The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลพื้นฐานระบบจัดการฐานข้อมูล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Parker W., 2019-07-31 11:49:49

ระบบจัดการฐานข้อมูล

ข้อมูลพื้นฐานระบบจัดการฐานข้อมูล

ระบบฐานข้อมูล

Database System

อาจารย์อภสั รา ไชยจติ ร์

วตั ถุประสงค์

 ระบบฐานขอ้ มลู โดยพ้ืนฐานเป็นระบบจดั เกบ็ ระเบียนดว้ ยคอมพิวเตอร์
สามารถทางานกบั ขอ้ มูลในฐานขอ้ มลู ในลกั ษณะต่าง ๆ ได้ เช่น

 เพ่มิ แฟ้ มใหม่เขา้ ในฐานขอ้ มลู
 แทรกขอ้ มลู ลงในแฟ้ ม
 ดึงขอ้ มลู มาจากแฟ้ ม
 เปลี่ยนแปลงขอ้ มูลท่ีมีอยู่
 ลบขอ้ มูล
 ลบแฟ้ ม

 ระบบฐานขอ้ มลู มีวตั ถุประสงคห์ ลกั ในการจดั เกบ็ ขอ้ สนเทศและใหผ้ ใู้ ช้
สืบคน้ ตลอดจนปรับปรุงขอ้ สนเทศน้นั ใหเ้ ป็นปัจจุบนั

คุณสมบตั ฐิ านข้อมูล

 การนาข้อมลู ทส่ี ัมพนั ธ์กนั ทงั้ หมดมาไว้รวมกนั

 ข้อมลู ที่มีลกั ษณะเป็นมาตรฐาน
 มีชุดเดียว
 ใช้ได้ท้ังหน่วยงาน
 มีระบบตรวจสอบป้ องกนั
 เป็นอิสระจากโปรแกรม
 มีภาษาสอบถาม (QUERY LANGUAGE)
 ต้องมีระบบจัดการฐานข้อมลู (DATABASE MANAGEMENT SYSTEM)

ฐานข้อมูล

 ฐานข้อมูล หมายถึง แหล่งที่ใชส้ าหรับเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลซ่ึงอยใู่ นรูป
แฟ้ มขอ้ มูลมารวมไวท้ ี่เดียวกนั รวมท้งั ตอ้ งมีส่วนของ พจนานุกรมขอ้ มูล
(data dictionary) เกบ็ คาอธิบายเก่ียวกบั โครงสร้างของฐานขอ้ มลู และ
เน่ืองจากขอ้ มูลท่ีจดั เกบ็ น้นั ตอ้ งมีความสมั พนั ธซ์ ่ึงกนั และกนั ทาใหส้ ามารถ
สืบคน้ (retrieval) แกไ้ ข (modified) ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ขอ้ มูล
(update) และ การจดั เรียง (sort) ไดส้ ะดวกข้ึน

 ตวั อยา่ งเช่น ฐานขอ้ มูลการขายสินคา้ จะประกอบดว้ ยขอ้ มูลลูกคา้ ซ่ึงจะมีชื่อท่ี
อยขู่ องลูกคา้ หรือขอ้ มูลสินคา้ ซ่ึงจะมีชื่อสินคา้ ราคาสินคา้ เป็นตน้
ขอ้ มลู เหล่าน้ีจะมีรหสั ประจาตวั เกบ็ ไวเ้ พื่อสะดวกในการคน้ หาและเรียกใช้

ระบบฐานข้อมูล

 ระบบฐานข้อมูล หมายถึง ระบบการรวบรวมแฟ้ มขอ้ มลู หลายๆ แฟ้ มขอ้ มูลเขา้ ดว้ ยกนั
โดยขจดั ความซ้าซอ้ นของขอ้ มลู ออก แลว้ เกบ็ ขอ้ มูลไวท้ ี่ศูนยก์ ลาง เพื่อการใชง้ านร่วมกนั ใน
องคก์ ร ภายในระบบตอ้ งมีส่วนท่ีเป็นโปรแกรมประยกุ ตท์ ่ีสร้างข้ึนเพ่ือเช่ือมโยงและใชง้ าน
ขอ้ มูลใน ฐานขอ้ มูล (database) และจะตอ้ งมีการดูแลรักษาความปลอดภยั ของขอ้ มูลเหล่าน้นั
มีการกาหนดสิทธิของผใู้ ชง้ านแต่ละคนใหแ้ ตกต่างกนั ตามแต่ความตอ้ งการในการใชง้ าน

