The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

2559-คู่มือปฏิบัติงานกลุ่มงานนโยบายและแผนปี2559

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chatreewr, 2019-11-17 04:00:31

2559-คู่มือปฏิบัติงานกลุ่มงานนโยบายและแผนปี2559

2559-คู่มือปฏิบัติงานกลุ่มงานนโยบายและแผนปี2559

คำนำ

โรงเรียนวชั รวิทยา เปน็ สถานศกึ ษาขนาดใหญ่มีดาเนนิ การจดั การศึกษาเพอื่ พัฒนาผเู้ รียนตามมาตรฐาน
การศกึ ษา นโยบายและจุดเน้นของหนว่ ยงานตน้ สังกดั และของโรงเรียน ก้าวสู่ความเปน็ WorldClass Standard
School และประชาคมอาเซยี น (Association of South East Asian Nations : ASEAN) โรงเรยี นมคี ุณภาพ
นกั เรยี นไดร้ บั การพฒั นาและส่งเสรมิ ตาม ด้วยความร่วมมอื ของทุกฝา่ ยจงึ ทาใหโ้ รงเรียนประสพความสาเร็จเป็นที่
ปรากฏชัดอยา่ งในปัจจบุ นั ได้

กลุ่มงานนโยบายและแผนโรงเรยี นวชั รวิทยา ซึ่งประกอบดว้ ย งานแผนงาน งานประกนั คุณภาพการศึกษา
งานควบคมุ ภายใน งานสารสนเทศและงานโรงเรียนสจุ รติ ถอื เปน็ กลไกในการขับเคลื่อนการดาเนนิ งานของโรงเรียน
วชั รวิทยาใหเ้ ปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อยและมีการพฒั นาอย่างตอ่ เนือ่ งเอกสารฉบับนจี้ ะเปน็ แนวทางในการดาเนินงานและ
พฒั นางานของกลุ่มงานนโยบายและแผนตอ่ ไป

กลุม่ งานนโยบายและแผน
โรงเรยี นวัชรวทิ ยา

สำรบญั หน้า
1
สารสนเทศพ้ืนฐานของโรงเรียนวชั รวิทยา 6
กล่มุ งานนโยบายและแผน 6
งานแผนงาน 11
งานประกนั คุณภาพ 18
งานควบคมุ ภายใน 23
งานโรงเรยี นสุจรติ 31
งานสารสนเทศ

คมู่ อื กลุม่ งานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หนา้ 1

ขอ้ มูลสารสนเทศพ้ืนฐานของโรงเรียนวชั รวิทยา

โรงเรียนวัชรวิทยา อาเภอเมือง จังหวดั กาแพงเพชรเปน็ โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาสงั กดั สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา
มัธยมศกึ ษา เขต41 (กาแพงเพชร—พิจติ ร)กระทรวงศึกษาธิการ จัดการเรยี นการสอนแบบสหศึกษาโดยประกาศของ
กระทรวงศึกษาธกิ ารเรือ่ ง ตั้งโรงเรียนรฐั บาล กระทรวงศึกษาธิการไดป้ ระกาศจดั ต้ังข้ึนเม่ือวนั ที่ 26 เดอื นพฤษภาคม
พ.ศ. 2521 ในระยะแรกได้ใช้อาคารสถานท่ี ของโรงเรียนวดั คยู าง อาเภอเมืองกาแพงเพชร จงั หวดั กาแพงเพชร เปน็ สถาน
ท่เี รยี นโดยมี นายสมรวม พลู เขยี ว อาจารย์ใหญ่โรงเรยี นวัดคูยาง มารักษาการในตาแหนง่ ครใู หญ่โรงเรยี นวัชรวิทยาอีก
ตาแหน่งหน่ึง ได้รบั โอนนักเรียนมธั ยมศกึ ษามัธยมศึกษาจากโรงเรียนวัดคยู าง จานวนนกั เรยี น 580 คน ครู- อาจารย์ 17 คน
นกั การภารโรง 2 คน โรงเรยี นวัชรวิทยา ต้งั อยู่เลขที่ 93 ถนนเทศบาล 2 ตาบลในเมอื ง อาเภอเมือง จังหวดั กาแพงเพชร
หมายเลขโทรศพั ท์ 055 711 901 หมายเลขโทรสาร 055 716 817 เว็บไซต์ http://www.wr.ac.th
มเี น้ือท่ีทง้ั หมด 44 ไร่ 1 งาน 83 7/10 ตารางวา

โรงเรยี นวชั รวิทยา
เลขท่ี 93 ถนนเทศบาล 2
ตาบลในเมอื ง อาเภอเมอื ง
จังหวัดกาแพงเพชร 62000
หมายเลขโทรศัพท์ 055 711901
หมายเลขโทรสาร 055 716 817
เว็บไซต์ http://www.wr.ac.th

พ.ศ.2543 ไดร้ ับการคดั เลอื กเป็นศนู ย์ สอวน. จังหวัดกาแพงเพชร มหาวิทยาลัยนเรศวร
พ.ศ.2544 โรงเรยี นแกนนาปฏริ ปู การศึกษาดีเดน่ กรมสามญั ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ.2544 ได้รับการคดั เลอื กใหเ้ ปน็ โรงเรยี นนารอ่ งการใช้หลักสูตรการศึกษา ข้นั พื้นฐาน พ.ศ.2544 กรมวิชาการ ระทรวงศกึ ษาธกิ าร
พ.ศ.2545 โรงเรียนแกนนาปฏริ ปู การศึกษาดเี ดน่ กรมสามญั ศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร
พ.ศ.2545 ไดร้ ับคัดเลือกเป็นศูนยส์ ่งิ แวดลอ้ มศึกษา กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม
พ.ศ.2545 โครงการโรงเรยี นสขี าว ปลอดยาเสพตดิ จงั หวดั กาแพงเพชร ศูนย์ป้องกันและปราบปรามยาเสพตดิ จังหวดั กาแพงเพชร
พ.ศ.2546 รางวัลดเี ดน่ ระดบั เขตตรวจราชการ โครงการสานสายใยครแู ละศิษย์ เขตตรวจราชการท่ี 8 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พ.ศ.2546 ไดร้ ับโลร่ างวลั ชนะเลศิ สถานศกึ ษาเขม้ แขง็ เอาชนะยาเสพติดตามโครงการ “กาแพงเพชรนา่ อยเู่ ชิดชูคุณธรรม”
พ.ศ.2546 ไดร้ ับรางวัลโรงเรยี นพระราชทาน สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
พ.ศ.2546 ได้รบั โล่รางวลั ชนะเลิศการปฏบิ ัตติ ามยทุ ธศาสตร์พลังแผ่นดินขจดั ส้นิ ยาเสพตดิ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
พ.ศ.2546 โรงเรียนส่งเสริมสขุ ภาพดีเดน่ ด้านอนามัยและสิ่งแวดลอ้ ม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ
พ.ศ.2547 ไดร้ ับแต่งต้ังให้เปน็ โรงเรยี นต้นแบบ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
พ.ศ.2547 โรงเรยี นสองภาษา (English Program) สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
พ.ศ.2547 ไดผ้ า่ นการรบั รองมาตรฐานสุขานา่ ใชใ้ นโรงเรียนกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ.2548 โรงเรยี นสง่ เสรมิ สุขภาพเครอื ขา่ ย (ต้นแบบ) กระทรวงศึกษาธกิ าร
พ.ศ.2549 รางวลั การพฒั นาการจดั การคณุ ภาพเชิงระบบจนไดว้ ธิ ปี ฏิบัตทิ เี่ ป็นเลิศ (Best Practice) ในระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
พ.ศ.2551 การพฒั นาการจัดการคณุ ภาพเชิงระบบจนไดว้ ิธีปฏบิ ตั ทิ ีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) ในระบบการเรยี นรู้
พ.ศ.2551 โรงเรียนนารอ่ งหลกั สตู รแกนกลางกลดั สูตรการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ.2551
พ.ศ.2551 โรงเรยี นดใี กลบ้ า้ น ตน้ แบบในฝนั
พ.ศ.2553 โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวทิ ยา

คมู่ อื กลมุ่ งานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หนา้ 2

พระพทุ ธรปู ประจาโรงเรียน พระพุทธวิสุทธิโมลี ศรีวชั รินทร์

สญั ลกั ษณ์เปน็ รูปวชิราวธุ ล้อมรอบดว้ ยช่ือโรงเรียนและปรชั ญา ความหมายของตราประจาโรงเรยี น วชริ าวธุ คอื
อาวธุ ของพระอินทร์เป็นรูปตรสี ามงา่ มซึ่งแทนสายฟ้าฟาดบังเกิดเปน็ แสงสว่างอันเจิดจ้าเปรยี บเสมอื นความรู้คือแสง

สวา่ งแห่งปัญญา เราชาววัชรวิทยาจึงเป็นผ้มู ปี ญั ญาแขง็ แกร่งประดุจเพชร

“ สจฺจเว อมตาวาจา ”
ทางไปส่เู กยี รติศักด์ิอยู่ท่ีความซ่อื สัตยแ์ ละจริงใจต่อกัน

ดอกไม้ประจาโรงเรียน
ดอกเฟ่ืองฟ้า

ตน้ ไมป้ ระจาโรงเรียน
ต้นสัตตบรรณ
สีประจาโรงเรียน
ฟา้ - ชมพู

สฟี า้ เป็นสีประจาวันเกดิ ของโรงเรียน คอื วันศกุ ร์ ท่ี 26 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2521
หมายถึง ความร่มเย็น กวา้ งขวาง สูงสง่ และกว้างไกล

สชี มพู เป็นสคี ู่มิตรกบั สีฟ้า หมายถงึ ความรกั สุภาพ บริสุทธ์ิ และนุ่มนวล

คตพิ จน์
ชือ่ เสียงดี ดนตรดี ัง กีฬาเด่น เน้นความรู้ เชิดชูจริยะ

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวิทยา

คู่มอื กลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หน้า 3

วิสัยทศั น์
พัฒนาคุณภาพผู้เรยี น โดยการจัดการเรียนรู้ การบริหารจดั การด้วยระบบคุณภาพและ
ความร่วมมือของภาคีเครือข่าย

พันธกิจ
1. ส่งเสริมและพัฒนาผ้เู รยี นให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนมาตรฐานสากล
2. ส่งเสริมและพัฒนาครูใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานวชิ าชพี ครสู ู่มาตรฐานสากล
3. พัฒนาการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพเพื่อความเป็นเลศิ โดยเน้นหลกั การกระจาย

อานาจส่กู ารเปน็ โรงเรยี นมาตรฐานสากล
4. ส่งเสรมิ ให้ชุมชนมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา

เป้าประสงค์
1. นกั เรียนไดเ้ รียนรูอ้ ย่างมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของ สพฐ. และเกณฑโ์ รงเรยี น

มาตรฐานสากล
2. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาไดร้ ับการพัฒนาตามมาตรฐานวิชาชพี ครสู ู่มาตรฐานสากล
3. โรงเรียนบรหิ ารจัดการด้วยระบบคณุ ภาพ
4. สถานศกึ ษาเป็นทย่ี อมรับของชมุ ชน

กลยทุ ธ์
1. พฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐานโรงเรยี นมาตรฐานสากล
2. พฒั นาครแู ละบุคลากรทางศึกษา
3. การบริหารจัดการดว้ ยระบบคุณภาพ
4. การสง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วมของภาคเี ครือข่าย

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวิทยา

คู่มอื กลุม่ งานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หน้า 4

กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาผู้เรยี นใหม้ คี ุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรยี นมาตรฐานสากล

ลาดบั ที่ ชอื่ โครงการ หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ

1 โครงการสง่ เสรมิ สขุ ภาวะท่ีดีและความสามารถทางดา้ นกีฬา กลมุ่ ฯสขุ ศึกษา/งานพยาบาล

