฏ จาแนกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ ความผิดปกติของระบบประสาท (Neurological
conditions) ความผิดปกติของระบบกล้ามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal
conditions) และความผิดปกตทิ างสุขภาพอ่ืน ๆ (Other health impairments)

๒.4.๑ ความผิดปกติของระบบประสาท (Neurological conditions)
เกดิ จากความเสยี หายของระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system) หรอื
สมองและไขสันหลัง โดยปัญหาหลักอันสืบเนอื่ งมาจากความผดิ ปกตทิ างระบบประสาท
ได้แก่ โรคสมองพกิ าร (Cerebral Palsy) โรคลมชัก (Epilepsy) โรคสไปนา ไบฟิดา
(Spina Bifida) ซึ่งเปน็ ความบกพร่องของไขสนั หลังทม่ี ีมาแตก่ าเนดิ โดยไขสันหลังยืน่
ออกมานอกกระดูกสันหลัง ส่งผลให้เดก็ มีอาการอัมพาตบางสว่ น หรอื อาจรา้ ยแรงถึงข้ัน
เป็นอมั พาตทงั้ ตวั และอาจเกิดจากการบาดเจ็บทสี่ มอง (Traumatic brain injury)


ทงั้ นี้ความบกพร่องอันเปน็ ผลสบื เนอ่ื งมาจากความผิดปกติทางระบบประสาทมกั มีหลาย
ระดบั ต้งั แต่อาการไม่รุนแรงไปจนถึงอันตรายและอาจสง่ ผลตอ่ ความสมรรถภาพทาง
รา่ งกาย สตปิ ัญญา การพูดและภาษา รวมถึงประสาทสัมผสั

๒.4.๒ ความผิดปกติของระบบกลา้ มเนอ้ื และกระดูก (Musculoskeletal
conditions) ได้แก่ โรคกล้ามเนอ้ื เส่ือม (Muscular dystrophy) โรคข้ออักเสบรมู ตอยด์
ในเดก็ (Juvenile rheumatoid arthritis) ภาวะแขนขาขาดหรอื ถูกตัดทิง้
(Amputation) และความทุพพลภาพรูปแบบอนื่ ๆ ของกลา้ มเนื้อหรอื กระดกู
ซ่งึ ล้วนสง่ ผลกระทบต่อความสามารถในการเคลื่อนไหว เดิน ยนื นงั่ หรือทาให้ไม่
สามารถใชม้ ือและเทา้ ไดอ้ ย่างปกติ (ศนู ย์วิชาการแฮปป้โี ฮม, ม.ป.ป.)

ภาพท่ี 7 ความผดิ ปกติทางสุขภาพ
ท่ีมา (https://www.matichon.co.th/social/news_718875)

๒.5 สถานการณค์ บั ขนั
การถูกล่วงละเมิดทางเพศในสถานการณ์คับขันทาให้ผู้ถูกกระทาไม่ทันได้รับ

มือกบั เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เช่นการถูกล่วงละเมิดทางเพศเมื่อต้องเดินทางด้วยรถโดยสาร
มีทั้งการ ถูกกอด จูบ ลูบ คลา ในรถโดยสารมักมีผู้คนจานวนมาก ทาให้เกิดโอกาสการ
ลว่ งละเมดิ ทางเพศไดส้ งู และในที่ลับตาคนกเ็ ปน็ อกี หนึ่งสถานการณท์ ผ่ี คู้ นโดนถูก
ล่วงละเมดิ ทางเพศ (ปรีดา จลุ ปาน, 2563)



ภาพท่ี 8 สถานการณ์คบั ขัน
ที่มา (https://matemnews.com/News/71344)

๓.ผลกระทบจากการถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ
การล่วงละเมิดทางเพศ สว่ นใหญผ่ ู้ถูกกระทามกั เป็นเดก็ และผู้หญงิ ซ่ึงอาจกอ่ ใหเ้ กิด

ผลกระทบตา่ ง ๆ ดังนี้
๓.๑ ด้านร่างกาย
ท่ีถูกล่วงละเมิดทางเพศร่างกายมักจะได้รับความกะทบกระเทือนและเกิด

อาการบาดเจ็บท่ีไม่รุนแรงถึงขั้นรุนแรงมากจากการใช้กาลังขู่เข็ญ โดยเฉพาะผู้ถูกล่วง
ละเมิดที่เป็นเด็กบางรายมีร่างกายท่ีบอบช้าเน่ืองจากการถูกทาร้าย บางรายอาจจะติด
เช้ือจากบาดแผลปัญหาโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์บางรายอาจถูก ทาร้ายอย่างรุนแรง
จนเสยี ชวี ิต รวมไปถึงถูกฆาตกรรม เปน็ ผลกระทบจากการกระทาท่ถี ือว่ารุนแรงท่ีสุดอาจ
เร่ิมจากการทะเลาะวิวาทกัน การบังคับขู่เข็ญ คุกคาม และจบลงด้วยการถูกฆาตกรรม
หรือเสียชีวิตเพราะการบาดเจ็บอย่างสาหัส บาดเจ็บหรือพิการเป็นผลกระทบท่ีมีการ
กระทารุนแรงท่ีอาจไม่มากนักไปจนถึงพิการ ธนาคารโลกประมาณการว่าความรุนแรง
และภัยทางเพศท่ีเกิดข้ึนกับผู้หญิงเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตความพิการของผู้ หญิงวัย
เจริญพันธุ์ท่ีร้ายแรงพอๆกับโรคมะเร็งและเป็นสาเหตุให้ผู้หญิงบาดเจ็บและเจ็บปุวยได้
เท่ากับอุบัติเหตุจากการจราจรและโรคมาลาเรียรวมกัน การต้ังครรภ์ไม่พึงประสงค์จาก
การท้องไม่พร้อมหรือถูกบังคับข่มขืนท่ีนาไปสู่การยุติการต้ังครรภ์ผู้หญิงและเด็กที่ถูก
กระทาความรุนแรงโดยการล่วงละเมิดทางเพศหรือการกระทาทารุณกรรมทางเพศมี
ความเสยี่ งสงู ตอ่ การต้งั ครรภ์ไม่พึงประสงคใ์ นชว่ งวัยเจริญพันธุโ์ ดยเฉพาะในวัยรุ่นติดโรค
ทางเพศสมั พนั ธ์รวมท้งั โรคเอดส์ (กฤษกร ปสั สาคา, ม.ป.ป.)