 ระบบฐานขอ้ มลู จะประกอบดว้ ยแฟ้ มขอ้ มลู จานวนหลายๆ แฟ้ ม แฟ้ มขอ้ มูลเหล่าน้ีตอ้ งมี
การจดั ระบบแฟ้ มไวอ้ ยา่ งดี กล่าวคือ ขอ้ มลู ในแฟ้ มขอ้ มูลเดียวกนั ตอ้ งไม่มีการซ้าซอ้ นกนั
แต่ระหวา่ งแฟ้ มขอ้ มลู อาจมีการซ้าซอ้ นกนั ไดบ้ า้ ง และตอ้ งเปิ ดโอกาสใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถเขา้ ถึง
ขอ้ มลู และคน้ หาไดง้ ่าย นอกจากน้ียงั สามารถ เพิ่มเติม หรือลบออกได้ โดยไม่ทาใหข้ อ้ มลู
อื่นเสียหาย

องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล

 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
 2. ซอฟตแ์ วร์ (Software) หรือ โปรแกรม (Program)
 3. ขอ้ มลู (Data)
 4. บุคลากร (People)
 5. ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน (Procedure)

1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)

 หมายถงึ ฮาร์ดแวร์หรืออุปกรณ์ต่างที่ใชเ้ พือ่ ช่วยใหร้ ะบบฐานขอ้ มูล
สามารถทางานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยมีส่ิงสาคญั คือ
- ขนาดของหน่วยความจา (Memory)
- ความเร็วในการประมวลผลของ CPU
- อปุ กรณ์นาเขา้ (Input Device)
- อปุ กรณ์แสดงผล (Output Device)

2. ซอฟต์แวร์ (Software)

 หมายถึง ซอฟตแ์ วร์ ที่ใชเ้ พอื่ เกบ็ ขอ้ มลู หรือการจดั การขอ้ มลู ในรูปแบบต่างๆ
โดยแต่ละระบบจะใช้ โปรแกรมท่ีแตกต่างกนั ไปตามลกั ษณะการใชง้ าน
แต่ทุกระบบจะตอ้ งมีโปรแกรมที่ทาหนา้ ท่ีควบคุมดูแลการสร้าง, การ
เรียกใชข้ อ้ มูล, การจดั ทารายงาน, การปรับเปลี่ยนแกไ้ ขโครงสร้าง ฯลฯ
เรียกวา่
“ระบบจดั การฐานขอ้ มูล” (Database Management System : DBMS)

3. ข้อมูล (Data)

 หมายถงึ ขอ้ มลู หรือสิ่งต่างๆ ท่ีตอ้ งการนามาจดั เกบ็ ลงใน
ฐานขอ้ มูล เพือ่ ใหม้ ีการจดั การอยา่ งเป็นระบบ โดยขอ้ มูลต่างๆ
จะถกู จดั การในแต่ละระดบั โดยผทู้ ่ีใชฐ้ านขอ้ มลู จะมองภาพ
ขอ้ มลู ท่ีแตกต่างกนั ออกไป

4. บุคลากร (People)

1. ผู้ใช้ท่ัวไป (User)
บุคลากรที่ใชฐ้ านขอ้ มูล เช่น พนกั งานจองตว๋ั

2. พนักงานปฏบิ ตั กิ าร (Operator)
ผปู้ ฏิบตั ิการดา้ นประมวลผลการป้ อนขอ้ มลู

3. นักวเิ คราะห์และออกแบบระบบ (System Analyst)
ผวู้ ิเคราะห์ระบบฐานขอ้ มลู และออกแบบระบบงานท่ีจะนามาใช้

4. ผู้เขยี นโปรแกรมประยกุ ต์ (Programmer)
ผทู้ ่ีเขียนโปรแกรมเพ่ือใหจ้ ดั เกบ็ ขอ้ มูล การเรียกใชข้ อ้ มูลตามความตอ้ งการของ
ผใู้ ชง้ าน

5. ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA)
ผทู้ ี่ทาหนา้ ที่บริหารและควบคุมการบริหารงานระบบฐานขอ้ มลู
โดยเป็นผตู้ ดั สินใจ, กาหนดนโยบาย ต่างๆ ในการใชง้ านระบบฐานขอ้ มลู