2 โครงการสง่ เสริมพฒั นาทางด้านดนตรี ศิลปะ และนาฏศลิ ป์ กลุ่มฯศิลปะ

3 โครงการพฒั นาผู้เรยี นให้มีทักษะในการแสวงหาความรูด้ ้วยตนเอง กลมุ่ ฯภาษาไทย/งานห้องสมดุ

รกั การเรียนรู้และพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเน่ือง /งานทศั นศึกษา

4 โครงการสง่ เสรมิ นสิ ัยรักการอ่าน กลุ่มฯภาษาไทย/งานหอ้ งสมดุ

5 โครงการสง่ เสริมการเรียนรู้ตามหลกั ของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง กลมุ่ ฯสังคมศึกษาฯ

6 โครงการพัฒนาความสามารถในการคดิ อยา่ งเป็นระบบ กลมุ่ ฯวิทยาศาสตร/์
คดิ สร้างสรรค์ ตดั สินใจ แก้ปัญหาอยา่ งมสี ติ สมเหตสุ มผล กลุม่ คณิตศาสตร์

7 โครงการส่งเสรมิ ทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถ กลุ่มฯการงานอาชีพ/

ทางานรว่ มกบั ผู้อ่ืนได้ และมีเจตคตทิ ่ีดีต่ออาชีพสจุ ริต งานแนะแนว

8 โครงการส่งเสริมพัฒนาการเรียนร้กู ารศึกษาด้วยตนเอง (IS) กลุ่มฯการงานอาชีพ

9 โครงการสง่ เสริมการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเพือ่ เตรยี มความ กล่มุ ฯภาษาตา่ งประเทศ

พร้อมส่ปู ระชาคมอาเซียน

10 โครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสตู รกระทรวงศึกษาธิการ โครงการสองภาษา

เปน็ ภาษาอังกฤษ (EP)

11 โครงการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนห้องเรียน E-SMAT หอ้ งเรียนพเิ ศษ E-SMAT

12 โครงการพัฒนาศักยภาพของผู้เรยี นห้องเรียน สสวท. ห้องเรยี นพเิ ศษ สสวท.

13 โครงการส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจนี เพื่อเตรยี ม โครงการภาษาจีน

ความพร้อมสปู่ ระชาคมอาเซยี น

14 โครงการส่งเสริมการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ห้องเรยี นพิเศษ HUP

เป็นภาษาองั กฤษ

15 โครงการสง่ เสรมิ ความเป็นเลิศทางด้านวชิ าการ บริหารงานวิชาการ

16 โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของกลุม่ สาระการเรยี นรู้ บริหารงานวิชาการ

17 โครงการส่งเสรมิ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรยี นวัชรวิทยา

คู่มือกลุ่มงานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หน้า 5

กลยุทธ์ที่ 2 พฒั นาครูและบุคลากรทางศึกษา

ลาดับที่ ชอ่ื โครงการ หน่วยงานรับผิดชอบ

1 โครงการสง่ เสริมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ บริหารงานวิชาการ/

ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง กลุ่มงานบุคลากร

2 โครงการพัฒนาครแู ละบุคลากร บรหิ ารงานบุคคล

กลยทุ ธท์ ่ี 3 การบรหิ ารจัดการดว้ ยระบบคณุ ภาพ

ลาดับที่ ชือ่ โครงการ หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ

1 โครงการพฒั นาระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน งานดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน

2 โครงการสถานศึกษาสีขาว งานยาเสพตดิ

3 โครงการสง่ เสรมิ ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม งานกิจกรรมพเิ ศษ

4 โครงการสง่ เสรมิ พัฒนาคณุ ธรรม และจรยิ ธรรม กลมุ่ งานกิจการนักเรยี น

5 โครงการปรบั ปรงุ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เพื่อ งานสือ่ เทคโนโลยี

การเรียนรู้

6 โครงการพัฒนาประสิทธภิ าพระบบบริหารงานโรงเรยี น บริหารงบประมาณ

7 โครงการส่งเสรมิ พัฒนาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา กลมุ่ งานนโยบายและแผน

8 โครงการพัฒนาสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผเู้ รยี น บริหารงานทั่วไป

พฒั นาเต็มศกั ยภาพ

9 โครงการพฒั นาแหล่งเรียนรภู้ ายในสถานศึกษา บรหิ ารงานท่ัวไป

10 โครงการพัฒนาหลักสตู ร สถานศกึ ษา กระบวนการเรยี นรู้ บรหิ ารงานวิชาการ

11 โครงการส่งเสรมิ การดาเนินงานตามมาตรฐานโรงเรียนสุจรติ กลุ่มงานนโยบายและแผน

กลยุทธ์ท่ี 4 การส่งเสริมการมสี ว่ นรว่ มของภาคีเครือข่าย

ลาดบั ท่ี ชอ่ื โครงการ หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ

1 โครงการสง่ เสริมการมีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษาของผู้มีสว่ นได้ บริหารงานบคุ คล
สว่ นเสยี

กลุม่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวิทยา

คมู่ ือกลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หนา้ 6

งานแผนงาน

งานแผนงาน คือ สงิ่ ทีแ่ สดงถึงความตง้ั ใจล่วงหน้าทจี่ ะดาเนินการ
ใดๆ ภายในระยะเวลาหนึ่งเพื่อใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงคท์ ี่วางไว้ ผลท่เี กดิ จาก
การวางแผนส่วนหน่งึ จะปรากฏในเอกสารเพอ่ื ใช้เป็นหลักฐานการตดั สนิ ใจ
ด้านการศึกษา

การวางแผน หมายถงึ การกาหนดความตอ้ งการวธิ กี ารดาเนินการ
และผลทค่ี าดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยใชห้ ลกั วิชา เหตผุ ล มขี อ้ มลู
ประกอบมีการนาเสนอปัญหา เพอื่ ขจดั อปุ สรรคทจ่ี ะเกิดกับเป้าหมาย
ขา้ งหนา้ ทาให้ผู้ปฏิบัติรวู้ ่าจะทาอะไร ทไี่ หน เมอ่ื ใดกบั ใคร ทาอยา่ งไร และทาเพื่ออะไรอยา่ ง
ชดั เจน ซง่ึ จะนาไปสู่การปฏบิ ตั ิงานอย่างถูกต้องและบรรลุวตั ถุประสงค์ การวางแผนที่ดมี คี วามสาคัญอยา่ งย่ิงต่อ
ความสาเร็จตามวัตถปุ ระสงค์ขององค์กร เช่น การทางานเกิดการประสานกัน เกิดการประหยัด การบรหิ ารทั้ง
คน เงนิ วสั ดุ การปฏิบตั งิ านมีความสาเรจ็ อย่างรวดเรว็ และมีประสิทธภิ าพเป็นการกระจายงานส่คู นร่วมคดิ
รว่ มทา รว่ มรบั ผิดชอบ ทาใหท้ ราบถึงปญั หาการดาเนินการและสามารถดาเนินการแก้ไขปัญหาได้ทันต่อเหตุการณ์

แนวทางบริหารงานนโยบายและแผน
1.การวางแผนพฒั นาโรงเรยี น
การกาหนดทิศทางการพัฒนาโรงเรียน, วิเคราะหส์ ภาพปจั จุบนั ปญั หาของโรงเรียน, กาหนดวิสัยทัศน์

พนั ธกจิ และเป้าหมายของโรงเรยี น, การมีส่วนร่วมเกดิ การกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกจิ และเป้าประสงค์,จดั ทา
แผนพฒั นาคุณภาพการการจัดการศึกษาระยะ 4 ปี และจดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ ารโรงเรียน

2.การจัดองคก์ ร
จัดทาแผนภูมบิ ริหารโรงเรยี น, การกาหนดหน้าทคี่ วามรับผดิ ชอบและมอบหมายงาน

3.การจดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
การดาเนนิ งานด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ, การพัฒนาระบบสารสนเทศ, การจัดระบบและพฒั นา

เว็บไซตโ์ รงเรียน
4.การจดั ระบบประกนั คณุ ภาพภายใน
แตง่ ต้ังคณะกรรมการรบั ผดิ ชอบและมีแผนการดาเนนิ งาน, จัดทามาตรฐานคณุ ภาพระดับโรงเรยี น

สอดคล้องมาตรฐานของหน่วยงาน, พฒั นาสูม่ าตรฐานและประเมินผล
5.การคานวณตน้ ทุนผลผลติ
มีการคานวณตน้ ทนุ ผลผลิต แต่งต้งั ผรู้ บั ผดิ ชอบ นาเทคโนโลยมี าใชใ้ นการคานวณตน้ ทนุ ผลผลติ

วิเคราะหค์ วามคุ้มค่าและนาไปปรบั ปรงุ พฒั นา
6.การควบคุมภายใน
จัดระบบควบคมุ ภายในแต่งตงั้ กรรมการ ดาเนินการควบคมุ ตามหลักเกณฑ์ มีหลกั ฐานให้ตรวจสอบได้
7.การประเมนิ ผลการดาเนนิ งานแผนงานและประกนั
มีการประเมนิ ผลการดาเนินงานแผนงานและประกันคุณภาพโดยมีหลักฐานตรวจสอบได้ นาผล

การวิเคราะห์ไปใชป้ รบั ปรงุ พัฒนาการดาเนินงานแผนงานและประกันคุณภาพ

8.แผนงานโรงเรียนมาตรฐานสากล
ศึกษากรอบงาน จัดทาแผน นาเข้าส่แู ผนปฏบิ ตั กิ ารโรงเรียนสรรหาบุคลากรชาวต่างชาติเพอ่ื สู่

การปฏบิ ตั กิ ารสอนตามโครงการตดิ ตามผลและประเมนิ ผลรายภาคเรยี น

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวิทยา

คู่มือกลุ่มงานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หนา้ 7

หน้าทีร่ ับผิดชอบดังนี้
จัดทาแผนกลยุทธแ์ ละแผนพัฒนาคุณภาพโรงเรยี น เพอ่ื ให้โรงเรยี นดาเนนิ กิจกรรมต่างๆ สนองตอบความ

ตอ้ งการของนกั เรยี น ผปู้ กครอง ครู และชมุ ชน จดั ทาแผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา 4 ปี เพื่อวางเปา้ หมาย
การดาเนินงานของโรงเรยี นเป็นระยะและจัดทาแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี งบประมาณ เพ่อื ใหก้ ารใชเ้ งนิ งบประมาณ
และนอกงบประมาณเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ตรวจสอบติดตาม การดาเนินงาน/
โครงการ / กจิ กรรม ใหเ้ ปน็ ไปตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ ดาเนนิ การเก่ียวกบั การประกนั คุณภาพใน
โรงเรยี นตามโครงการพัฒนาเชงิ ระบบเพ่ือปฏิรูปการเรยี นรู้และคุณภาพของโรงเรยี นโดยเน้นกระบวนการPDCA
P( วางระบบ) D (ทาตามระบบ) C (การตรวจสอบติดตาม) A ( ปรบั ปรุงแก้ไข) สรา้ งความเขา้ ใจ ปรบั ปรงุ แนวทาง
การประเมนิ มาตรฐานอยา่ งต่อเนื่องมปี ระสิทธภิ าพ เพอื่ นาไปส่กู ารพฒั นาผลสัมฤทธอิ์ ย่างย่งั ยืนในทกุ ระบบตาม
มาตรฐานของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน มาตรฐานสมศ. มาตรฐานโรงเรียนมาตรฐานสากล
จดั ระบบฐานข้อมลู โรงเรียนเพ่ือใช้ในการบรหิ ารจัดการ การนาเสนอ เผยแพรต่ ่อสารธารณชนและนาผลมาพฒั นา
ปรบั ปรงุ ระบบข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียนในทุกๆด้านและมีความสมบรู ณ์ และเปน็ ปัจจบุ ัน คานวณต้นทนุ ผลผลิต
ของงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผนฏบิ ตั งิ านท่ีกาหนดใหม้ ีผลสัมฤทธ์ิเกิดประสิทธภิ าพสูงสดุ และคุ้มค่าแห่งการลงทุน
มผี ลแห่งกาไรให้มากท่ีสุด รายงานผลการดาเนินงานต่อคณะครู นกั เรยี น ชมุ ชน คณะกรรมการสถานศึกษาและ

สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและหน่วยงานท่ีเกยี่ วขอ้ งต่อไป

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวทิ ยา

คมู่ ือกลุ่มงานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หน้า 8

การกาหนดกลยทุ ธ์

ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวง

ยทุ ธศาสตร์ สพฐ.
ยทุ ธศาสตร์ สพท.