ภาพที่ 8 ผลกระทบดา้ นรา่ งกาย
ทม่ี า (https://mgronline.com/south/detail/9610000124538)

๓.๒ ด้านอารมณแ์ ละจิตใจ
ปัญหาสุขภาพจิตผู้หญิงท่ีถูกการทารุนแรงแม้จะไม่มีร่องรอยบาดแผลหรือ

รอ่ งรอยทเ่ี กิดขนึ้ ตามร่างกายในกรณีท่ีไม่รุนแรงจะเลือนหายไปแต่บาดแผลภายในจิตใจ
น้ันนับว่าไม่อาจลบเลือนไปได้ง่าย ๆ และอาจอยู่ในส่วนลึกของจิตใจผลกระทบน้ีส่งผล
ต่อบุคลิกภาพของผู้ถูกกระทา ท่ีต้องการการเยียวยาบางรายอาจมีผลกระทบต่อการ
ดาเนินชีวติ ประจาวัน การประกอบอาชีพหรอื การทาหนา้ ทีก่ ารงานมีข้อมลู ยนื ยัน
ว่าผู้หญิงที่ถูกกระทาความรุนแรงจานวนมากจะซึมเศร้า หรือกระวนกระวายมีผลให้
จิตใจแปรปรวน ขณะที่บางคนมีอาการเครียด ท้อแท้เรื้อรังผู้หญิงจานวนมากสูญเสีย
ความมัน่ คงในตนเองกลัวสังคมไม่ยอมรับ อับอายคิดว่าตนเองไร้ค่า มีมลทินติดตัวหลาย
รายมีอาการทางจติ มากข้นึ เมื่อถูกกระทาซ้าๆบางรายมีอาการหวาดกลัว หวาดผวา
แม้เหตุการณส์ ิ้นสดุ มาเปน็ เวลานานแล้วแต่สภาพจิตใจยงั ได้รับผลกระทบอยผู่ ลกระทบที่
รนุ แรงของการถกู กระทาความรุนแรงกรณีที่ถูกข่มขืนและทารุณกรรมทางเพศซ่ึงอาจจะ
เพียงครั้งเดียวก็มีผลมากพอท่ีจะทาให้เกิดภาพลบต่อจิตใจไปตลอดชีวิตโดยเฉพาะกับ
เด็กมีรายงานอ้างถึงคาพดู ของผู้หญิงท่ีระบุถึงสภาพจิตใจของผู้ถูกกระทาความรุนแรงว่า
“สิ่งท่ีแย่ที่สุดของการถูกทุบตีไม่ใช่อยู่ที่ความรุนแรงของการถูกทุบตีแต่อยู่ท่ีความทุกข์
ทรมานทางจติ กบั การที่ตอ้ งอยู่ในความหวาดกลวั และทุกข์ทรมาน” ผลกระทบทางสังคม
วงจรความรุนแรงท่ีไม่สิ้นสุด การกระทา ความรุนแรงเป็นวงจรท่ีไม่สิ้นสุดเด็กที่เห็น
เหตกุ ารณ์ความรุนแรงในครอบครัวจะเกิดผลกระทบที่ทาใหเ้ ด็กมปี ัญหาทางจิตใจ
เท่าเทยี มกบั เดก็ ท่ีถูกทารณุ กรรมทางร่างกาย (สอื่ การสอนออนไลน์, ม.ป.ป.)

๑๐

ภาพท่ี 9 ผลกระทบด้านอารมณแ์ ละจติ ใจ
ทีม่ า (https://www.thairath.co.th/news/society/1550385)

๓.๓ ด้านพฤตกิ รรมและบคุ คล
ในผู้หญิง ผู้ใหญ่สังเกตง่าย การดาเนินชีวิตประจาวัน การประกอบอาชีพ

หรือ การทาหน้าที่การงานเปล่ียนไปจากเดิม เช่น อาจมีปัญหาในการเรียน พฤติกรรม
เปลี่ยนแปลง ความไม่กลัวคนแปลกหน้า ซึมเศร้าหรือกระวนกระวาย มีผลให้จิตใจ
แปรปรวน มีอาการเครียด ท้อแท้เร้ือรัง สูญเสียความม่ันใจในตนเอง กลัวสังคมไม่
ยอมรับ อับอาย พฤติกรรมถอยหนี/หวาดกลัว โดยเฉพาะเด็กหญิง เงียบ กลัวการ
โต้ตอบ ชอบทาลายข้าวของ คิดหมกมุ่นอยู่กับปัญหา แยกตัวไม่เล่นกับใคร ร้องไห้ง่าย
บางคนอาจมีอาการทางกาย เช่น ปวดศีรษะ ปวดท้อง ใจสั่น หายใจหอบถ่ี มือเกร็งจีบ
(ภญิ ญดา ทนั วัน, (2558), 24-26.)

๓.๔ ดา้ นครอบครัว การใชช้ วี ติ ประจาวัน
การทบี่ คุ คลต้องเผชิญปัญหาหรอื เหตุการณจ์ ากการถกู ลว่ งละเมดิ ทางเพศ

อาจก่อให้เกิด ผลกระทบต่อครอบครัวและชวี ิตประจาวัน เชน่ การถูกสง่ ไปอยูท่ อี่ ่ืน
ถ้าพิจารณาว่าบิดา มารดาไม่สามารถดูแลปกปูองได้หรือถ้าบิดา คนในครอบครัวเป็น
ผกู้ ระทาเสยี เองจาเปน็ ต้องแยกผู้ถูกกระทาใหพ้ น้ จากครอบครัว และอาจถูกกล่าวโทษว่า
เป็นต้นเหตุของเหตุการณ์โดยอ้างว่าเป็นผู้ยั่วยุยินยอมทาให้เครียด รู้สึกเป็นปมด้อยจน
ต้องย้ายโรงเรยี น ลาออกจากงานย้ายทอี่ ยู่ บางครงั้ เสียอนาคตซ่ึงอาจทาให้ความสัมพันธ์
ในครอบครัวแตกแยกได้ และในกรณีท่ีเกิดการต้งั ครรภร์ ะหวา่ งอยู่ในวัยเรียนซ่ึงเป็นช่วง
ที่ไม่พร้อมที่จะมีบุตรจะส่งผลกระทบต่อเด็กในครรภ์โดยครอบครัวต้องแบกรับภาระ
เพิ่มขึน้ ซ่ึงเป็นปัญหาของสงั คมตามมา (กฤษกร ปัสสาคา, ม.ป.ป.)

๑๑

ภาพท่ี 10 ด้านครอบครัว การใช้ชีวิตประจาวัน
ทม่ี า (https://www.thairath.co.th/news/society/1550385)
๓.๕ ดา้ นสงั คม
การกระทาความรุนแรงเป็นวงจรทีไ่ ม่ส้ินสดุ เดก็ ท่เี หน็ เหตกุ ารณ์ความรนุ แรง
ในครอบครัวจะเกิดผลกระทบที่ทาให้เด็กมีปัญหาทางจิตใจเท่าเทียมกับเด็กที่ถูกทารุณ
กรรมทางร่างกายและทางเพศโดยตรงเด็กผู้หญิงที่เห็นเหตุการณ์พ่อหรือพ่อเล้ียงกระทา
รุนแรงกับแม่มีแนวโน้มที่จะยอมรับความรุนแรงเป็นส่วนหน่ึงของชีวิตคู่มากกว่า
เด็กผู้หญิงท่ีมาจากครอบครัวท่ีไม่มีความรุนแรง ขณะที่เด็กผู้ชายที่เห็นหรือประสบ
เหตุการณ์ในลักษณะเดียวกันมีแนวโน้มจะใช้ความรุนแรงต่อภรรยา เมื่อเติบโตเป็น
ผู้ใหญ่มีครอบครัวของตัวเอง นอกจากน้ีเด็กบางคนยังเลียนแบบพฤติกรรมการใช้ความ
รุนแรงท่ีพบเห็นดงั เช่นกรณีของเด็กผชู้ ายทใ่ี ชม้ ีดปอกผลไมข้ ่มขู่น้องสาวให้หยุดร้องไห้ซึ่ง
พบวา่ เดก็ เลียนแบบพฤตกิ รรมที่พ่อทากบั แม่
ปัญหาสงั คมเรอ้ื รังและซา้ ซ้อน ผหู้ ญงิ ทถี่ ูกกระทาความรุนแรงซา้ ซากมา
เป็นเวลานาน หากไม่เสียชีวิตอาจใช้ความรุนแรงตอบโต้ เช่น ฆ่าสามี ผลตามมาคือ
ผู้หญิงต้องรับโทษลูกไม่มีคนเล้ียงดูกลายเป็นเป็นปัญหาสังคม (กฤษกร ปัสสาคา,
ม.ป.ป.)