5. ข้นั ตอนการปฏิบัตงิ าน (Procedure)

 หมายถงึ ข้นั ตอนหรือวธิ ีการต่างๆ ในระบบฐานขอ้ มลู โดยจะเป็น
ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงานต่างๆ ที่จะตอ้ งเป็นไปตามข้นั ตอนที่กาหนด
เพอื่ ใหก้ ารทางานของระบบฐานขอ้ มลู เป็นไปอยา่ งถูกตอ้ ง และมี
ประสิทธิภาพ ซ่ึงกจ็ ะมีท้งั ข้นั ตอนในสภาวะปกติ และข้นั ตอน
ปฏิบตั ิในขณะระบบเกิดปัญหา (Failure)

ความรู้พนื้ ฐานเกย่ี วกบั ระบบฐานข้อมูล

 ข้อมูล คือ ขอ้ เทจ็ จริง หรือส่ิงท่ียดึ ถือหรือยอมรับวา่ เป็นขอ้ เทจ็ จริง
สาหรับใชเ้ ป็นหลกั อนุมานหาความจริงหรือการคานวณ
(พจนานุกรมราชบณั ฑิตยสถานฉบบั พ.ศ. 2525)

 ตวั อยา่ งขอ้ มลู ของบุคคล เช่น ช่ือ นามสกลุ วนั เดือนปี เกิด อายุ เพศ
สถานภาพสมรส ที่อยอู่ าศยั ภูมิลาเนา เช้ือชาติ สญั ชาติ ศาสนา หม่เู ลือด วฒุ ิ
การศึกษา ประสบการณ์ในการทางาน เป็นตน้

ข้อมูล

 ขอ้ มลู บางรายการเป็นตวั อกั ษรอยา่ งเดียว เช่น ชื่อ และนามสกลุ
 ขอ้ มูลบางรายการเป็นขอ้ มูลเชิงจานวน เช่น อายุ และเงินเดือน
 ขอ้ มลู บางรายการอาจบนั ทึกไวเ้ ป็นตวั อกั ษรยอ่ เช่น เพศชาย

อาจบนั ทึกไวเ้ ป็นตวั อกั ษร ช หรือ M
 ขอ้ มลู บางรายการมีลกั ษณะค่อนขา้ งตายตวั และไม่เปล่ียนแปลง เช่น

วนั เดือน ปี เกิด เพศ หม่เู ลือด
 ขอ้ มูลบางรายการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เช่น อายุ

ซ่ึงไม่นิยมจดั เกบ็ ขอ้ มูล

ชนิดของข้อมูล

 ชนิดของขอ้ มูลที่จดั เกบ็ มีดงั ต่อไปน้ี
1. ข้อความ (Text) ประกอบดว้ ยตวั อกั ษรต่างๆมารวมกนั ไม่มีรูปแบบ

ที่แน่นอน
2. ชนิดทเ่ี ป็ นรูปแบบ (Formatted data) เป็นขอ้ มูลท่ีประกอบดว้ ย

อกั ษรต่างๆท่ีมีรูปแบบแน่นอน เช่น ในรูปแบบรหสั ไดแ้ ก่ รหสั นกั ศึกษา
รหสั วชิ า

3. รูปภาพ (Images) เป็นรูปภาพที่ใชแ้ ทนขอ้ มูล เป็นภาพท่ีไดจ้ าก
สแกนภาพ หรือ จากวิดิโอ

4. เสียง (Voice) เป็นขอ้ มูลที่จดั เกบ็ เป็นลกั ษณะของเสียง

ความรู้พนื้ ฐานเกย่ี วกบั ระบบฐานข้อมูล

 ระบบแฟ้ มข้อมูล (file system) เป็นการจดั เกบ็ เอกสารหรือขอ้ มูลต่าง ๆ
ไวใ้ นเคร่ืองคอมพวิ เตอร์โดยจดั เกบ็ แยกเป็นแฟ้ มขอ้ มลู ตามประเภทของงาน
หรือแยกตามการปฏิบตั ิงาน เช่น แฟ้ มขอ้ มูลประวตั ิพนกั งาน แฟ้ มขอ้ มลู
ลูกคา้ และแฟ้ มขอ้ มลู การจ่ายเงินเดือน เป็นตน้