กลยทุ ธ์ รร.

การจัดทาแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา

1.วิเคราะหส์ ภาพปัญหา / แผนปฏิบตั ิการประจาปี
2.กาหนดวิสัยทัศน์ พนั ธกจิ เป้าหมาย
3.กาหนดวิธีการดาเนินงาน

4.เสาะหาและประสานสัมพนั ธ์กบั แหลง่ วทิ ยากรภายนอก

5.กาหนดบทบาทหน้าท่ีใหบ้ คุ ลากร
6.กาหนดบทบาทหนา้ ที่ผปู้ กครองและชมุ ชน

7.การใชง้ บประมาณ และทรพั ยากร
8.ประเมินผลและนาผลไปใช้ในการพฒั นา

กลFุ่มlงoานwนโยCบาhยแaลrะtแผรนะโบรงบเรียยนุทวชั ธรวศิทายาสตร์ งานแผนงานโรงเรียนวชั รวิทยา

คมู่ ือกลุ่มงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หนา้ 9

ศกึ ษาวเิ คราะห์
สภาพปัจจุบนั ของ
กาหนด วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ
จัดทาแผนปฏบิ ัติการ
ปฏบิ ตั งิ านตามแผน

นิเทศติดตามประเมินผล

บรรลวุ ัตถุประสงค์ No ปรับปรุง / แกไ้ ขวิธกี าร
หรอื ไม่ ดาเนนิ งาน

Yes

ปฏบิ ตั งิ านตามแผน (ต่อ)

สรุป/รายงานผลการ
ดาเนนิ งาน

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวิทยา

คูม่ ือกล่มุ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หน้า 10

ข้ันตอนการดาเนินการงานแผนงานโรงเรยี นวชั รวิทยา

การเสนอโครงการ/กจิ กรรมของบประมาณในแผนปฏิบัติการประจาปี (กันยายน )
1. วิเคราะห์ความสอดคล้องของโครงการ/กิจกรรมกับมาตรฐานการศึกษา(สพฐ./สพม.41/ร.ร.)/นโยบาย/จดุ เน้น/

โครงการพิเศษทโี่ รงเรยี นเข้าร่วม
2. รบั แบบประมาณการจดั ซ้อื /จัดจา้ งทงี่ านแผนงาน / E-mail. ครูทุกท่าน
3. ครูผรู้ ับผดิ ชอบกิจกรรมสง่ แบบประมาณการจัดซ้ือ/จดั จา้ งทีต่ ามสายงานโครงสรา้ งการบรหิ าร
4. หวั หนา้ กลมุ่ งาน 8 กล่มุ งาน/หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ/หวั หน้าโครงการพิเศษ สง่ แบบสรุปงบประมาณ และ

แบบประมาณการจดั ซ้ือ/จดั จ้าง ภายในวนั ที่ทีก่ าหนด
5. งานแผนงานเสนอคณะกรรมการพิจารณาอนุมตั งิ บประมาณ
6. งานแผนงานแจง้ ผลการอนุมัติ ( ตลุ าคม : วันประชุมเตรียมการ)
7. ครูผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ/กจิ กรรมที่ไดร้ ับการอนุมตั เิ ขยี นโครงการ/กิจกรรมฉบับสมบูรณ์

ส่งงานแผนงานเพ่ือจัดทาแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี

การขอจัดซ้ือ/จัดจ้าง ( 1 ตุลาคม – 30 กนั ยายน )

1. รบั แบบบันทกึ ขอ้ ความขอจดั ซื้อ/จัดจ้าง (ห้องงบประมาณ / ห้องแผนงาน)
2. ส่งแบบบนั ทึกข้อความขอจัดซ้อื /จดั จ้าง ที่งานแผนงาน
3. งานแผนงานเสนอผู้อานวยการโรงเรียนพิจารณาอนุมัติ
4. งานแผนงานแจง้ ผลการอนุมัติ (สาเนาแบบบันทึกขอจัดซ้อื /จัดจา้ ง)
5. ดาเนินการจัดซื้อ/จดั จา้ งตามผลการอนมุ ัติ
6. ส่งใบเสรจ็ รบั เงิน หรือ ใบสง่ ของ หรือ ใบสาคัญรับเงนิ ที่งานพสั ดุ – การเงนิ

เพอื่ ดาเนนิ การเบิกจ่ายต่อไป

การรายงานผลโครงการ/กิจกรรม ( 30 วันหลังจากเสรจ็ ส้นิ โครงการ/กิจกรรม)
เม่ือดาเนนิ การตามโครงการ / กิจกรรม เรยี บรอ้ ยแล้ว ดาเนินการดงั น้ี

1. รบั แบบรายงานผลโครงการ/กิจกรรม ท่ีห้องแผนงาน หรือ E-mail
2. ส่งแบบรายงานผลโครงการ/กิจกรรมที่งานแผนงาน
3. งานแผนงานเสนอผู้อานวยการโรงเรยี น
4. งานแผนงานสรุปภาพรวมโครงการและแจง้ ผลใหง้ านประกันคณุ ภาพการศึกษา

เพื่อประกอบการจัดทารายงานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ประจาปี (SAR)
5. งานแผนงานรายงานผลการดาเนินงานโครงการต่อผู้อานวยการโรงเรียน
6. โรงเรียนเสนอรายงานตอ่ ท่ปี ระชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวิทยา

คมู่ อื กลุม่ งานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หน้า 11

งานประกันคณุ ภาพการศึกษา

ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ตามกฎกระทรวง พ.ศ.2553
พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2545

ได้กาหนดจดุ มงุ่ หมาย และหลักการของการจดั การศกึ ษา ทตี่ ้องมงุ่ เน้นคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษา โดยกาหนดรายละเอียดไวใ้ นหมวด 6 มาตรฐานและการประกนั คุณภาพ
การศกึ ษา มาตรา 47 กาหนดใหม้ ีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพอื่ พฒั นาคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพ
ภายนอก และในวรรคสอง บัญญัตวิ า่ ระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารประกนั คุณภาพการศึกษา ให้เป็นไปตามท่ีกาหนด
ในกฎกระทรวงว่าดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารประกันคณุ ภาพการศึกษา ฉบบั ทผ่ี ่านมาเม่ือ พ.ศ. 2546 ได้
ยกเลิกไปเมื่อประกาศกฎกระทรวง วา่ ด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ ีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 จึงสรปุ
สาระสาคญั ที่กาหนดไว้ในกฎกระทรวงดังกล่าวเพ่ือหนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวข้องโดยเฉพาะในระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานได้
ทราบดงั นี้

กฎกระทรวง ว่าดว้ ยระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธีการ ประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 มี 3 หมวด
หมวด 1 บททั่วไป ว่าดว้ ยระบบประกันภายใน ประกอบด้วยการประเมินคุณภาพภายใน การตดิ ตาม
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา การพฒั นาคุณภาพการศึกษา และระบบประกนั ภายนอก ประกอบด้วยการประเมนิ
คณุ ภาพภายนอก การตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา นอกจากน้ีกก็ าหนดให้สถานศึกษาดาเนินการประกันคุณ
ภาภายในต่อเนอื่ งเปน็ ประจาทกุ ปโี ดยเน้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั และ การมีส่วนร่วม ใหส้ ถานศึกษามีหน้าที่จัดทารายงา
ประจาปีทีเ่ ปน็ รายงานการประเมินคุณภาพภายในเสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษา และหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้องและ
เปดิ เผยรายงานต่อสาธารณาชน รวมท้ังสถานศึกษาต้องนาผลการประเมินทงั้ ในและนอกไปทาแผนพัฒนาคณุ ภาพ
ของสถานศกึ ษา

หมวด 2 การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ในท่ีนี้กล่าวเพียงส่วนที่ 1 ซึ่งใช้
บงั คับเฉพาะการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน โดยส่วนนี้กล่าวถงึ คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
ได้แก่ ส่วนประกอบของคณะกรรมการระดับกรม คุณสมบัติของคณะกรรมการ วาระการดารงตาแหน่ง การพ้นจาก
ตาแหน่ง รวมทั้งบทบาทหน้าท่ีสิ่งสาคัญในหมวดนี้คือสถานศึกษาต้องจัดระบบประกันคุณภาพตามหลักเกณฑ์และ
แนวปฏบิ ัตโิ ดยดาเนนิ การดังนี้

(1) กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
(2) จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษาทม่ี ุ่งคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
ของสถานศกึ ษา
(3) จัดระบบบรหิ ารและสารสนเทศ
(4) ดาเนินงานตามแผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา
(5) จัดให้มีการตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา
(6) จดั ใหม้ ีการประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
(7) จัดทารายงานประจาปที เี่ ปน็ รายงานประเมนิ คุณภาพภายใน
(8) จดั ใหม้ กี ารพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาอยา่ งต่อเนื่อง
การดาเนินการข้างต้นใหส้ ถานศกึ ษายดึ หลกั การมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้องทั้งภาครฐั และ
ภาคเอกชน โดยการส่งเสรมิ สนับสนนุ และกากบั ดูแลของหน่วยงานตน้ สงั กัด สาหรบั สถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานที่ไม่
สามารถปฏิบตั งิ านบางประการตามทกี่ าหนดได้ น้ัน หนว่ ยงานตน้ สงั กัดหรือสานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษา แลว้ แต่
กรณี ประกาศผ่อนผันการปฏิบัติและวางแนวทางในการประกันคุณภาพภายในให้เหมาะสมกับสภาพการจัดการศึกษา

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวทิ ยา

คู่มอื กลุ่มงานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หนา้ 12

ของสถานศึกษานัน้ แล้วรายงานให้รัฐมนตรที ราบ
การกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ต้องสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ เอกลกั ษณ์

ของสถานศึกษา และมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด และ
ต้องครอบคลมุ สาระการเรียนรู้ และกระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งคานึงถงึ ศักยภาพของผู้เรียน ชมุ ชน และท้องถน่ิ ดว้ ย

การจัดทาแผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา ใหด้ าเนนิ การดงั ต่อไปนี้
(1) ศึกษาสภาพปัญหาและความตอ้ งการทจ่ี าเป็นของสถานศกึ ษาอยา่ งเปน็ ระบบ
(2) กาหนดวิสัยทัศน์ พนั ธกจิ เป้าหมาย และความสาเร็จของการพฒั นาไวอ้ ยา่ งชัดเจน และเปน็ รปู ธรรม
(3) กาหนดวิธดี าเนินงานทีม่ หี ลกั วชิ า ผลการวจิ ยั หรือข้อมูลเชิงประจกั ษท์ ่ีอ้างองิ ได้ ให้ครอบคลุมการพฒั นา
หลกั สตู รสถานศึกษาดา้ นการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ กระบวนการเรยี นรู้ การส่งเสริมการเรยี นรู้ การวัดและ
ประเมนิ ผล การพัฒนาบคุ ลากร และการบริหารจัดการ เพ่ือนาไปส่มู าตรฐานการศกึ ษาท่ีกาหนด
(4) กาหนดแหลง่ วทิ ยาการภายนอกที่ให้การสนับสนนุ ทางวชิ าการ
(5) กาหนดบทบาทหนา้ ที่ใหบ้ ุคลากรของสถานศึกษาและผู้เรยี นรบั ผดิ ชอบและดาเนินงานตามท่ีกาหนดไว้
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
(6) กาหนดบทบาทหน้าทแ่ี ละแนวทางการมสี ่วนร่วมของบดิ า มารดา ผ้ปู กครอง และองค์กรชมุ ชน
(7) กาหนดการใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
(8) จดั ทาแผนปฏิบตั ิการประจาปี
หมวด 3 การประกนั คุณภาพภานอก จะครอบคลมุ หลักเกณฑ์ในเร่อื ง ดังตอ่ ไปนี้
(1) มาตรฐานทวี่ ่าด้วยผลการจดั การศกึ ษาในแตล่ ะระดบั และประเภทการศกึ ษา
(2) มาตรฐานทวี่ า่ ด้วยการบรหิ ารจัดการศึกษา
(3) มาตรฐานทว่ี า่ ด้วยการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รียนเปน็ สาคญั
4) มาตรฐานที่ว่าดว้ ยการประกนั คุณภาพภายใน
กรณีที่ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาไม่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน สมศ. แจง้ พรอ้ มแสดงเหตผุ ลใหต้ น้
สังกัดและสถานศึกษาทราบ เพ่อื ปรับปรุงแก้ไข โดยทาแผนพัฒนา และดาเนนิ การ เพ่อื ขอรับประเมนิ ใหม่ภายในสอง
ปีนบั แต่วันได้รบั แจง้ ผลคร้ังแรก ซ่ึงสถานศึกษาต้องเสนอแผนพัฒนาคุณภาพเพอ่ื สมศ.พิจารณาอนมุ ัตภิ ายในสามสิบ
วนั นับจากวนั แจ้งผลตามขา้ งตน้ กรณีไม่ดาเนินการ สมศ.รายงานตอ่ หนว่ ยงานตน้ สงั กัดของสถานศึกษานั้นเพอ่ื สัง่
การตอ่ ไป

ท่มี า: กฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ ีการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ.2553

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวัชรวิทยา

คูม่ ือกลุม่ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หน้า 13

Flowchart ขัน้ ตอนการดาเนินงานการประกันคุณภาพภายในโรงเรยี นวชั รวิทยา

ขนั้ เตรยี มการ/สร้างความตระหนัก/
แตง่ ต้งั คณะกรรมการ (P)

วางแผนการปฏบิ ัติงาน
กาหนดเปา้ หมาย/มาตรฐานการศกึ ษา (P)

ดาเนนิ การตามแผน (D)

ตรวจสอบประเมนิ ผล/เก็บข้อมลู (C)

ไมถ่ กู ต้อง/ไมค่ รบถ้วน

ถกู ตอ้ ง/ครบถ้วน ?

ถูกต้อง/ครบถ้วน

จดั ทารายงานประจาปี/
นาผลการประเมนิ มาปรับปรุงงาน (A)

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวทิ ยา

คมู่ ือกลุ่มงานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หน้า 14

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนวัชรวิทยา
โรงเรียนวชั รวทิ ยาไดจ้ ดั ใหม้ ีระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ประกอบดว้ ย การ

ดาเนนิ งานโดยยดึ หลกั การมีส่วนรว่ ม 8 ประการ ดงั นี้
1. กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
2. จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษาทีม่ ่งุ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
3. จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
4. ดาเนนิ งานตามแผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
5. จดั ใหม้ กี ารตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
6. จดั ให้มกี ารประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
7. จดั ทารายงานประจาปีทเ่ี ป็นรายงานประเมนิ คุณภาพภายใน
8. จัดใหม้ กี ารพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาอยา่ งต่อเนื่อง
1. การกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
โรงเรียนวชั รวทิ ยากาหนดมาตรฐานสถานศึกษาสอดคล้องกับมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ เอกลักษณ์ของ

สถานศกึ ษา และมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐานตามท่กี ระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด และ
ครอบคลุมสาระการเรยี นรู้ และกระบวนการเรียนรู้ รวมทัง้ คานึงถงึ ศักยภาพของผ้เู รยี น ชุมชน และท้องถน่ิ

2. การจัดทาแผนพัฒนาสถานศึกษาท่ีมุ่งเนน้ คณุ ภาพการศกึ ษา
โรงเรยี นวัชรวิทยามีการจดั ทาแผนพฒั นาสถานศกึ ษาท่มี ่งุ เน้นคุณภาพการศึกษา โดยมวี ธิ ีดาเนินการต่อไปน้ี
คอื
(1) ศกึ ษาสภาพปัญหาและความต้องการทจ่ี าเป็นของสถานศึกษาอย่างเปน็ ระบบ
(2) กาหนดวสิ ัยทัศน์ พันธกจิ เป้าหมาย และความสาเรจ็ ของการพฒั นาไว้อย่างชดั เจนและเปน็ รปู ธรรม
(3) กาหนดวิธีดาเนนิ งานทีม่ ีหลกั วิชา ผลการวจิ ยั หรอื ขอ้ มูลเชงิ ประจกั ษท์ ่ีอา้ งองิ ไดใ้ ห้ครอบคลุมการพัฒนา
หลกั สตู รสถานศกึ ษาดา้ นการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ กระบวนการเรียนร้กู ารส่งเสริมการเรียนรู้ การวัดและ
ประเมนิ ผล การพัฒนาบุคลากร และการบรหิ ารจัดการ เพ่ือนาไปสมู่ าตรฐานการศกึ ษาที่กาหนดไว้
(4) กาหนดแหลง่ วทิ ยาการภายนอกที่ให้การสนบั สนุนทางวชิ าการ
(5) กาหนดบทบาทหนา้ ที่ใหบ้ ุคลากรของสถานศึกษาและผู้เรยี นรับผดิ ชอบและดาเนนิ งานตามท่กี าหนดไว้
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
(6) กาหนดบทบาทหน้าที่และแนวทางการมีส่วนรว่ มของบิดา มารดา ผู้ปกครองและองค์กรชมุ ชน
(7) กาหนดการใชง้ บประมาณและทรัพยากรอย่างมีประสทิ ธภิ าพ
(8) จดั ทาแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี
3. การจดั ระบบบริหารและสารสนเทศ
โรงเรยี นวชั รวิทยามีการกาหนดโครงสรา้ งการบริหารจัดการทีเ่ อื้อตอ่ การพัฒนางาน และสรา้ งระบบการ
ประกนั คุณภาพภายใน มีคณะทางานทาหน้าที่ วางแผนตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพ และจัดทารายงานการพฒั นา
คณุ ภาพการศึกษาประจาปีของสถานศกึ ษา โดยแตง่ ตงั้ คณะทางานทม่ี ีตวั แทนบคุ ลากรจากหลายฝา่ ยมาร่วมคดิ รว่ ม
วางแผน และร่วมตดิ ตามตรวจสอบ เกบ็ ข้อมูล สาหรับการจดั ระบบสารสนเทศนัน้ โรงเรียนวัชรวทิ ยามีการจัดระบบ
สารสนเทศใหเ้ ป็นหมวดหมใู่ ห้ครอบคลุมและขอ้ มลู มคี วามสมบูรณ์ คน้ ไดง้ ่ายและสะดวกรวดเร็ว มกี ารนาขอ้ มูลมาใช้
ใหเ้ กิดประโยชนอ์ ยเู่ สมอ การจัดหมวดหมู่ ข้อมูลสารสนเทศ
4. ดาเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ในแผนพัฒนาสถานศกึ ษาที่มุ่งเน้นคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรยี นวชั รวิทยา มโี ครงการ / กจิ กรรม ท่ตี ้อง
ดาเนนิ งานใหบ้ รรลตุ ามวัตถุประสงค์ และเกิดผลสาเรจ็ ตามท่รี ะบุไว้ในตัวชี้วัดของโครงการการดาเนินงานตามแผนนนั้

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวิทยา

คมู่ อื กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หนา้ 15

โรงเรียนได้มรี ะบบการทางานทเ่ี น้นการมสี ว่ นรว่ ม โดยดาเนินการตามวงจรการพฒั นาคณุ ภาพ PDCA ของเดมมง่ิ
(Deming Cycle)

มาตรฐานและตวั บง่ ช้ีของโรงเรยี น - กระบวนการ
วางแผน (Plan) - วธิ ีการมาตรฐาน
- บันทกึ มาตรฐาน

ปรบั ปรงุ /พัฒนา (Act) ลงมือปฏิบัติ (Do)

ตรวจสอบ/ประเมิน สารสนเทศ
(Check) (ตวั ชว้ี ัด/เกณฑ์

โรงเรยี น)

นอกจากนี้ โรงเรียนมีการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพภายใน เกีย่ วกับเรือ่ งตอ่ ไปนี้ เพอ่ื ให้ก้าวทันสภาวการณ์
ปจั จบุ ันด้วย คือ

1) วิสยั ทศั น์ และภารกจิ ของสถานศกึ ษา เช่น วเิ คราะห์ดวู ่าวสิ ัยทศั น์ และภารกิจสอดคล้องกบั มาตรฐาน
การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน และสอดคล้องกับสภาวะปัจจุบันหรือไม่ ควรปรบั ปรงุ เปลยี่ นอะไรบ้าง จดั กิจกรรมอย่างไรจงึ จะ
เหมาะสม

2) แผนพัฒนาสถานศึกษา เช่น แผนพฒั นาสะท้อนความต้องการของชุมชนจรงิ หรอื ไม่ มกี ารรวบรวมและ
วเิ คราะหข์ ้อมลู ตลอดจนนาผลมาใช้ในการวางแผนครอบคลมุ ครบถ้วน กจิ กรรมตามแผนสมั พันธก์ ันและสอดรบั กบั
วสิ ัยทศั นแ์ ละเป้าหมาย แผนพัฒนาโดยรวมมีความชดั เจน เขา้ ใจง่าย และมีทิศทางการพัฒนาทช่ี ัดเจน

3) การพฒั นาหลักสตู รและกระบวนการเรียนรู้ เช่น บรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มสนับสนนุ การเรยี นรู้
สะทอ้ นความสาเรจ็ ของผู้เรยี น ครเู ลอื กใช้ยทุ ธศาสตร์การสอนหลากหลายและสอดคล้องกับความต้องการของผเู้ รียน
ครแู ละผเู้ รยี นมปี ฏสิ ัมพันธ์ทสี่ ง่ ผลตอ่ การเรยี นของผ้เู รยี น การจัดกระบวนการเรียนรู้ เนน้ ใหผ้ เู้ รียนไดม้ โี อกาสฝึก
แกป้ ัญหา ฝกึ การคิดสร้างสรรคท์ ีส่ มั พนั ธ์กับชีวติ จริง ตลอดจนพฒั นานิสยั รกั การเรยี น ผเู้ รียนกล้าคดิ กล้าแสดงออก
สถานศกึ ษามีกระบวนการพัฒนาหลักสูตรทสี่ อดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษาชาติและมาตรฐานการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน

4) ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของผเู้ รยี น เช่น ผู้เรยี นประสบความสาเรจ็ จากการเรยี นร้ทู ผี่ ู้สอนเปน็ ผู้จดั
กิจกรรมการเรียนการสอน ผลงานของผู้เรยี นมคี วามหมาย บ่งบอกถึงส่ิงท่ีผู้เรียนรู้เข้าใจ และทาได้ ผลงานแสดง
ความคิดสร้างสรรค์ และผู้เรียนได้มโี อกาสนาความรู้ไปใช้ ผสู้ อนใชว้ ธิ ีการประเมนิ ทห่ี ลากหลายและสอดคล้องกับ
สภาพจริง มกี ารเปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นและผปู้ กครองมสี ว่ นร่วมในการกาหนดเกณฑก์ ารประเมนิ สถานศกึ ษาจัดสงิ่
อานวยความสะดวกเพ่ือใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถทางานรว่ มกันได้อยา่ งดี