ภาพที่ 11 ผลกระทบด้านสังคม
ท่ีมา (https://today.line.me/th/pc/article)

๑๒

๔. การแกไ้ ขปญั หาเม่อื ถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ
การฝึกแสดงทักษะทางพฤติกรรมในการจาแนกพฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัยทางเพศ

และใช้ในการตัดสินใจเพื่อตอบโต้สถานการณ์การล่วงละเมิดทางเพศ เช่น ทักษะการ
แยกแยะสัมผัส ทักษะการปฏิเสธสัมผัสที่ไม่ดีหรือสัมผัสอวัยวะเพศ ทักษะการตัดสินใจ
หลีกหนี ทักษะการส่ือสารด้วยการเล่าเหตุการณ์เก่ียวกับการสัมผัสที่ไม่ดีหรือสัมผัส
อวยั วะเพศกบั ผใู้ หญ่ทไ่ี วใ้ จ และการแกไ้ ขปญั หาทางดา้ นการถูกล่วงละเมิดทางเพศ
มีดังน้ี (ปราลบ พรมลว้ น, 2549)

1) ตอ้ งปฏิรปู หรอื ปรบั เปลี่ยนกฎหมายการค้มุ ครองทางเพศให้ครอบคลุมไปถึงเรื่อง
ของการใชว้ าจาหรอื คาพูด ซ่ึงท้ังสองสง่ิ นี้ถอื เป็นการล่วงละเมดิ ทางเพศอย่างหนึ่ง

2) ควรมีหน่วยงานรับเรื่องร้องทุกข์ท่ีเกี่ยวกับการล่วงละเมิดทางเพศ ที่เป็น
หนว่ ยงานอิสระ และสามารถช่วยให้ผู้หญิงที่ประสบปัญหามีท่ีพ่ึงทางใจ เพ่ือหาทางออก
ตอ่ ไป เพราะไม่เช่นน้นั จะทาให้สูญเสยี ผู้หญิงที่ดีและมีคุณภาพในการพัฒนาองค์กร จาก
การถูกล่วงละเมิดทางเพศ

3) เริ่มจากครอบครัวเปน็ อนั ดบั แรก โดยพอ่ แม่ต้องรู้จกั อบรมเล้ียงดูบุตรหลานให้
ร้จู กั เคารพสทิ ธคิ วามเปน็ หญิงชาย รู้จกั ที่จะใหเ้ กยี รติซ่ึงกนั และกัน ไมว่ ่าเปน็
เพศเดยี วกนั หรือตา่ งเพศ

4) ตระหนักถึงสิทธิและศกั ดิศ์ รีของผอู้ ื่นไม่วา่ จะเป็นผชู้ ายหรือผู้หญิง
5) พอ่ แมผ่ ู้ปกครองน้ันต้องอบรมบุตรหลานท่ียังอยู่ในวัยเด็ก ให้รู้จักระวังตนเอง
จากคนแปลกหน้า
6) การสอนให้เด็กรู้จักระบบสัมผัสที่ไว้ใจได้หรือไว้ใจไม่ได้ และสอนให้เด็กรู้จัก
แสวงหาความช่วยเหลือ ในกรณีที่ตนอยู่ในภาวะท่ีไม่ปลอดภัย ก็จะสามารถลดปัญหา
การถูกล่วงละเมิดทางเพศ หรือการถูกกระทารนุ แรงไดท้ างหนึง่

ภาพท่ี 12 การแก้ไขปญั หาเมอื่ ถูกล่วงละเมิดทางเพศ
ท่ีมา (https:// www.thaichildrights.org/articles/article-defence/เมอื่ รวู้ ่าเด็กถูกล่วง/)

๑๓

5. การดแู ลและการบาบดั ฟื้นฟูผถู้ กู ลว่ งละเมดิ ทางเพศ

การดูแลผู้ปุวยถูกล่วงละเมิดทางเพศจาเป็นต้อง ให้การรักษาแบบองค์รวมติดตามการรักษาตลอด
รวมถงึ การปูองกันสังคมจากอาชญากรข่มขืน ทง้ั 3 ดา้ น ดังนี้

5.1 ด้านการรักษาการบาดเจ็บทางกาย

ผู้ปุวยต้องได้รับการดูแลรักษาบาดแผลต่าง ๆ ทั้งการบาดเจ็บของอวัยวะภายนอก การ
บาดเจ็บของอวัยวะภายใน และการบาดเจ็บบริเวณอวัยวะเพศ ได้แก่ บาดแผลถลอก บาดแผลฟกช้า
บาดแผลฉกี ขาด หรือบาดแผลอน่ื ๆ รวมถงึ บาดแผลท่ีเกิดจากการรักษา และควรขอความเห็นจากแพทย์
ผู้เชี่ยวชาญหรอื แพทย์นิติเวช เพอ่ื ช่วยประเมินความรนุ แรงและระยะเวลาการหายของบาดแผล ในกรณีที่
ต้องเขียนรายงานการชนั สตู รบาดแผล ใหพ้ นักงานสอบสวน หรือเบิกความเป็นพยานในศาลและนัดตรวจ
ตดิ ตามการรักษาเปน็ ระยะหากการรักษายงั ไมส่ น้ิ สุดภายหลงั จากอนญุ าตใหผ้ ูป้ วุ ยกลับบา้ นแล้ว