 โครงสร้างของแฟ้ มขอ้ มูลประกอบดว้ ย เรคอร์ด (record) จานวนมากมาย
แต่ละเรคอร์ดประกอบดว้ ยฟิ ลด์ (field) จานวนหน่ึง และฟิ ลดป์ ระกอบ
ข้ึนจากกลุ่มของอกั ขระและตวั เลขมารวมกนั จนเกิดเป็นความหมาย
ขอ้ มลู บางรายการเป็นตวั อกั ษรอยา่ งเดียว เช่น ช่ือ และนามสกลุ

ชนิดของฐานข้อมูล

 ในระบบฐานขอ้ มูลแบ่งหน่วยของขอ้ มลู หลายระดบั ดงั น้ี
- บิต (BIT) หมายถึง หน่วยขอ้ มูลท่ีเลก็ ท่ีสุด แทนคา่ ดว้ ย 0 หรือ 1
- ไบท์ (Byte) หมายถึง หน่วยขอ้ มูลที่นาขบวนของบิตที่รวมกนั แทนตวั อกั ษร
- ฟิ ลด์ (Field) หมายถึง หน่วยของขอ้ มลู ที่ประกอบดว้ ยหลายตวั อกั ษร
เพอ่ื แทนความหมายของขอ้ มลู เช่น รหสั นิสิต ชื่อนกั เรียน เป็นตน้
- เรคคอร์ด (Record) หมายถึง หน่วยของขอ้ มูลที่นาเอาฟิ ลด์ หลายๆ ฟิ ลดม์ ารวมกนั
แสดงรายละเอียดของขอ้ มูลหน่ึงๆ เช่น ประวตั ินกั ศึกษา
ประกอบดว้ ย รหสั นกั ศึกษา ชื่อนกั ศึกษา นามสกลุ วนั เดือนปี เกิด .
ท่ีอยู่ เป็นตน้
- แฟ้ มข้อมูล (File) หมายถึง หน่วยของขอ้ มลู ที่เกิดจากากรรวมกนั ของเรคคอร์ด
หลายๆ เรคคอร์ด

ประเภทของแฟ้ มข้อมูล

 1. Master File เป็นแฟ้ มขอ้ มูลหลกั ซ่ึงจดั เกบ็ ขอ้ มลู ที่มกั จะไม่มีการเปล่ียนแปลง
เช่น แฟ้ มขอ้ มูลประวตั ินกั ศึกษา
การปรับปรุงแกไ้ ขขอ้ มลู ใน Master File ทาได้ 3 รูปแบบ
1.1 การเพิม่ (Add) เช่น การเพม่ิ record นกั ศึกษาใหม่
1.2 การลบออก (Delete) เช่น การลบ record นกั ศึกษาท่ีลาออก
1.3 การแกไ้ ข (Modify) เช่น การเปล่ียนแปลงท่ีอยขู่ องนกั ศึกษา

 2. Transaction File เป็นแฟ้ มขอ้ มลู ท่ีจดั เกบ็ ขอ้ มลู การดาเนินธุรกรรมประจาวนั
(Transaction) มีการเคล่ือนไหวตลอดเวลา เช่น รายการฝากถอนเงินในบญั ชีลูกคา้
ธนาคาร

 3. Document File เป็นแฟ้ มเอกสารหรือแฟ้ มรายงาน (Report File) ที่ไดจ้ ากการ
พมิ พด์ ว้ ยโปรแกรม

ประเภทของแฟ้ มข้อมูล (ต่อ)

 4. Archival File หรือ Historical File เป็นแฟ้ มขอ้ มูลท่ีเกบ็ Master File และ
Transaction File โดยนาไปบนั ทึกลงเทป ซ่ึงตอ้ งจดั เกบ็ ไวเ้ พอ่ื การตรวจสอบ หรือ กรณี
ตอ้ งการขอ้ มูลเก่ามาวเิ คราะห์

 5. Table Look-Up File เป็นแฟ้ มเกบ็ ตาราง เพื่อใชใ้ นการอา้ งอิง ขอ้ มูลท่ีเกบ็ ในตาราง
ค่อนขา้ งคงที่ ไม่คอ่ ยเปลี่ยนแปลง เช่น ตารางภาษี ตารางคณะ

 6. Audit File เป็นแฟ้ มที่เกบ็ record ที่ถกู update ใน File ต่างๆ เช่น Master File และ
Transaction File จะถูกใชใ้ นการกคู้ ืนขอ้ มลู หรือการกคู้ ืนระบบฐานขอ้ มลู กรณีท่ีขอ้ มลู
ในระบบเกิดความเสียหาย