5) การพัฒนาองคก์ ร เน่ืองจากสถานศึกษาเป็นแหลง่ หรือศูนยก์ ารเรียนรทู้ ี่สาคญั ในชุมชน ฉะนัน้
นอกเหนือจากการบริหารจัดการดา้ นการพฒั นาหลกั สตู รและการเรียนการสอน การพฒั นาผู้สอนและอืน่ ๆ ที่

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวิทยา

คมู่ ือกลุ่มงานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หน้า 16

เกย่ี วขอ้ งแลว้ สถานศกึ ษาต้องมุ่งเนน้ การพฒั นาสถานศึกษาโดยเฉพาะห้องสมุดให้เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ของชุมชนได้เปน็
อย่างดี ดงั นน้ั ประเดน็ ในการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพภายใน จงึ วเิ คราะห์ดูว่า ผูบ้ ริหารอทุ ิศตนเพื่อองคก์ ร
เพือ่ นร่วมงาน และเพอ่ื การพัฒนาการศึกษาอยา่ งไร เป็นผู้นาในการสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้ และสามารถแนะนา
นวัตกรรมหรือแหลง่ นวัตกรรมสาหรับผ้สู อนได้ มกี ารประชมุ แลกเปลย่ี นความคิดเห็นและเปดิ โอกาสให้ ผู้สอน/
คณะทางานมีส่วนรว่ มในการตดั สนิ ใจในเชิงบริหาร มีการสรา้ งความสัมพันธท์ ี่ดีกบั ชมุ ชนและรว่ มกิจกรรมต่าง ๆ กับ
ชมุ ชน มกี ารรวบรวมแหล่งภูมิปัญญาชาวบ้าน และเชญิ ปราชญ์ชาวบ้านมาเป็นทปี่ รึกษา ให้ความรู้ มีการพบปะและ
เปล่ียนประสบการณ์กับสถานศึกษาอืน่ ๆ เพื่อเทียบเคียงการพฒั นา

6) การพฒั นาวชิ าชพี ครู เชน่ มีการใช้ แหล่งวทิ ยาการภายนอก (สถาบันอดุ มศึกษา องคก์ รธรุ กิจภาครัฐและ
เอกชน) ช่วยให้ครู เกดิ การเรียนรู้ มีการเปิดโอกาสใหค้ รแู ลกเปล่ียนประสบการณ์ และความคดิ ในการพัฒนาวิชาชีพ
ด้วยวิธีการต่างๆ สนบั สนุนให้ ครูมกี ารวิจยั คน้ ควา้ ความรู้ใหม่เก่ยี วกับการเรียนการสอนและการประเมินผล จดั หา
งบประมาณและสิง่ สนบั สนุน สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารสัมมนาหรือพัฒนาวิชาชีพในรปู แบบตา่ งๆ การตรวจสอบและทบทวน
คุณภาพภายในสถานศึกษาที่ดาเนินการอย่างจริงจัง ชว่ ยให้สถานศกึ ษามขี ้อมลู ถูกต้องและเพียงพอในการวางแผน
พฒั นาสถานศึกษาทเี่ น้นคุณภาพการศกึ ษาในรอบปีถดั ไป นอกจากน้ี ผลจากการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพ
ภายในสถานศกึ ษายังมีสว่ นช่วยกระตุ้นผ้ทู ีเ่ กี่ยวข้อง ทงั้ นกั การศกึ ษา ผูป้ กครอง และชมุ ชนใหต้ ระหนักถึงการกาหนด
นโยบายและทิศทางการพฒั นาการศึกษาในระดับท้องถน่ิ หรือระดบั ชาติ

6. จดั ให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
จากการตรวจสอบและทบทวนคณุ ภาพภายในสถานศึกษาดงั ได้กล่าวไวข้ ้างต้น โรงเรยี นจะมี ข้อมูล
สารสนเทศสาหรับประเมินคุณภาพการศกึ ษาตามมาตรฐานการศกึ ษาที่กาหนด การประเมนิ คุณภาพภายในของ
สถานศกึ ษา ครอบคลมุ มาตรฐานการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน และจดั ทารายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปตี ่อไป
7. จัดทารายงานประจาปีท่เี ปน็ รายงานประเมินคุณภาพภายใน
การจดั ทารายงานการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาประจาปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกดั หน่วยงานท่เี กย่ี วข้อง
และเปิดเผยต่อสาธารณชน และเพื่อรองรบั การประกันคุณภาพภายนอก การจัดทารายงานการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาประจาปีของสถานศึกษา มแี นวทางไว้จดั ทาโดยเสนอให้แบง่ รายงานเป็น 4 บท คอื
บทท่ี 1 สภาพทัว่ ไปของสถานศกึ ษา
บทที่ 2 แผนพฒั นาคุณภายการศกึ ษาประจาปี
บทท่ี 3 ผลการพฒั นาตามมาตรฐานการศึกษาที่กาหนดไว้ในแผนพัฒนาสถานศึกษา
บทที่ 4 สรปุ ผลการพัฒนาและการนาผลไปใช้
นอกจากน้ี โรงเรียนได้ระบุหลักฐานข้อมูลผลสมั ฤทธิ์ของการประเมินตามแผนพฒั นาคุณภาพสถานศึกษาไว้
ดว้ ยเม่ือจัดทารายงานการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาประจาปีเสร็จเรยี บร้อยแลว้ สถานศกึ ษา ส่งรายงานต่อสานักงาน
เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาต้นสงั กัดภายในเดอื นพฤษภาคมของทุก ๆ ปี และสง่ ให้สานักงานรบั รองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพสถานศึกษา (สมศ.) เฉพาะในปที ่ีเข้ารับการประเมินคณุ ภาพภายนอก
8. จัดให้มกี ารพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาอยา่ งต่อเน่ือง
ในการทาให้คณุ ภาพของสถานศกึ ษาดารงอยู่อย่างย่ังยนื น้ัน โรงเรียนตรวจสอบและทบทวนการดาเนินงาน
ตามโครงการ/กิจกรรม อยเู่ สมอ โครงการ/กิจกรรมทีท่ าต้องคุ้มคา่ และเกดิ ประโยชน์ สง่ ผลถงึ ผเู้ รียน การพิจารณา
โครงการ/กจิ กรรมทจี่ ะทาต่อไปหรือไม่นัน้ พิจารณาดงั น้ี
1. ถ้าเปน็ โครงการที่ดี สมควรดาเนินตอ่ ไปก็ดารงโครงการน้ันไว้
2. ถา้ เป็นโครงการที่ดี แตย่ ังดาเนนิ การไมส่ าเร็จหรอื ไม่บรรลเุ ปา้ หมายเพราะมจี ุดบกพร่อง ถา้ ปรบั ปรุงแก้ไข
สามารถบรรลุผลสาเร็จไดก้ ด็ าเนินการต่อไปและทาให้ดีย่ิงขึ้น
3. ถ้าเปน็ โครงการที่มีความก้าวหน้าในการดาเนนิ งานอยตู่ ลอดเวลา กพ็ ฒั นาดาเนนิ โครงการนั้นตอ่ ไปอยา่ ง

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวทิ ยา

ค่มู ือกลุม่ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หนา้ 17

ไม่หยุดย้ัง
4. หากมีเหตุการณห์ รอื สิ่งท่ีส่อเค้าวา่ จะเกิดปัญหาต้องหาทางป้องกันไวก้ ่อน ก็จาเป็นต้องจัดทาโครงการ

ใหม่ๆ ข้ึนเพ่ือป้องกนั ปัญหา
อยา่ งไรก็ตาม ในการทาใหค้ ณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งน้นั โรงเรียนคานึงถงึ สงิ่ ตอ่ ไปนี้
(1) สรา้ งจิตสานึกการพฒั นาใหเ้ กิดขึน้ ในหมู่ครแู ละบุคลากรทุกคนในโรงเรียน
(2) เนน้ ย้าหรือกาหนดเป็นนโยบายการทางานอยา่ งมรี ะบบ รวมทงั้ ต้องทางานอยา่ งมเี ป้าหมายทางานเป็น

หมู่คณะ และต้องทาอยา่ งต่อเน่อื ง
(3) พฒั นาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) การจะทาใหส้ ถานศึกษาเปน็

องค์กรแหง่ การเรียนรไู้ ด้ ต้องทาใหบ้ คุ ลากรทุกคนในสถานศกึ ษาเปน็ บุคคลแห่งการเรยี นรู้ คือรจู้ กั พฒั นาตนเอง ใฝ่รู้
หมัน่ แสวงหาความรอู้ ยู่เสมอ มกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ แบ่งปันความรู้กันตลอดเวลา เกดิ ทีมผูเ้ ชี่ยวชาญในเร่อื งต่างๆ
หลากหลายจนได้รับการยอมรบั จากผเู้ ก่ยี วข้อง มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และแลกเปลย่ี นความรกู้ บั องค์กรอื่นๆ
สถานศึกษากจ็ ะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรทู้ ม่ี ีความเคลื่อนไหวในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยู่ตลอดเวลา ผลผลติ
ขององค์กรแห่งการเรียนรู้ เห็นได้จาก

1) ผลสัมฤทธข์ิ องงานสงู ขึน้
2) เกดิ การพัฒนาคน
3) มีการพัฒนาความรู้

4) องคก์ รมีศักยภาพสูงข้ึน

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวิทยา

ค่มู อื กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หน้า 18

งานระบบควบคมุ ภายใน

การควบคุมภายใน หมายถงึ กระบวนการทผี่ ู้บริหารและบคุ ลากร
ของหนว่ ยงาน กาหนดใหม้ ีข้นึ เพื่อให้การดาเนนิ งานมีความมัน่ ใจว่าการ
ดาเนนิ งานโดยใชร้ ะบบการควบคมุ ภายในของหนว่ ยงาน จะทาให้หนว่ ยงาน
สามารถดาเนนิ งานบรรลุผลสาเรจ็ ตามวัตถุประสงค์ไดอ้ ยา่ งราบรน่ื ไม่เสี่ยงทจ่ี ะ
ก่อให้เกิดความผดิ พลาด อนั เปน็ เหตทุ ่จี ะทาให้เกดิ ความเสียหายหรือความ
สนิ้ เปลืองแก่หนว่ ยงาน

วัตถุประสงค์ของการจดั ให้มีระบบควบคุมภายใน
1.เพ่อื เพิม่ ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลของหนว่ ยงาน (Operation Objective ; O) ทาให้การดาเนนิ งาน

การใชท้ รพั ยากรของหนว่ ยงานเปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถลดความผิดพลาดในการดาเนนิ งาน ขจดั ความ
สิน้ เปลอื งทรพั ยากรท่ีอาจเกิดขน้ึ

2.ทาให้การจดั ทารายงานทางการเงิน (Financial Reporting Objective ; F) เป็นไปอย่างถูกต้อง โปร่งใส
ทันตอ่ เวลา และเชื่อถือได้

3.ทาใหก้ ฎหมาย ระเบยี บขอ้ บังคบั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง (Compliance Objective ; C) ได้มีการยึดถอื ปฏบิ ตั ิอย่าง

จริงจังและสม่าเสมอ

งานแผนงาน งานสารสนเทศ

งานควบคมุ ภายใน งานประกนั คุณภาพการศึกษา

ความสัมพนั ธข์ องงานในกล่มุ งานนโยบายและแผน

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวัชรวทิ ยา

คู่มือกลมุ่ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หนา้ 19

การดาเนินงานระบบควบคุมภายในโรงเรยี นวชั รวิทยา

ระบบควบคุมภายในโรงเรยี นวัชรวิทยาประกอบดว้ ยคณะกรรมการ จานวน 3 ชดุ ดงั นี้

คณะกรรมการหนว่ ยรับตรวจ

ประธานกรรมการ คอื ผอู้ านวยการโรงเรียน
คณะกรรมการ ประกอบด้วย รองผอู้ านวยการโรงเรยี น หวั หน้ากลุ่มงาน

หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ หัวหนา้ งานประกันคุณภาพ
และหัวหน้างานควบคุมภายใน

คณะกรรมการสว่ นงานย่อย
ประธานกรรมการ คอื รองผู้อานวยการโรงเรยี น / หวั หน้ากลุ่มงาน
คณะกรรมการ ประกอบด้วย หัวหนา้ งาน ครูและบุคลากรในกลุ่มงาน

คณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้

ประธานกรรมการ คอื หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณะกรรมการ ประกอบด้วย ครูในกลุม่ สาระการเรียนรู้

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวทิ ยา

คมู่ อื กลุม่ งานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หนา้ 20
แผนภูมิคณะกรรมการระบบควบคุมภายในโรงเรยี นวัชรวิทยา

กลุ่มบริหารงานงบประมาณ

หน่วยรับตรวจ กลุ่มบริหารงานวชิ าการ กลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย
กลุ่มบริหารงานทวั่ ไป กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
กลุ่มบริหารงานบคุ คล กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
กลมุ่ งานนโยบายและแผน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา

กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ

กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ

บทบาทหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการหน่วยรับตรวจ

ประธานคณะกรรมการ

1.นิเทศ กากบั ตดิ ตาม การทางานของคณะกรรมการ
2.ใหค้ าแนะนา ปรึกษาและแก้ปญั หาตา่ งๆ ท่ีเกดิ ข้ึนแก่คณะกรรมการ
3.ประเมินองค์ประกอบการควบคมุ ภายใน 5 องคป์ ระกอบ
4.ประชุมรว่ มกบั คณะกรรมการเพอ่ื จัดทา

4.1 แบบ ปอ.1 ทาหนงั สือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน
4.2 แบบ ปอ.2 ผลการประเมนิ องค์ประกอบของการควบคุม
4.3 แบบ ปอ.3 แผนการปรับปรงุ การควบคุมภายใน
4.4 การประเมนิ การควบคุมภายในด้วยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวทิ ยา

ค่มู ือกล่มุ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หนา้ 21

คณะกรรมการ

1.เขา้ ร่วมประชุมและนาข้อมูลปีงบประมาณทีผ่ า่ นมาจากแบบตดิ ตามแผนการปรบั ปรงุ การควบคมุ
ภายใน (แบบ ปอ.3) มาพิจารณาความเส่ยี งที่ยังมีอยู่

2.นารายงานผลการประเมนิ องค์ประกอบการควบคุมภายใน ( แบบ ปย.1 ) ของส่วนงานยอ่ ยทุกส่วนงาน
ย่อยมาสรุปลงใน แบบ ปอ.2

3.จดั ทาการประเมนิ การควบคุมภายในดว้ ยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)
4.นาความเสี่ยงที่พบจากการประเมนิ 5 องคป์ ระกอบผลการประเมนิ CSA และนารายงานการประเมนิ ผล
และการปรับปรุงการควบคมุ ภายใน(แบบ ปย.2)ของสว่ นงานยอ่ ยทุกสว่ นงานย่อยมาสรุปลงใน แบบ ปอ.3
5.สรุปผลการประเมินเพือ่ จดั ทาหนงั สือรับรองการประเมินผลการควบคมุ ภายใน (แบบ ปอ.1)

บทบาทหน้าทขี่ องคณะกรรมการส่วนงานยอ่ ย
ประธานคณะกรรมการ

1.นเิ ทศ กากับ ตดิ ตาม การทางานของคณะกรรมการ
2.ให้คาแนะนา ปรกึ ษาและแกป้ ัญหาต่างๆ ทเี่ กิดขึน้ แก่คณะกรรมการ
3.ประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบ
4.ประชมุ ร่วมกับคณะกรรมการเพ่ือจัด

4.1 แบบ ปย.1 รายงานผลการประเมนิ องค์ประกอบของการควบคมุ ภายใน
4.2 แบบ ปย.2 รายงานการประเมินผลและการปรบั ปรุงการควบคุมภายใน
4.3 การประเมนิ การควบคุมภายในดว้ ยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)

คณะกรรมการ

1.เขา้ รว่ มประชุมและนาข้อมูลปงี บประมาณที่ผ่านมาจากรายงานการประเมินผลและการปรับปรงุ
การควบคมุ ภายใน (แบบ ปย.2) มาติดตามผลการปฏิบัตงิ านแล้วสรปุ ลงในแบบติดตาม ปย.2

2.นาผลการประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน 5 องคป์ ระกอบภายในของสว่ นงานยอ่ ย ประเมนิ ผล
และสรปุ ลงใน แบบ ปย.1

3.จัดทาการประเมนิ การควบคมุ ภายในด้วยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)
4.นาความเสีย่ งที่ยงั หลงเหลืออยจู่ ากแบบตดิ ตาม ปย.2 ความเส่ียงจากการประเมิน 5 ประกอบและผลการ
ประเมิน CSA ประเมนิ ผลและสรุปลงใน แบบ ปย.2
5.จัดส่งแบบ ปย,1 และ แบบ ปย.2 ให้กับหวั หน้างานควบคุมภายใน เพื่อจัดเตรยี มขอ้ มูลให้กบั
คณะกรรมการหนว่ ยรับตรวจ

บทบาทหนา้ ทข่ี องคณะกรรมการกลุ่มสาระการเรยี นรู้
ประธานคณะกรรมการ

1.นิเทศ กากบั ติดตาม การทางานของคณะกรรมการ
2.ให้คาแนะนา ปรึกษาและแก้ปัญหาตา่ งๆ ทีเ่ กิดขนึ้ แก่คณะกรรมการ
3.ประเมินองคป์ ระกอบการควบคุมภายใน 5 องคป์ ระกอบ|

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวทิ ยา

คมู่ ือกล่มุ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หน้า 22

4.ประชุมร่วมกับคณะกรรมการเพอื่ จัด
4.1 แบบ ปย.1 รายงานผลการประเมนิ องค์ประกอบของการควบคุมภายใน
4.2 แบบ ปย.2 รายงานการประเมนิ ผลและการปรับปรงุ การควบคมุ ภายใน
4.3 การประเมนิ การควบคมุ ภายในด้วยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)

คณะกรรมการ

1.เขา้ รว่ มประชมุ และนาข้อมูลปีงบประมาณที่ผ่านมาจากรายงานการประเมินผลและการปรับปรุง
การควบคมุ ภายใน (แบบ ปย.2) มาติดตามผลการปฏิบัตงิ านแล้วสรปุ ลงในแบบตดิ ตาม ปย.2

2.นาผลการประเมนิ องคป์ ระกอบการควบคุมภายใน 5 องคป์ ระกอบ ภายในของกลุม่ สาระ
การเรยี นรู้ประเมินผลและสรุปลงใน แบบ ปย.1 |

3.จัดทาการประเมินการควบคมุ ภายในดว้ ยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)
4.นาความเสีย่ งทีย่ ังหลงเหลืออยจู่ ากแบบตดิ ตาม ปย.2 ความเสยี่ งจากการประเมิน 5 ประกอบและ
ผลการประเมนิ CSA ประเมินผลและสรุปลงใน แบบ ปย.2
5.จัดส่งแบบ ปย,1 และ แบบ ปย.2 ให้กบั หวั หน้างานควบคุมภายในเพ่ือจดั เตรยี มข้อมูลให้กบั
ส่วนงานย่อย (กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ) และคณะกรรมการหนว่ ยรับตรวจ

บทบาทหน้าที่ของผู้รับผดิ ชอบโครงการ/กิจกรรม

1.สรุปผลการดาเนินการโครงการ/กิจกรรม ตามแบบฟอร์มที่กาหนดให้
2.จดั ทาการประเมินการควบคมุ ภายในด้วยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)
กรณีท่ีมีความเสี่ยง
3.นาขอ้ มูลในข้อที่ 1 เข้าร่วมประเมนิ ผลการควบคมุ ภายในตามหนว่ ยงานท่ีสังกัด (กลุ่มสาระการเรียนรู้ หรอื
ส่วนงานยอ่ ย )

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวทิ ยา

คู่มอื กลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หน้า 23

งานโรงเรียนสจุ รติ

งานโรงเรียนสจุ ริต คือ งานทีด่ าเนินการโครงการเสรมิ สร้างคณุ ธรรม

จริยธรรมและธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา“ป้องกนั การทจุ ริต” (โครงการ

“โรงเรียนสุจรติ ”) โดยการปลูกฝังคณุ ธรรม จริยธรรม ใหย้ ดึ ถือประโยชน์ส่วนรวม

มากกวา่ ประโยชน์สว่ นตนใหเ้ กิดความเขม้ แข็งมากทสี่ ดุ เพราะเป็นอนาคตของชาติ ตามมาตรฐาน

การบริหารงานโรงเรยี น ทีใ่ ช้ในการบริหารงานภายในโรงเรียน เพ่ือให้การดาเนนิ งานมีประสทิ ธิภาพ โรงเรียนควรนา

หลักคณุ ธรรมจริยธรรม และธรรมาภบิ าล ตลอดจนคณุ ลักษณะนักเรียนของโรงเรียนสุจริตมาใชใ้ นการบรหิ ารงานให้

สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการโรงเรยี นสุจริตอันส่งผลให้นักเรียนเกิดคณุ ลักษณะ ๕ ประการของโรงเรยี น

สุจรติ ได้แก่

ทักษะกระบวนการคดิ มวี นิ ัย ซ่ือสตั ยส์ จุ ริต อยู่อยา่ งพอเพียง และจติ สาธารณะ
๑. ทักษะกระบวนการคดิ หมายถงึ กระบวนการทางสมองท่มี นุษย์ได้จดั การกบั ข้อมูลข่าวสาร ดว้ ยการจาแนก
แยกแยะ เปรยี บเทียบโดยใช้วิจารณญาณอยา่ งมีเหตุผล สามารถแก้ปญั หาไดอ้ ย่างสร้างสรรค์
เช่ือมโยงความสมั พันธข์ องข้อมลู โดยแสดงออกดว้ ยการพดู การเขียนหรือท่าทาง
๒. มีวินัย หมายถงึ พฤติกรรมของตนเองทีส่ ามารถควบคุมใหป้ ฏิบตั ติ ามระเบยี บ ข้อบงั คับ หนา้ ทที่ ่กี าหนด เพ่อื ให้อยู่
รว่ มกันในสังคมอยา่ งมีความสุข
๓. ซอื่ สัตย์สจุ ริต หมายถึงการประพฤติตนของบุคคลในทางท่ีถกู ต้อง ตรงไปตรงมา มีความเปน็ จรงิ ไม่คดโกง หรอื เอา
เปรียบผู้อ่ืนมีความซอื่ สัตยต์ ่อตนเอง ต่อหนา้ ทีต่ ่อครอบครัว ตอ่ สงั คมและต่อผู้อน่ื ทั้งทางกาย วาจา และใจ
๔. อย่อู ย่างพอเพียง หมายถงึ การดาเนนิ ชวี ิตอยู่ดว้ ยความพอประมาณ มเี หตุผลรอบคอบ มีคณุ ธรรม รวมถงึ ความ
จาเป็นทีจ่ ะต้องมีระบบภมู ิคุ้มกันในตัวท่ดี ีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อนั เกดิ จากการเปลีย่ นแปลงทงั้ ภายนอก
และภายใน จนสามารถปรับตัวเพ่ืออยู่ในสังคมได้อย่างมคี วามสุข
๕. จติ สาธารณะ หมายถงึ พฤตกิ รรมหรือการกระทาของบคุ คลที่มคี วามปรารถนาและตระหนักถึง
ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมดว้ ยการดูแลเอาใจใส่ และมีสว่ นรว่ มในการอาสาทาประโยชนเ์ พอื่ ส่วนรวมโดยไม่หวงั
ผลตอบแทน