5.2 ดา้ นการดแู ลผลกระทบดา้ นจิตใจ

ผู้ปุวยมักประสบปัญหาสุขภาพจิตภายหลัง การถูกล่วงละเมิดทางเพศ ทั้งในระยะสั้นและ
ระยะยาว อาการท่ีอาจเกดิ ข้ึนทนั ทเี ชน่ หวาดกลัว ตื่นตระหนก หวาดระแวง สับสน กังวล ละอายใจ
ไม่ไว้ใจ ปฏิเสธส่งิ ทเี่ กดิ ข้นึ เปน็ ตน้ ส่วนปญั หาในระยะยาวที่พบไดเ้ ชน่ โรคซมึ เศรา้ การพยายามฆา่
ตัวตาย การหลีกเล่ียงหรือ ลดความสนใจในเร่ืองเพศสัมพันธ์รู้สึกลดทอนคุณค่าใน ตนเอง ภาวะ post-
traumatic stress disorder และ rape trauma syndrome จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะ ต้องสังเกต
อาการของผู้ปุวยและส่งต่อการรักษาไปยัง จิตแพทย์และทีมสหวิชาชีพเพื่อให้การช่วยเหลือเยียวยา ทาง
จิตใจแก่ผ้ปู ุวย

5.3 ดา้ นการปอ้ งกันการต้งั ครรภแ์ ละโรคตดิ ต่อทางเพศสมั พันธ์

ผู้ปุวยถูกล่วงละเมิดทางเพศมักขาดการติดตาม การรักษาเนื่องจากความอายและความ
หวาดกลวั ดังน้ัน แพทยผ์ ทู้ าการรักษาจงึ ควรปฏบิ ัตติ ามข้อแนะนา ดังนี้

1) ใหย้ าปฏชิ ีวนะครอบคลุมเช้อื Chlamydia, Gonorrhea, และ Trichomonas ดงั น้ี
Ceftriaxone 250 mg IM in a single dose or Cefixime 400 mg orally in a single dose
for Gonorrhea plus

2) ให้ยาคุมกาเนิดชนิดฉกุ เฉนิ เมอื่ ผูถ้ ูกลว่ ง ละเมดิ ทางเพศมภาวะเสีย่ งต่อการต้งั ครรภ์
3) ให้วัคซีนปูองกันเชื้อไวรัสตับอักเสบบีหลัง การสัมผัสเช้ือ (post-exposure hepatitis
Bvaccination(without HBIG)) โดยไม่จาเป็นต้องให้ hepatitis B immunoglobulin (HBIG) ตาม
คาแนะนาของ Centers for Disease Control and Prevention (CDC) หากผู้ต้องหามีการติดเชื้อไวรัส
ตับอักเสบบีอยู่แล้ว ควรพิจารณาให้ HBIG ร่วมด้วย แต่หากผู้เสียหายมีภูมิคุ้มกันอยู่แล้วก็ไม่ จาเป็นต้อง
ได้รบั วัคซนี เพ่มิ เตมิ โดยการให้วัคซีนควรให้ เขม็ แรกทนั ทแี ละใหซ้ า้ ท่ี 1 และ 6 เดือนหลงั ประสบเหตุ
4) ให้วัคซีนปอู งกนั เชือ้ HPV ในผูป้ วุ ยถกู ล่วง ละเมิดทางเพศซ่งึ เป็นสตรชี ว่ งอายุ
9 – 26 ปแี ละบรุ ษุ ชว่ งอายุ 9 - 21 ปที ้งั นอี้ าจขยายไดถ้ งึ อายุ 26 ปใี นกลุม่ ชายรักชาย

๑๔
๕) ใหย้ าต้านไวรสั เอชไอวีสาหรบั ผไู้ ม่ตดิ เช้อื เอชไอวีที่เพิ่งมีความเสี่ยง ยาท่ีเลือกใช้ขึ้นอยู่กับ
คาแนะนาแต่ละประเทศสาหรับประเทศไทยแนะนาให้เร่ิมยาต้านไวรัสโดยเร็วท่ีสุด (ภายใน 1-2 ช่ัวโมง)
อยา่ งช้าไม่เกิน 72 ชว่ั โมง ภายหลังการสมั ผสั และต้องรับประทานจนครบ 4 สปั ดาห์ (Hfocus, 2559)
การบาบดั ฟ้นื ฟูด้านร่างกาย ใหแ้ พทยต์ รวจรกั ษาอย่างตอ่ เนอื่ ง เช่น บาดแผล ความเจ็บปวุ ยหรอื การ
ตดิ โรคจากเพศสัมพันธ์ไดแ้ ก่ตับอกั เสบไวรัสบีเริม หนองใน เอดส์
ดา้ นจิตใจและอารมณ์ใหจ้ ติ แพทยห์ รอื นกั จติ วทิ ยา ตรวจรักษาอย่างตอ่ เนือ่ ง ท้ังนีต้ ้องประสานงานกบั
นกั สงั คมสงเคราะหแ์ ละผูด้ ูแลเดก็ เพอื่ จดั กจิ กรรมบาบัดฟน้ื ฟคู วบคู่กบั การพบจิตแพทยด์ ้วย
ดา้ นครอบครวั คน้ หาบคุ คลในครอบครวั หรือญาติท่มี เี จตนาและความพร้อมในการคุ้มครองเลี้ยงดูเด็ก
เขา้ ร่วมในกจิ กรรมทน่ี กั สังคมสงเคราะหจ์ ัดเพื่อบาบดั ฟนื้ ฟเู ด็ก เช่น การเข้าพบและเยยี่ มเดก็ ตามกาหนด
การเข้าร่วมคา่ ยครอบครัวดว้ ยในกรณีทีเ่ ดก็ ได้รับการบาบัดฟื้นฟูทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์จนคืนสู่สภาพ
ปกติหรือใกล้เคียงปกติควรส่งเด็กกลับสู่ครอบครัวเดิม ซ่ึงมีญาติท่ีสามารถให้การคุ้มครองเด็กได้อย่าง
แท้จรงิ
มีการติดตามเยี่ยมเยียนดูแลเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง จนกว่าเกิดความม่ันใจว่าเด็กคนน้ันจะพ้นจาก
อันตรายในกรณีที่ไมส่ ามารถหาบุคคลเข้าร่วมฟ้ืนฟูไดไ้ ม่ว่าดว้ ยสาเหตใุ ดก็ตามใหต้ ดิ ต่อหนว่ ยงานที่รบั เดก็
เป็นบุตรบุญธรรมหรือครอบครัวอุปถัมภ์เพื่อหาครอบครัวทดแทนให้เด็กในกรณีที่ส่งเด็กเข้าไว้ในสถาน
ดูแลเด็ก (ท้งั ของรัฐและเอกชน) (กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ ขุ ศึกษาและพละศึกษา, ม.ป.ป.)