การจดั โครงสร้างแฟ้ มข้อมูล(File Organization)

 เป็นเทคนิคที่ใชใ้ นการจดั เกบ็ ขอ้ มูลลงในอุปกรณ์บนั ทึกขอ้ มลู สารอง
( Secondary Storage ) ซ่ึงในการจดั เกบ็ ขอ้ มูลผอู้ อกแบบจะตอ้ งเลือกโครงสร้างการ
จดั เกบ็ แฟ้ มขอ้ มูลวา่ ควรเป็นแบบใด โดยมีแนวทางในการพิจารณา ดงั น้ี
1. ทาใหก้ ารคน้ หาหรือเรียกขอ้ มลู มีความรวดเร็ว
2. การประมวลผลขอ้ มลู มีอตั รา Throughput ท่ีดี นน่ั คือ จานวนรายการท่ีสามารถ
ประมวลผลไดใ้ นช่วงเวลาหน่ึงอยใู่ นอตั ราท่ีดี
3. ใชอ้ ุปกรณ์จดั เกบ็ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ทาใหป้ ระหยดั เน้ือที่ในการจดั เกบ็
ขอ้ มูล
4. การป้ องกนั ขอ้ มูลท่ีอาจสูญหาย
5. รองรับการเจริญเติบโตของขอ้ มูล
6. ระบบความปลอดภยั ของขอ้ มลู จากผใู้ ชท้ ่ีไม่มีสิทธิใชง้ าน

การจดั โครงสร้างแฟ้ มข้อมูล(File Organization)

 พ้นื ฐานของรูปแบบการจดั โครงสร้างขอ้ มลู ประกอบดว้ ย

1. โครงสร้างแฟ้ มข้อมูลแบบเรียงลาดบั ( Sequential File Organization)
ขอ้ มูลแตล่ ะ record จะถกู จดั เกบ็ เป็นลาดบั ตาม field ท่ีใชจ้ ดั เรียง ถา้ filed ทีใช้
จดั เรียงเป็น คียห์ ลกั (Primary Key) จะเรียกวา่ Ordering Key การคน้ หาขอ้ มูลจะ
เรียงตามลาดบั ของ record

2. โครงสร้างแฟ้ มข้อมูลแบบดชั นี (Indexed File Organization) เป็นการเกบ็
ขอ้ มูลแต่ละ record แบบเรียงตามลาดบั หรือไม่เรียงกไ็ ด้ โดยแฟ้ มแบบดชั นี
ประกอบดว้ ย คา่ ของfield ท่ีใชเ้ ป็นดชั นีและตาแหน่งของ record ในแฟ้ มขอ้ มลู
การคน้ หาหรือเรียกใชข้ อ้ มูลจะทาผา่ นแฟ้ มดชั นี ทาใหก้ ารเรียกใชข้ อ้ มูลรวดเร็ว

การจดั โครงสร้างแฟ้ มข้อมูล(File Organization)

 3. โครงสร้างแฟ้ มข้อมูลแบบแฮช ( Hashed File Organization) เป็นโครงสร้าง
แฟ้ มขอ้ มูลที่มีการกาหนดที่อยู่ (Relative record number) ท่ีใชเ้ กบ็ ขอ้ มลู แต่
ละ record โดยใช้ Hash algorithm ซ่ึงเป็นเทคนิคในการแปลงค่าของ field ที่
เลือกใช้ (Hash Field) ใหเ้ ป็นตาแหน่งท่ีอยขู่ องแฟ้ มขอ้ มลู ดงั น้นั record ของ
แฟ้ มขอ้ มูลแบบ Hash จะอยแู่ บบกระจดั กระจาย
การจดั แฟ้ มขอ้ มลู แบบ Hash เหมาะกบั การเรียกใชข้ อ้ มลู ที่มีการระบุค่า
ของ Hash Field เช่น Flyers แต่แฟ้ มแบบน้ีไม่เหมาะกบั การเรียกใชข้ อ้ มลู ที่
ตอ้ งคน้ หาขอ้ มูลเป็นช่วง หรือใชf้ ield อ่ืนท่ีไม่ใช่ Hash Field ในการแสดง
ขอ้ มูล