มาตรฐานการบริหารงานโรงเรยี น ประกอบดว้ ย ๕ มาตรฐานการบรหิ ารงาน ดังน้ี
มาตรฐานที่ ๑. การบรหิ ารงานวชิ าการ หมายถึง การจดั การเรยี นร้กู ารส่งเสริมนักเรียนให้พัฒนาตนเองตาม
คุณลกั ษณะ ๕ ประการของโรงเรียนสจุ ริต โดยการจดั การเรียนรผู้ ่านส่อื นวตั กรรม แหล่งเรยี นรูอ้ ยา่ ง
หลากหลาย และประเมินผลนกั เรียนแลว้ นาผลการประเมินไปใชใ้ นการวจิ ยั เพ่ือแก้ปัญหาและพฒั นาพฤตกิ รรม
นกั เรียนให้มีคุณลักษณะ ๕ ประการของโรงเรยี นสจุ ริต พรอ้ มท้ังจัดใหม้ ีการนิเทศภายใน และให้บริการ
ดา้ นวชิ าการท้ังภายในและภายนอกโรงเรียน

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวทิ ยา

คมู่ อื กล่มุ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หนา้ 24

มาตรฐาน รายการตวั บ่งช้ี ประเด็นการพิจารณา
๑. การจดั การเรียนรู้
๑. การบริหารงาน ๑. การวางแผนการจดั การเรียนรู้และการวิเคราะห์ผูเ้ รยี นท่ี
วิชาการ สอดแทรก/บรู ณาการ คณุ ลักษณะ ๕ ประการของโรงเรียน
สุจริต
๒. การจัดกจิ กรรม ๒. ครมู ีการใช้แผนการจดั การเรยี นร้บู ูรณาการจัดการเรียนรู้
ส่งเสรมิ โครงการ บูรณาการเพอื่ พัฒนานักเรียนใหม้ ีคุณลกั ษณะ ๕ ประการของ
โรงเรียนสจุ ริต โรงเรียนสจุ ริตอยา่ งสม่าเสมอ
๓. ครูมกี ารใช้ส่อื /นวัตกรรม/แหล่งเรยี นรู้ ทหี่ ลากหลายและ
กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรยี นวัชรวิทยา ค้มุ ค่า
๔. ครูใชเ้ คร่ืองมือการวดั และประเมนิ ผลนักเรียนทหี่ ลากหลาย
และเหมาะสมตามคณุ ลกั ษณะ ๕ ประการของโรงเรียนสุจริต
อย่างเที่ยงตรง
๕. ประเมินผลนักเรียนตามคณุ ลกั ษณะ ๕ ประการของโรงเรยี น
สุจรติ อย่างเป็นธรรมและมีผลการประเมินในระดบั ดขี ้ึนไปสูง
กวา่ ร้อยละ ๘๐
๖. นักเรยี นจดั ทา่ โครงงาน/วธิ ีปฏิบัตทิ ี่เปน็ เลศิ (Best Practice)
ทสี่ อดคลอ้ งกบั คุณลกั ษณะ ๕ ประการของโรงเรียนสุจรติ
๗. ครจู ัดท่าวิธปี ฏบิ ตั ทิ ีเ่ ปน็ เลศิ (Best-Practice) และหรอื
งานวิจยั ทีส่ อดคล้องกับคุณลักษณะ ๕ ประการของโรงเรียน
สจุ ริต
๘. ผู้บรหิ ารจดั ท่าวิธปี ฏบิ ตั ทิ ่เี ปน็ เลศิ (Best Practice) และหรอื
งานวิจยั ทีส่ อดคลอ้ งกับคุณลกั ษณะ ๘ ประการของโรงเรยี น
สจุ ริต

๑. มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหน้ ักเรียน
มคี ณุ ลักษณะ ๕ ประการของโรงเรียนสุจรติ
๒. ครจู ดั กจิ กรรมตามแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ส่งเสรมิ
สนบั สนนุ ให้นักเรียนมีคุณลักษณะ ๕ ประการของโรงเรียน
สจุ ริตทง้ั ในและนอกเวลาเรยี น เช่น ค่ายเยาวชน, กจิ กรรมจติ
อาสา,กิจกรรมสภานกั เรียน ฯลฯ
๓. ครปู ฏิบตั ิตามระเบียบของทางราชการในการพานักเรียนไป
รว่ มกิจกรรมอย่างเครง่ ครัด
๔. นักเรยี นเข้ารว่ มกิจกรรมทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับคณุ ลกั ษณะ ๕
ประการของโรงเรียนสุจริตดว้ ยความสมัครใจ รอ้ ยละ ๘๐
ข้นึ ไป

คมู่ อื กลุม่ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หนา้ 25

มาตรฐาน รายการตัวบง่ ช้ี ประเด็นการพิจารณา
๕. สรปุ และรายงานผลการจัดกจิ กรรมที่เก่ียวขอ้ งกบั
๓. การนเิ ทศภายใน คุณลักษณะ ๕ ประการของโรงเรยี นสจุ ริตถกู ตอ้ งตามความ
เปน็ จริง
๔. การบริการ ๖. ครแู ละนกั เรียนกลา่ วคา่ ปฏญิ ญาโรงเรยี นสจุ ริตในกิจกรรม
ด้านวชิ าการ หนา้ เสาธงและกจิ กรรมต่างๆ อย่างสมา่ เสมอ

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวิทยา ๑. จัดทา่ แผนการนิเทศภายในทเี่ กี่ยวข้องกับการจดั การเรยี นรู้
และการจดั กิจกรรมต่างๆ ของโครงการโรงเรยี นสุจริต
๒. แต่งต้ังผ้รู ับผิดชอบในการนิเทศท่เี กีย่ วขอ้ งกบั การจัดการ
เรียนรู้และการจดั กจิ กรรมต่างๆ ของโครงการโรงเรียนสุจริตทมี่ ี
ความรู้ความสามารถและเปน็ ทยี่ อมรับ
๓. ทุกฝ่ายมสี ว่ นรว่ มในการกา่ หนดปฏทิ นิ และเครอื่ งมอื นิเทศ
การจดั การเรยี นร้แู ละจดั กจิ กรรมต่างๆ ของโครงการ
โรงเรียนสุจริต
๔. ด่าเนินการนิเทศตามปฏทิ นิ ที่ก่าหนดพร้อมทัง้ นเิ ทศจุดเนน้
คณุ ลกั ษณะท่ีตอ้ งปฏบิ ัตเิ ร่งดว่ นของผ้บู รหิ าร ครู นักเรยี น
โรงเรียนสุจรติ และให้ขอ้ มลู ย้อนกลบั (feed back) ตรงตาม
ความเปน็ จริง
๕. น่าผลการนเิ ทศมาวเิ คราะหแ์ ลกเปลี่ยนและสะท้อนผลการ
นเิ ทศตามความเปน็ จริงเพอ่ื ร่วมกนั หาวิธกี ารแก้ปญั หาหรือ
พฒั นานกั เรียนให้มีคุณลกั ษณะ ๕ ประการของ
โรงเรียนสจุ รติ ท่ดี ีทสี่ ุด ประหยดั และเกิดประโยชนส์ งู สุด

๑. มกี ารวางแผนการให้บรกิ ารดา้ นวชิ าการท่เี กยี่ วขอ้ งกบั การ
ดา่ เนินงานโครงการโรงเรียนสจุ ริตอย่างเป็นระบบ
๒. ใหบ้ ริการสื่อ/นวัตกรรม/แหลง่ เรียนรูท้ ี่เกีย่ วขอ้ งกบั การ
ดา่ เนินงานโครงการโรงเรียนสจุ รติ ด้วยความเสมอภาค
๓. บรกิ ารให้ค่าปรึกษาและแลกเปล่ียนองค์ความรู้การ
ด่าเนินงานโครงการโรงเรียนสจุ รติ ท้ังภายในและภายนอก
โรงเรียนด้วยความสมคั รใจ
๔. มีการเผยแพร่ ประชาสัมพันธผ์ ลการด่าเนินงานโครงการ
โรงเรียนสจุ รติ ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรียนดว้ ยวธิ ีการที่
หลากหลายและตอ่ เนือ่ ง
๕. สร้างเครอื ขา่ ยการบริการดา้ นวิชาการท่เี กี่ยวขอ้ งกบั การ
ดา่ เนนิ งานโครงการโรงเรยี นสจุ รติ

คู่มือกลุ่มงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หน้า 26

มาตรฐานที่ ๒. การบรหิ ารงานงบประมาณ หมายถงึ การดาเนินงานดา้ นการเงิน การบัญชแี ละพัสดุ ให้ถกู ต้องตาม
ระเบียบแบบแผนของทางราชการ อย่างมสี ่วนร่วม ประหยัด ค้มุ คา่ มคี วามโปรง่ ใสและตรวจสอบได้

มาตรฐาน รายการตวั บง่ ชี้ ประเดน็ การพจิ ารณา

๒. การบรหิ าร ๑. การวางแผนงบประมาณ ๑. ป.ป.ช. สพฐ. ชมุ ชน และ ป.ป.ช.สพฐ. นอ้ ย มสี ่วนรว่ มใน
งบประมาณ การวเิ คราะหส์ ภาพปจั จบุ นั ปญั หา และความตอ้ งการจา่ เป็นใน
การใชจ้ ่ายงบประมาณตามแผนงาน/โครงการของโรงเรยี น
๒. มแี ผนและปฏทิ นิ การใช้จา่ ยเงินงบประมาณของโรงเรยี น
อย่างประหยดั และคุ้มค่า
๓. มีหลกั เกณฑ์และขัน้ ตอนการปฏบิ ัติงานการใชจ้ า่ ย
งบประมาณทช่ี ัดเจนและเปิดเผยขอ้ มูลต่อสาธารณชนได้
๔. มกี ารพจิ ารณาคัดเลอื กผู้ทสี่ มคั รใจและ มีความเหมาะสม
เพ่ือแตง่ ตัง้ ให้รับผดิ ชอบงานการเงนิ การบัญชีและพัสดุของ
โรงเรยี น
๕. ป.ป.ช. สพฐ. ชุมชน และ ป.ป.ช.สพฐ. นอ้ ย มสี ่วนรว่ มใน
การจดั สรรงบประมาณในแตล่ ะแผนงาน/โครงการ อยา่ ง
เหมาะสม

๒. การใชจ้ ่าย ๑. มีการประชุมชแ้ี จงแนวทางการใชจ้ ่ายเงนิ งบประมาณให้
งบประมาณ บคุ ลากรและผ้ทู เ่ี ก่ยี วขอ้ งของโรงเรียนทราบ
๒. ผ้รู ับผิดชอบแตล่ ะโครงการ/กิจกรรมใชจ้ า่ ยงบประมาณตรง
ตามวตั ถปุ ระสงค์ด้วยความโปรง่ ใสและตรวจสอบได้
๓. ใช้จ่ายงบประมาณตามระยะเวลาทก่ี า่ หนด
๔. มีการใช้จ่ายงบประมาณอย่างประหยดั คมุ้ ค่า และเกดิ
ประโยชน์สงู สุด
๕. มีการเบกิ จา่ ยงบประมาณตามแผนการใช้จา่ ยงบประมาณ
ของโรงเรียนเปน็ ไปตามระเบยี บของทางราชการอย่างโปรง่ ใส
ตรวจสอบได้