ภาพที่ 13 การบาบัดฟ้ืนฟูหลังถูกล่วงละเมดิ ทางเพศ
ทีม่ า (https://mgronline.com/crime/detail/9630000017075)

๑๕

6. การป้องกันและหลีกเลี่ยงการถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ
การปูองกันการล่วงละเมิดทางเพศ คือ การปูองกันการล่วงละเมิดท่ีอาศัยความ

ร่วมมือจาก ผู้ปกครอง ครู ตัวเด็ก และปัจจัยทางสังคม ส่ิงจาเป็นเกี่ยวกับการปูองกัน
หลายๆ แบบ มุ่งสู่โปรแกรมการปูองกันการล่วงละเมิดทางเพศในเด็กเพ่ือให้เหตุการณ์
การลว่ งละเมดิ ทางเพศลดลงโดยการฝึกใหเ้ ด็กสามารถท่ีจะแยกแยะสถานการณ์การล่วง
ละเมิดที่เป็นไปได้เพ่ือไม่ให้เกิดสถานการณ์เลวร้ายขึ้นและสามารถท่ีจะรายงาน
สถานการณ์ได้ ท้ังนกี้ ็ไม่ใหเ้ ปน็ การโยนความรบั ผดิ ชอบให้กับเด็ก หากเกิดเหตุการณ์ล่วง
ละเมิดขึ้น ด้วยเหตุที่ว่าความไร้เดียงสาทาให้เกิดความอ่อนแอ ซ่ึงทาให้ตกอยู่ใน
สถานการณ์เป็นเหยื่อทางเพศได้ ในขณะเดียวกันก็เป็นการยืนยันว่าเด็กจะไม่ถูกตาหนิ
จากการที่ถูกล่วงละเมิด ดังนั้นโปรแกรมการปูองกันการล่วงละเมิดทางเพศจึงถูกคิดข้ึน
เพื่อตอบสนองกับความไร้เดียงสาของเด็กเก่ียวกับการล่วงละเมิดทางเพศ การที่เด็กเข้า
รับการฝึกทักษะในการปูองกันตัวของโปรแกรมการปูองกันการล่วงละเมิดทางเพศจึง
ไม่ใช่การปฏิเสธความรับผิดชอบเบอ้ื งต้นท่ีผู้ใหญ่ควรมี

6.1 แนวทางการป้องกันการถูกล่วงละเมดิ ทางเพศ
1) ก่อนจะไปทใ่ี ดควรจะบอกให้พอ่ แม่ ผู้ปกครองรับรู้ สถานท่ีไป ไปกับใคร

กลับเม่อื ใด
๒) ไมค่ วรไปคนเดียว ควรจะมีเพอ่ื นไปด้วย
3) อยา่ ไวใ้ จคนแปลกหนา้ อย่าหลงเชอื่ คารม แม้ว่าจะแสดงทา่ ทางเปน็ มิตร
4) หลีกเลย่ี งการแตะเน้ือต้องตวั หรือสัมผสั อวัยวะทกุ สว่ น
5) เม่ือเกดิ ปญั หาตอ้ งหาทางแก้ โดยปรึกษาพ่อแม่ ครูหรอื ผ้ทู ่ไี ว้ใจได้

6.2 การใชท้ ักษะในการป้องกนั ตนเองจากการถูกล่วงละเมดิ ทางเพศ
1) การใช้ทักษะปฏิเสธ เป็นทักษะท่ีชายและหญิงสามารถนามาเพ่ือ

ปูองกันตนเองให้มีความปลอดภัย เมื่อเห็นว่าสถานการณ์มีแนวโน้มที่จะมีพฤติกรรม
เสีย่ งเกดิ ข้นึ โดยวธิ ปี ฏเิ สธ ดงั นี้

๑.1) ปฏเิ สธอย่างจริงจัง ทงั้ ท่าทาง คาพดู และนา้ เสียงเพ่ือ
จะขอปฏเิ สธอยา่ งชดั เจน

๑.2) ใช้ความร้สู ึกมาเป็นข้ออ้างประกอบเหตผุ ล
๑.3) การเห็นชอบและแสดงความขอบคุณ เม่ือผู้ชวนยอมรับจะ
เปน็ การรักษานา้ ใจ
๑.4) ถ้าถูกเซา้ ซหี้ รือถูกสบประมาท ก็อยา่ หว่ันไหว เพราะจะ
ทาใหเ้ สยี สมาธิในการปฏิเสธอาจบอกกลา่ วเพ่อื ใหอ้ อกจากสถานการณ์ทันที
2) ทกั ษะในการต่อรอง เปน็ วธิ ีการโนม้ นา้ วให้ชวนปฏิบตั ิสงิ่ อ่นื แทนสงิ่
ทเี่ ราไม่ต้องการ และไมเ่ ห็นด้วย

๑๖

3) ทักษะในการผันผ่อนเป็นวิธีการผ่อนคลายหรือยืดเวลา เพื่อให้ผู้ชวน
เปลีย่ นความต้งั ใจ

4) ทกั ษะอืน่ ๆ เปน็ พื้นฐานท่ังไปท่ีจะใช้ปูองกันตนเอง เช่น ไม่อยู่ในท่ีลับ
ตาคน หลีกเลี่ยงการไปไหนตามลาพังสองต่อสอง ไม่ดมื่ เครอื่ งด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล์
ไม่แต่งตวั ลอ่ แหลม ไมพ่ ูดจายวั่ เย้า (ปราลบ พรมล้วน, 2549, 31-32)

ภาพท่ี 6 การปอู งกันและหลีกเลี่ยงการถูกล่วงละเมิดทางเพศ
ที่มา (https:// http://issue247.com/life/how-to-protect-yourself)

๗. กฎหมายอาญาเรอ่ื งความผดิ เกย่ี วกบั เพศ
ตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพิม่ เติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 27) พ.ศ. 2562

ซึ่งกฎหมายมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 28 พฤษภาคม 2562 เป็นต้นไปนั้น เป็นการแก้ไข
ปรับปรุงบทบัญญัติความผิดเก่ียวกับเพศในหลายประการได้แก่ การปรับปรุงบทนิยามคา
ว่า “การกระทาชาเรา” เพื่อให้มีความชัดเจนและสอดคล้องกับลักษณะของการกระทา
ชาเราตามธรรมชาติ แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติความผิดเก่ียวกับเพศที่กระทาต่อเด็ก บุคคล
ท่อี ยภู่ ายใต้อานาจของผู้กระทา และผูซ้ งึ่ ไม่สามารถปกปอู งตนเองได้ ให้ผู้กระทาต้องได้รับ
โทษหนักข้ึน และปรับปรุงความผิดฐานดารงชีพจากรายได้ของผู้ซ่ึงค้าประเวณีให้เป็น
ความผดิ ฐานแสวงหาประโยชน์จากผู้ซ่ึงค้าประเวณี เพ่ือให้ครอบคลุมการกระทาความผิด
ท่ีเกิดข้ึนตามสภาพสังคมในปัจจุบันโดยมีสาระสาคัญและเหตุผลในการแก้ไข ซึ่งอ้างอิง
เน้ือหาบางส่วนมาจากบันทึกวิเคราะห์สรุปสาระสาคัญของร่างพระราชบัญญัติ แก้ไข
เพมิ่ เตมิ ประมวลกฎหมายอาญา ของสานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ดงั ตอ่ ไปนี้

1) แก้ไขเพ่ิมเติมบทนยิ ามคาวา่ “การกระทาชาเรา” โดยตดั บทนิยามคา
วา่ “การกระทาชาเรา” ที่กาหนดอยู่ในมาตรา 276 วรรคสอง และมาตรา 277 วรรค
สอง และนามากาหนดไวใ้ นมาตรา 1 (18) เพ่ือจะไดไ้ มต่ ้องบญั ญตั บิ ทนยิ าม