ศัพท์ทเ่ี กย่ี วข้องกบั ฐานข้อมูล

 เอนทติ ี้ (Entity) ใชแ้ ทนความจริงเก่ียวกบั ส่ิงต่าง ๆ ซ่ึงไมข่ ้ึนอยกู่ บั ความเป็นอยู่ อาจบอกเก่ียวกบั ความเป็นอยู่
ทางกายภาพ เช่น เกี่ยวกบั บุคคล รถยนต์ บา้ น หรือลูกคา้ หรืออาจบอกเก่ียวกบั ความสมั พนั ธภ์ ายในหน่วยงาน
หรือวชิ าเรียน

 แอททริบิวต์ (Attibute) หมายถึง รายละเอียดของขอ้ มลู ในเอนทิต้ี เช่น เอนทิต้ีนกั ศึกษา ประกอบดว้ ย แอททริ
บิวตร์ หสั นกั ศึกษา ช่ือ สกลุ โปรแกรมวชิ า คณะ หรือแอนทิต้ี พนกั งาน ประกอบดว้ ยแอททริบิวตร์ หสั พนกั งาน
ช่ือ เงินเดือน เป็นตน้

 คาร์ดนิ าลลติ ี้ (Cardinality) หมายถึง จานวนแถวของขอ้ มูลในแต่ละรีเลชน่ั
 ดรรชนีหลกั (Primary Key) หมายถึง แอททริบิวตท์ ่ีมีค่าของขอ้ มลู เฉพาะเจาะจง และจะเป็นค่าท่ีไมซ่ ้ากบั ทูเพิล
 โดเมน (Domain) หมายถึง ขอบเขตคา่ ของขอ้ มูลท่ีควรจะเป็นในแตล่ ะแอททริบิวต์

รูปแบบของฐานข้อมูล

 แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. ฐานขอ้ มูลแบบเครือข่าย (Network Database)
2. ฐานขอ้ มลู แบบเชิงลาดบั ข้นั (Hierarchical Database)
3. ฐานขอ้ มลู เชิงสมั พนั ธ์ (Relational Database)

ประโยชน์ของฐานข้อมูล

 ลดการเกบ็ ขอ้ มลู ท่ีซ้าซอ้ น
 รักษาความถูกตอ้ งของขอ้ มลู
 การป้ องกนั และรักษาความปลอดภยั ใหก้ บั ขอ้ มูลทาไดอ้ ยา่ งสะดวก
 สามารถใชข้ อ้ มูลร่วมกนั ได้
 มีความเป็นอิสระของขอ้ มลู
 สามารถขยายงานไดง้ ่าย
 ใหข้ อ้ มลู บรู ณะกลบั สู่สภาพปกติไดเ้ ร็วและมีมาตรฐาน

ข้อดขี องฐานข้อมูล

 1. ความเป็นอิสระของโปรแกรมและขอ้ มูล(Program-Data Independence)
 2. ลดความซ้าซอ้ นในขอ้ มลู (Minimal Data Redundancy)
 3. ความคงท่ีของขอ้ มลู (Improved Data Consistency)
 4. การใชข้ อ้ มลู ร่วมกนั (Improved Data Sharing)
 5. เพ่ิมคุณประโยชน์ในการพฒั นาระบบ ( Increased Productivity of Application

Development)
 6. ความเป็นมาตราฐานเดียวกนั (Enforcement of Standard)
 7. ขอ้ มลู มีคุณภาพมากข้ึน (Improved Data Quality)
 8. การเขา้ ถึงขอ้ มลู และการตอบรับขอ้ มลู มีทิศทางที่ดีข้ึน (Improved Data Accessibility

and Development)
 9. ลดข้นั ตอนการบารุงรักษาโปรแกรม ( Reduced Program Maintenance)

ข้อดขี องการมีระบบฐานข้อมูล

1. หลกี เลยี่ งความขดั แย้งของข้อมูลได้

ขอ้ มูลพนกั งาน เม่ือขอ้ มลู พนกั งาน ทะเบียนประวตั ิ
เปล่ียนไปจะทาให้ พนกั งาน
ฐานขอ้ มลู พนกั งาน
ระบบเงินเดือน
ขอ้ มูลพนกั งาน เกิดความขดั แยง้ ฐานขอ้ มูล พนกั งาน
พนกั งาน
ของขอ้ มลู