๑๗

“การกระทาชาเรา” ซ้ากนั ในหลายมาตราและแก้ไขบทนิยามคาว่า “การกระทาชาเรา”
ให้มีขอบเขตเฉพาะกรณีการใช้อวัยวะเพศของผู้กระทาล่วงล้าอวัยวะเพศ ทวารหนัก
หรือช่องปากของผู้อื่น เพื่อให้เป็นไปตามลักษณะของการกระทาตามธรรมชาติซึ่ง
สอดคล้องกบั แนวคาวนิ ิจฉยั ของศาลฎีกา ส่วนการใช้ส่ิงอื่นใดสอดใส่เข้าไปในอวัยวะเพศ
หรือทวารหนักของผู้อ่ืนจะไม่เป็นความผิดฐานข่มขืนกระทาชาเราอีกต่อไป แต่ได้
กาหนดให้เป็นความผิดฐานอนาจารในลักษณะร้ายแรงที่ผู้กระทาต้องได้รับโทษหนักข้ึน
ในมาตรา 278 วรรคสอง (กรณกี ระทาแกบ่ คุ คล) และมาตรา 279 วรรคส่ีและวรรคห้า
(กรณีกระทาแก่เด็ก) เนื่องจากการใช้วัตถุอ่ืนใดที่ไม่ใช่อวัยวะของมนุษย์ล่วงล้าอวัยวะ
เพศหรือทวารหนักของผู้อ่ืนไม่ใช่ลักษณะของการกระทาชาเราตามธรรมชาติ แต่มีผล
รา้ ยแรงเทยี บเทา่ กัน จึงควรกาหนดให้เปน็ ความผิดฐานอนาจารท่ีมีลักษณะร้ายแรง โดย
กาหนดโทษเทียบเทา่ ความผดิ ฐานข่มขนื กระทาชาเราบุคคลตามมาตรา 276 วรรคหน่ึง
และฐานขม่ ขืนกระทาชาเราเดก็ ตามมาตรา 277 วรรคหนง่ึ และวรรคสอง แลว้ แต่กรณี

2) กาหนดเพ่ิมเติมให้การกระทาความผิดฐานข่มขืนกระทาชาเราและ
การกระทาความผิดฐานอนาจาร ที่ได้กระทาโดยทาให้ผู้ถูกกระทาเข้าใจว่าผู้กระทามี
อาวุธปืนหรือวัตถุระเบิด ผู้กระทาต้องรับโทษหนักขึ้น (มาตรา 276 วรรคสอง, มาตรา
277 วรรคสาม, มาตรา 278 วรรคสาม และมาตรา 279 วรรคหก) มีข้อสังเกตว่าใน
ชั้นพิจารณาร่างกฎหมายของคณะกรรมาธิการวิสามัญยังไม่ได้มีการบัญญัติการกระทา
ความผดิ เกย่ี วกับเพศท่ีกระทาโดยทาให้ผู้ถูกกระทาเข้าใจว่าผู้กระทามีอาวุธปืนหรือวัตถุ
ระเบิดไว้ในร่างกฎหมาย เนื่องจากคณะกรรมาธิการวิสามัญส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วย แต่ใน
ชัน้ พจิ ารณารา่ งกฎหมายวาระ 3 ของสภานิติบญั ญตั แิ หง่ ชาติได้มีมติเห็นชอบให้เพิ่มเติม
บทบัญญัตดิ ังกลา่ วไวใ้ นร่างกฎหมาย

3) แก้ไขระวางโทษขั้นต่าของความผิดฐานข่มขืนกระทาชาเราเด็กใน
มาตรา 277 วรรคหนง่ึ จาก “จาคุกตัง้ แต่ 4 ปถี งึ 20 ปี และปรับตั้งแต่ 8 หม่ืนบาทถึง
4 แสนบาท” เป็น “จาคุกตั้งแต่ 5 ปีถึง 20 ปี และปรับตั้งแต่ 1 แสนบาทถึง 4 แสน
บาท” เน่ืองจากการข่มขืนกระทาชาเราเด็กควรกาหนดระวางโทษสูงกว่าการข่มขืน
กระทาชาเราบุคคลตามมาตรา 277 และเพอื่ ยับย้ังผกู้ ระทาความผิดไม่ให้กระทาต่อเด็ก
ซ่งึ มคี วามสามารถในการปูองกันตวั เองไดน้ ้อยกวา่ ผ้ใู หญ่

4) กาหนดเพ่ิมเติมให้การกระทาความผิดฐานข่มขืนกระทาชาเราเด็ก
และอนาจารเด็กอายุยังไม่เกิน 13 ปี ต้องรับโทษหนักข้ึน (มาตรา 277 วรรคสอง,
มาตรา 279 วรรคสอง)

5) กรณีการกระทาความผิดฐานข่มขืนกระทาชาเราท่ีผู้กระทาเป็นเด็ก
อายุไม่เกิน 18 ปี กระทาต่อเด็กอายุมากกว่า 13 ปี แต่ยังไม่เกิน 15 ปี โดยเด็กน้ัน
ยินยอมในมาตรา 277 วรรคห้า เดิมทีเดียว มีบทบัญญัติที่กาหนดให้ศาลท่ีมีอานาจ
พจิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครัว อนุญาตใหท้ ั้งสองฝุายสมรสกันได้โดยกาหนดเงื่อนไข
ให้ดาเนินการภายหลังการสมรสแทนการลงโทษ แต่ในการพิจารณาร่างกฎหมายในช้ัน

๑๘

คณะกรรมาธิการวิสามัญได้ตัดข้อความส่วนนี้ออก และได้กาหนดเพ่ิมเติมในมาตรา
277 วรรคหกว่า ผู้กระทาความผิดไม่ต้องรับโทษ ในกรณีท่ีการดาเนินการคุ้มครอง
สวัสดิภาพตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็กได้สาเร็จลงตามคาส่ังศาล และศาลจะ
ลงโทษผู้กระทาความผิดน้อยกว่าที่กฎหมายกาหนดไว้เพียงใดก็ได้ ในกรณีท่ีการ
ดาเนนิ การคุ้มครองสวัสดภิ าพตามกฎหมายว่าดว้ ยการคุ้มครองเด็กไม่สาเร็จ

6) เพมิ่ การกาหนดโทษจาคกุ ตลอดชวี ิตในมาตรา 280 กรณีการกระทา
ความผิดฐานอนาจารบุคคลตามมาตรา 278 หรือฐานอนาจารเด็กตามมาตรา 279 ซ่ึง
เป็นเหตุให้ผู้ถูกกระทาได้รับอันตรายสาหัส เน่ืองจากได้มีการกาหนดความผิดฐาน
อนาจารโดยการล่วงล้าอวัยวะเพศหรือทวารหนักของผู้อื่นด้วยวัตถุอื่นใดซึ่งเป็นการ
กระทาทม่ี ลี กั ษณะร้ายแรง จงึ สมควรเพ่มิ โทษจาคกุ ตลอดชีวิตในมาตรา 280 ที่เป็นเหตุ
ฉกรรจ์ให้ได้สัดส่วนกัน และเพ่ือให้ศาลใช้ดุลพินิจในการกาหนดบทลงโทษได้อย่าง
เหมาะสมกับขอ้ เท็จจรงิ ในการกระทาความผิดแตล่ ะกรณี

7) เพิ่มการกาหนดความผิดกรณีการบันทึกภาพหรือเสียงและการ
เผยแพร่หรือส่งต่อภาพหรือเสียงของการกระทาชาเราหรือการกระทาอนาจาร โดยให้
เป็นการกระทาที่ผู้กระทาต้องรับโทษหนักข้ึนไว้ในมาตรา 280/1 เนื่องจากการกระทา
ท่ีเป็นการบันทึกภาพหรือเสียงของการข่มขืนกระทาชาเราหรือการอนาจา รเป็นการ
กระทาทมี่ ีลักษณะรา้ ยแรง และหากมีการนาภาพหรือเสียงที่บันทึกไว้ออกเผยแพร่จะยิ่ง
เป็นการซ้าเติมและทาให้ผู้ถูกกระทาเสียหายมากย่ิงขึ้น โดยหากได้บันทึกภาพหรือเสียง
การกระทาชาเราหรอื การกระทาอนาจารเพื่อแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบสาหรับตนเอง
หรือผู้อ่ืน จะต้องระวางโทษหนักกว่าที่บัญญัติไว้ในมาตรานั้น ๆ 1 ใน 3 และหาก
เผยแพร่หรอื ส่งตอ่ ซงึ่ ภาพหรอื เสียงการกระทาชาเราหรือการกระทาอนาจาร ที่บันทึกไว้
ตอ้ งระวางโทษหนักกวา่ ทบ่ี ญั ญตั ไิ ว้ในมาตรานั้น ๆ ก่งึ หนงึ่

8) กาหนดใหค้ วามผดิ ฐานขม่ ขืนกระทาชาเราเป็นความผดิ อาญา
แผน่ ดินทีย่ อมความไม่ได้ เน่อื งจากเปน็ อาชญากรรมรา้ ยแรงทเี่ ปน็ ภยั ของสังคมและเป็น
การทาร้ายท้ังรา่ งกายและจิตใจของผูถ้ ูกกระทา เวน้ แตเ่ ป็นการกระทาระหวา่ งคสู่ มรส
เพอ่ื รักษาความสัมพันธ์ในครอบครัว โดยการกระทาความผดิ จะตอ้ งไม่เกิดต่อหน้า
ธารกานลั หรือไมเ่ ปน็ เหตใุ หผ้ ู้ถูกกระทาได้รับอันตรายสาหัสหรือถงึ แกค่ วามตาย ถึงจะ
สามารถยอมความได้ และกาหนดให้ความผิดฐานอนาจารโดยการล่วงล้าอวยั วะเพศหรอื
ทวารหนกั ซ่ึงมลี กั ษณะร้ายแรงเทยี บเท่าการข่มขนื กระทาชาเรา ไมใ่ ห้เปน็ ความผดิ อัน
ยอมความได้ดว้ ยเชน่ กัน โดยยกเวน้ กรณกี ารกระทาระหวา่ งคู่สมรสท่ีไม่เกดิ ต่อหนา้
ธารกานลั หรอื ไมเ่ ปน็ เหตใุ หผ้ ู้ถกู กระทาไดร้ บั อันตรายสาหัสหรือถึงแก่ความตาย เชน่
เดยี วกัน ทั้งน้ีเป็นไปตามมาตรา 281

9) กาหนดเพิ่มเตมิ จากเดมิ ในมาตรา 285 ใหก้ ารกระทาความผดิ
เกีย่ วกับเพศแก่บุพการี พ่ีน้องร่วมบดิ ามารดา หรอื ร่วมแต่บิดาหรอื มารดา ญาติสืบสาย
โลหิต และผอู้ ยภู่ ายใตอ้ านาจด้วยประการอนื่ ใด ผู้กระทาต้องรบั โทษหนักขึน้ เน่อื งจาก

๑๙

การกระทาความผิดเกย่ี วกับเพศแก่บคุ คลดังกล่าว เปน็ เรือ่ งที่น่าตาหนติ ิเตียนและขดั ต่อ
ศลี ธรรมทีผ่ ้กู ระทาความผดิ ควรตอ้ งรับโทษหนกั ข้นึ มขี ้อสงั เกตทคี่ วรพิจารณาว่า คา
วา่ “ผูอ้ ย่ภู ายใต้อานาจด้วยประการอื่นใด” ซ่ึงครอบคลมุ ผู้อยูภ่ ายใต้อานาจบุคคลอืน่ ท้งั
ในทางกฎหมายและตามความเปน็ จรงิ น้นั ควรมคี วามหมายและขอบเขตแค่ไหน เพียงใด

10) กาหนดให้การกระทาความผิดเก่ียวกบั เพศแก่บุคคลซ่งึ ไม่สามารถ
ปกปูองตนเองได้เนื่องจากเป็นผูท้ ุพพลภาพ ผมู้ ีจิตบกพรอ่ ง โรคจิต หรือจติ ฟ่ันเฟือน คน
ปวุ ยเจบ็ คนชรา สตรมี คี รรภ์ หรอื ผซู้ ึ่งอยู่ในภาวะไม่สามารถร้ผู ดิ ชอบ ผกู้ ระทาต้องรบั
โทษหนกั ข้นึ กวา่ ทบี่ ญั ญตั ิไวส้ าหรบั ความผิดน้นั ๆ 1 ใน 3 ตามมาตรา 285/2 เพ่ือเปน็
การคุม้ ครองบุคคลท่ีไม่สามารถปกปูองตนเองได้ (vulnerable person) ซึ่งผกู้ ระทา
ความผิดมโี อกาสกระทาความผิดสาเรจ็ ได้ง่ายกว่าการกระทาต่อบุคคลปกติท่สี ามารถ
ปกปอู งตนเองได้

11) ปรบั ปรุงความผดิ ฐานดารงชพี จากรายได้ของผู้ซง่ึ ค้าประเวณใี ห้เปน็
ความผิดฐานแสวงหาประโยชนจ์ ากผ้ซู ึง่ ค้าประเวณี โดยกาหนดใหก้ ารกระทาด้วย
ประการใด ๆ ท่ีเปน็ การเอาเปรียบหรือแสวงหาประโยชนห์ รือรายได้จากผู้ซึ่งค้าประเวณี
หรอื จากการคา้ ประเวณีตา่ ง ๆ ตามทก่ี าหนดไว้ในมาตรา 286 เปน็ ความผดิ เพือ่ แก้ไข
ปญั หาการบงั คบั ใช้กฎหมาย เนอื่ งจากตามกฎหมายเดิม หากศาลเห็นว่าจาเลยมีรายได้
อยา่ งอื่นอยู่แล้วซ่ึงเพียงพอแก่การดารงชพี ก็จะไม่มีความผิดฐานดารงชพี จากรายไดข้ อง
ผู้ซ่งึ คา้ ประเวณีตามมาตรา 286 (อศิ รา, ม.ป.ป.)