ฐานขอ้ มลู เงินเดือน

การทางานแบบแฟ้ มขอ้ มลู การทางานแบบฐานขอ้ มลู

26

ข้อดขี องการมีระบบฐานข้อมูล

2. สามารถใช้ข้อมูลร่วมกนั ได้

ระบบทะเบียนประวตั ิพนกั งาน

- ฐานขอ้ มลู พนกั งาน ระบบวางแผนงาน
- ฐานขอ้ มลู งานของบริษทั ระบบเงินเดือนพนกั งาน

-ฐานขอ้ มูลดา้ นบญั ชี

27

ข้อดขี องการมรี ะบบฐานข้อมูล

3. ลดความซ้าซ้อนของข้อมูลได้

ขอ้ มูลพนกั งาน ขอ้ มูลพนกั งาน ทะเบียนประวตั ิ
มีความซ้าซอ้ นกนั พนกั งาน
ฐานขอ้ มูลพนกั งาน
ระบบเงินเดือน
ขอ้ มลู พนกั งาน ฐานขอ้ มูล พนกั งาน
ฐานขอ้ มลู เงินเดือน พนกั งาน

การทางานแบบแฟ้ มขอ้ มลู การทางานแบบฐานขอ้ มลู

28

ข้อดขี องการมีระบบฐานข้อมูล

4. รักษาความถูกต้องและความเชื่อถือได้ของข้อมูล

ระบบทะเบียนประวตั ิพนกั งาน

- ฐานขอ้ มลู พนกั งาน ระบบวางแผนงาน
- ฐานขอ้ มลู งานของบริษทั
ระบบเงินเดือนพนกั งาน
-ฐานขอ้ มลู ดา้ นบญั ชี
29

ข้อดขี องการมรี ะบบฐานข้อมูล

5. สามารถกาหนดความเป็ นมาตรฐานเดยี วกนั

- ฐานขอ้ มูลพนกั งาน ระบบทะเบียนประวตั ิพนกั งาน
- ฐานขอ้ มลู งานของบริษทั ระบบวางแผนงาน

-ฐานขอ้ มูลดา้ นบญั ชี ระบบเงินเดือนพนกั งาน
ใชม้ าตรฐานเดียวกนั

30

ข้อดขี องการมรี ะบบฐานข้อมูล

6. สามารถกาหนดระบบรักษาความปลอดภยั ได้

ผู้ไม่ได้รับอนุญาต

ฐานขอ้ มลู

ผใู้ ช้ 31

ข้อดขี องการมีระบบฐานข้อมูล

6. มคี วามเป็ นอสิ ระของข้อมูลและโปรแกรม

ระบบทะเบียนประวตั ิพนกั งาน

- ฐานขอ้ มูลพนกั งาน ระบบวางแผนงาน
- ฐานขอ้ มูลงานของบริษทั

-ฐานขอ้ มลู ดา้ นบญั ชี

ระบบเงินเดือนพนกั งาน

32

ข้อเสียของฐานข้อมูล

 1. มีความซบั ซอ้ น (more complex than file technology)
 2. มีขนาดใหญ่ (large size)
 3. การทางานชา้ (slow processing)
 4. ตน้ ทุนสูง (cost of DBMS)
 5. ตอ้ งใชผ้ เู้ ช่ียวชาญในการจดั การฐานขอ้ มลู (database specialist)
 6. ปัญหาจากการใชข้ อ้ มลู ร่วมกนั (problem of data sharing)
 7. ผลกระทบต่อความลม้ เหลวในขอ้ มลู (higher impact of a failure)
 8. การกรู้ ะบบเป็นไปค่อนขา้ งยาก ( recovery more difficult)

ข้อเสียของการมรี ะบบฐานข้อมูล

1. มตี ้นทุนสูง

Hardware

Software บุคลากร

34

ข้อเสียของการมีระบบฐานข้อมูล

2. มคี วามซับซ้อน

System 1 ฐานขอ้ มูล

Program 1.1
System 2

Program 2.1

ID NAME ADDRESS Telephone
1 Somchai 15/548 01-9574126
2 Monton 17/54 02-985-6574
3 Ladawan 58/574 01-900-5742

35

ข้อเสียของการมีระบบฐานข้อมูล USER 1

3. เส่ียงต่อการหยุดชงกั ของระบบ USER 2

USER 4 USER 3

USER 5 ฐานขอ้ มลู 36
USER 6


Click to View FlipBook Version