สรุป
การล่วงละเมิดทางเพศ เป็นรูปแบบหนึ่งของการล่วงละเมิดบุคคลและเกิดขึ้น

บ่อยและเกิดขึ้นกับทุกช่วงวัยโดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นและ พฤติกรรมน้ีเกิดบุคคลหรือกลุ่ม
บุคคลกระทา กา รคุกคา มคนการ มีเพศสั มพั นธ์ โด ยท่ีไม่คาด คิด เป็ นสถาน กา รณ์แล ะ
วิกฤตการณ์ท่ีหากเกิดข้ึนกับผู้ใด ย่อมทาให้เกิดอันตรายและความสูญเสียท้ังตนเอง
ครอบครัวและสังคม การรู้จักปูองกันจึงเป็นส่ิงท่ี จาเป็นและสาคัญท่ีสุด การรู้จักดูแล
ตนเองระมัดระวัง สร้างความตระหนักและมีจิตสานึกในบทบาทตามวัยของตนเองอย่าง
เหมาะสมจะเป็นมาตรการหนึ่งที่ช่วยให้หลีกพ้นจากความเสี่ยงและ ไม่ปลอดภัยได้
พฤติกรรมที่ละเมิดสิทธิของผู้อ่ืนในเร่ืองเพศ ไม่ว่าจะเป็นคาพูด สายตา และการใช้ท่าที
รวมไปจนถึงการบังคับให้มีเพศสัมพันธ์ การข่มขืน การล่วงละเมิดทางเพศต้องคานึงถึง
ความรู้สึกของผ้หู ญิงเป็นหลัก การกระทาใดๆ ก็ตามที่ทาให้ ผู้หญิงรู้สึกอับอาย เป็นการ
ล่วงเกนิ ความเป็นสว่ นตวั และผู้หญงิ ไม่ยนิ ยอมพร้อมใจให้ทา ถือเป็นการล่วงละเมิดทาง
เพศท้งั สิ้น

บรรณานกุ รม

บรรณานุกรม

กนกวรรณ ธราวรรณ. (๒๕๖๓). รฐั ไทยกบั ชีวติ คู่แบบเพศวถิ ีนอกขนบ. [ออนไลน์].
สบื ค้นได้จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/2007/09/08/entry. (วนั ทคี่ น้

ข้อมลู : ๖ มนี าคม ๒๕๖๓).
กฤษกร ปัสสาคา. (๒๕๖๓). ผลกระทบที่เกิดจากการถกู ลว่ งละเมิดทางเพศ. [ออนไลน์].

สืบค้นได้จาก https://sites.google.com/site/nekima56/bth-thi6-2. (วันท่ี
ค้น

ข้อมูล : ๗ มนี าคม ๒๕๖๓).
กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ขุ ศึกษาและพละศึกษา. (๒๕๖๓). การป้องกนั การถกู ล่วงละเมิดทาง

เพศ. [ออนไลน์].สบื ค้นได้จาก http://stu.rbru.ac.th/~s5415262005/oa/.
(วันท่คี ้นขอ้ มูล : ๗ มีนาคม.๒๕๖๓).

ดวงพร เพชรคง. (๒๕๕๗). บทความการลว่ งละเมิดทางเพศ. การล่วงละเมดิ ทางเพศ.
ปริมา อภโิ ชตกิ ร. (2551). อิทธพิ ลของสอ่ื ลามกที่มีตอ่ พฤติกรรมทางเพศ ของนกั ศึกษา

กลุ่มอาชีวศึกษา จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่ : มหาวทิ ยาลยั แม่โจ้.
ปรดี า จุลปาน. (๒๕๖๓). การถูกล่วงละเมิดทางเพศ. [ออนไลน์]. สบื ค้นไดจ้ าก

http://www2.yothinburana.ac.th/website/Teacher_. (วันท่คี น้ ข้อมลู : ๗
มีนาคม ๒๕๖๓).
ปราลบ พรมล้วน. (2549). การสอนเรอื่ งการสัมผสั และทกั ษะการป้องกนั การล่วงละเมิด
ทางเพศในเดก็ .กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
ภิญญดา ทนั วนั . (2558). ผลกระทบและการเยยี วยาทางจิตใจ ผถู้ กู กระทาด้วย
ความรนุ แรงในครอบครัวและผู้ถกู ล่วงละเมิดทางเพศ. (ม.ป.ท.) : กรงุ เทพธุรกิจ.
วิชาการดอทคอม. (๒๕๖๓). การแกไ้ ขปัญหาการถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ. [ออนไลน์].

สบื ค้นได้จาก http://www.vcharkarn.com/vcafe/128129. (วันท่คี ้นขอ้ มูล : ๖

มนี าคม ๒๕๖๓).
ศนู ย์วิชาการแฮปปี้โฮม. (๒๕๖๓). ความบกพรอ่ งทางสติปญั ญา. [ออนไลน์]. สบื คน้ ได้

จาก https://www.happyhomeclinic.com/sp05-intellectual-disability.html.
(วันที่ค้นขอ้ มลู : ๗ มีนาคม ๒๕๖๓).
สื่อการสอนออนไลน์. (2563). ผลกระทบดา้ นอารมณ์และจิตใจ. [ออนไลน์]. สืบคน้ ได้
จาก https://sites.google.com/site/nekima56/bth-thi6-2. (วนั ท่คี ้นข้อมูล : ๗
มีนาคม ๒๕๖๓).

บรรณานกุ รม

สานักข่าวอิศรา. (๒๕๖๒). กฎหมายอาญาเรือ่ งความผดิ เก่ียวกับเพศ. [ออนไลน์]. สืบคน้
ไดจ้ ากhttps://www.isranews.org/isranews/77129-law-77129.html. (วันท่ี
คน้ ข้อมลู : ๗ มนี าคม ๒๕๖๓).

หอ้ งสมุด มกพ. (2563). ผูท้ ี่มคี วามบกพร่องทางรา่ งกายและสติปัญญา. [ออนไลน์].
สบื ค้นได้จาก https://fcdthailand.org/library. (วนั ท่ีค้นข้อมูล : ๗ มนี าคม
๒๕๖๓).

Hfocus. (๒๕๕๙). การดแู ลผู้ป่วยท่ีถกู ล่วงละเมิดทางเพศ. [ออนไลน์]. สบื ค้นไดจ้ าก
https://www.hfocus.org/content / 2016/11/13049. (วนั ที่ค้นขอ้ มลู : ๖
มีนาคม ๒๕๖๓).

Honestdocs. (2563). ความหมายของพฤตกิ รรมการลว่ งละเมดิ ทางเพศ. [ออนไลน์].
สืบค้นไดจ้ าก https://www.honestdocs.co/what-is-sexual-bullying-and-why
do-kids-engage-in-it(วนั ท่ีค้นข้อมูล : ๗ มีนาคม ๒๕๖๓).


Click to View FlipBook Version