๓. การตดิ ตาม ๑. แต่งต้ังคณะกรรมการกา่ กับ ติดตามและตรวจสอบการใช้
ผลการใช้จา่ ย จา่ ยงบประมาณของโรงเรยี น โดยมีตัวแทน ป.ป.ช.สพฐ. ชมุ ชน
งบประมาณ และ ป.ป.ช. สพฐ. นอ้ ยเข้ามามสี ว่ นร่วม
๒. มีการจดั ท่าปฏทิ นิ การก่ากับ ตดิ ตามและตรวจสอบการใช้
จ่ายงบประมาณของโรงเรยี น
๓. คณะกรรมการดา่ เนินการก่ากับตดิ ตาม และตรวจสอบการ
ใช้จา่ ยงบประมาณของโรงเรยี นอยา่ งถกู ต้องและเปน็ ธรรม
พรอ้ มให้ข้อมูลยอ้ นกลบั (feed back) ตามความเปน็ จรงิ

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวทิ ยา

คู่มอื กลมุ่ งานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หนา้ 27

มาตรฐาน รายการตวั บ่งชี้ ประเดน็ การพจิ ารณา

๒. การบรหิ าร ๓. การติดตาม ๔. คณะกรรมการบนั ทกึ ผลการก่ากบั ตดิ ตามตรวจสอบ และ
งบประมาณ ผลการใช้จา่ ย รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณของโรงเรียนต่อผ้บู งั คับบญั ชา
งบประมาณ ทุกครงั้
๕. โรงเรยี นรายงานผลการใช้จา่ ยงบประมาณแก่ผู้ที่เกี่ยวขอ้ ง

มาตรฐานท่ี ๓. การบรหิ ารงานบคุ คล หมายถงึ งานทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การดูแลอานวยความสะดวกให้กับบุคลากรใน
โรงเรียน สร้างขวัญกาลงั ใจดูแลการรักษาสิทธิประโยชนอ์ ันพึงมีพึงได้ของบุคลากร ดาเนินการจัด
กจิ กรรมสง่ เสรมิ และพฒั นาความรคู้ วามสามารถให้กบั บุคลากร

มาตรฐาน รายการตัวบง่ ช้ี ประเดน็ การพิจารณา

๓. การบรหิ ารงาน ๑. การพฒั นา ๑. มีแผนงาน / โครงการพฒั นาบุคลากรของโรงเรยี นเพ่อื สรา้ ง
บุคคล บุคลากร ความรู้ความเข้าใจ และตระหนกั ในการด่าเนินงานโครงการ
โรงเรียนสจุ รติ
๒. มกี ารสง่ เสริมให้บุคลากรทกุ คนไดร้ บั การพฒั นาและแสวงหา
ความรทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งกับการด่าเนนิ งานโครงการโรงเรยี นสจุ รติ
๓. สนับสนนุ งบประมาณใหบ้ คุ ลากรในการพัฒนาและแสวงหา
ความรู้ท่ีเกยี่ วข้องกบั การดา่ เนนิ โครงการโรงเรยี นสจุ ริตอยา่ ง
เหมาะสมและคุม้ ค่า
๔. สรุปและรายงานผลการพฒั นาบคุ ลากรของโครงการ
โรงเรียนสุจริตอยา่ งสม่าเสมอ
๕. มกี ารเผยแพร่ ประชาสัมพนั ธแ์ ลกเปลยี่ นเรยี นรู้ผลการ
ดา่ เนินงานการพัฒนาบุคลากรของโครงการโรงเรยี นสจุ รติ อยา่ ง
หลากหลายและตอ่ เนอ่ื ง

๒. การสรา้ งขวญั ก่าลงั ใจ ๑. ยกย่อง ชมเชยบุคลากรทเี่ ปน็ แบบอยา่ งตามคุณลักษณะ ๕
ประการของโรงเรียนสุจริต
๒. มอบรางวัล (โล่ / เกียรตบิ ัตร / อนื่ ๆ)ใหก้ ับบุคลากรท่ีเปน็
แบบอย่างตามคุณลกั ษณะ ๕ ประการของโรงเรียนสจุ รติ
๓. จัดสวัสดิการต่างๆ ใหก้ ับบคุ ลากรโรงเรยี นสจุ รติ
๔. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหบ้ ุคลากรนา่ ผลงานทเี่ กดิ จากการ
ด่าเนนิ งานโครงการโรงเรียนสจุ ริตไปใชใ้ นการพัฒนา
ความกา้ วหน้าในวิชาชพี
๕. เผยแพร่ ประชาสมั พันธ์ ผลงานความสา่ เรจ็ ทีเ่ กิดจากการ
ดา่ เนินงานโครงการโรงเรยี นสจุ ริต

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรยี นวัชรวิทยา

คู่มือกลุม่ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หน้า 28

มาตรฐานท่ี ๔. การบริหารงานทั่วไป หมายถึง การจดั บริการดา้ นอาคารสถานท่ีแกค่ รู นักเรยี นและชุมชน โดยจดั
บรรยากาศภายในโรงเรยี นให้สะอาด รม่ รืน่ สวยงาม ปลอดภยั พร้อมทั้งดูแล บารุงรักษา อาคารเรียน
อาคารประกอบ ห้องเรียน หอ้ งพเิ ศษต่างๆ ใหอ้ ยู่ในสภาพดพี ร้อมใชง้ านและเอ้ือต่อการเรยี นรู้

มาตรฐาน รายการตวั บง่ ช้ี ประเดน็ การพิจารณา
๔. การบรหิ าร ๑. การจัดบรรยากาศ
งานทวั่ ไป ภายในโรงเรียน ๑. ส่ารวจและวางแผนการพัฒนาปรบั ปรงุ อาคารสถานท่แี ละ
สงิ่ แวดล้อมในโรงเรียนใหเ้ ออ้ื ตอ่ การจดั การเรยี นรู้ตามโครงการ
มาตรฐาน รายการตัวบง่ ชี้ โรงเรยี นสจุ ริต
๒. เปิดโอกาสใหบ้ คุ ลากรในโรงเรียนมสี ่วนร่วมในการกา่ หนด
๒. ความสัมพนั ธช์ ุมชน แนวทางและขอ้ ตกลงในการใชอ้ าคารสถานทีแ่ ละหอ้ งพิเศษ
ต่างๆ ของโรงเรยี น

ประเดน็ การพจิ ารณา

๓. จัดบรรยากาศภายในโรงเรียนใหส้ ะอาด รม่ รื่น สวยงาม
ปลอดภยั และเออ้ื ตอ่ การเรยี นรตู้ ามโครงการโรงเรยี นสจุ ริต
๔. บคุ ลากรภายในโรงเรยี นมสี ว่ นรว่ มในการบา่ รงุ ดูแลรกั ษา
และใชอ้ าคารสถานท่ี ด้วยความสมัครใจ คุม้ ค่าและเกิด
ประโยชนส์ งู สุด
๕. มกี ารก่ากับ ติดตาม ตรวจสอบการใช้อาคารสถานทีแ่ ละ
รายงานผลต่อส้เู กย่ี วข้อง อย่างสม่าเสมอ
๑. วิเคราะหส์ ภาพชุมชนเพอื่ ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการ
ดา่ เนนิ งานโครงการโรงเรียนสจุ รติ
๒. แตง่ ตง้ั ผู้รับผดิ ชอบงานดา้ นความสมั พนั ธช์ มุ ชนโดยมีตวั แทน
ป.ป.ช.สพฐ. ชุมชน และ ป.ป.ช. สพฐ. น้อยเข้ามามสี ่วนรว่ ม
๓. ก่าหนดแผนงาน / โครงการ ที่จะใหช้ ุมชนเขา้ มามีสว่ นร่วม
ในการดา่ เนินงานโครงการโรงเรยี นสุจริต
๔. โรงเรียนและชุมชนรว่ มจดั กจิ กรรมต่างๆ ของโครงการ
โรงเรียนสจุ ริตด้วยความสมัครใจ
๕. ประเมินความพึงพอใจของชมุ ชนที่เข้ามามีสว่ นรว่ มในการ
ด่าเนินโครงการโรงเรียนสจุ ริต

มาตรฐานที่ 5 ผลลัพธ์ ผลลพั ธ์และภาพแห่งความสาเรจ็ หมายถึง ผลท่เี กดิ จากการพฒั นาผูบ้ ริหาร ครู นักเรยี น ตาม
คณุ ลักษณะของโครงการเสริมสร้างคณุ ธรรม จริยธรรมและธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา “ปอ้ งกนั การทุจรติ ”
(โครงการโรงเรยี นสุจริต) ทส่ี ่งผลใหโ้ รงเรยี นและชุมชนเปน็ สงั คมทสี่ ุจริต ไมค่ อร์รัปชนั โปร่งใส ตรวจสอบได้ และเป็น
มนษุ ย์ทีส่ มบูรณโ์ รงเรยี นสุจรติ ทกุ โรงเรยี น ต้องดาเนินการตามมาตรฐานโรงเรียนสุจริตให้เป็นไปตามตวั ชวี้ ัดท่ี
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานไดก้ าหนดขึน้ สามารถศึกษาไดจ้ ากคูม่ ือแบบประเมนิ เกณฑ์มาตรฐาน
โรงเรยี นสจุ ริตได้

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวิทยา

คมู่ ือกลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หนา้ 29

มาตรฐาน รายการตวั บ่งชี้ ประเด็นการพิจารณา
๑. ผบู้ รหิ าร
๕. ผลลพั ธแ์ ละภาพ ๑. มกี ารวางแผนการปฏิบัตอิ ย่างเปน็ ระบบ
แหง่ ความส่าเรจ็ ๒. ปฏบิ ตั หิ น้าทตี่ ามกฎหมาย ระเบยี บแบบแผนธรรมเนยี ม
ปฏบิ ตั ขิ องทางราชการและจรรยาบรรณวิชาชพี
๒. ครู ๓. ไม่ใช้ต่าแหน่งหนา้ ทใี่ นการแสวงหาผลประโยชน์อนั มิชอบ
๔. ด่าเนินชีวติ โดยยึดหลกั พอเพยี งอยา่ งมีความสุขและเปน็
๓. นักเรยี น แบบอยา่ งแกส่ าธารณะชน
๔. โรงเรยี น ๕. อทุ ิศตนเพือ่ ประโยชน์ของทางราชการและสว่ นรวม
๕. ชมุ ชน ๑. มกี ารวางแผนการปฏิบตั อิ ยา่ งเป็นระบบ
กลุม่ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวิทยา ๒. ปฏิบตั หิ นา้ ทต่ี ามกฎหมาย ระเบยี บแบบแผนธรรมเนียม
ปฏิบตั ิของทางราชการและจรรยาบรรณวิชาชพี
๓. ปฏบิ ัตหิ น้าที่เต็มเวลาและเตม็ ความสามารถ
๔. ด่ารงชวี ิตโดยยึดหลกั ความพอเพียง
๕. อทุ ศิ ตนเพือ่ ประโยชนข์ องทางราชการและสว่ นรวม

หมายเหตุ ครูรอ้ ยละ ๘๐ ปฏบิ ตั ิไดใ้ นแตล่ ะประเดน็

๑. มกี ารท่างานเป็นขนั้ ตอน
๒. ปฏบิ ตั ิตนตามระเบียบ ข้อปฏิบัติและข้อตกลงของโรงเรยี น
๓. ปฏบิ ัตติ ามคา่ มนั่ สญั ญา ไม่ถือเอาส่ิงของหรือผลงานของ
ผอู้ ่นื มาเปน็ ของตน
๔. มีพฤตกิ รรมประหยดั อดออมและใช้สง่ิ ของอย่างคุ้มคา่
๕. ชว่ ยเหลืองานผอู้ ่ืนและส่วนรวมดว้ ยความเตม็ ใจ

หมายเหตุ นักเรยี นรอ้ ยละ ๘๐ ปฏบิ ัติไดใ้ นแต่ละประเดน็
๑. สภาพแวดล้อมรม่ ร่นื สวยงามเป็นสัดสว่ น และปลอดภยั เออื้
ต่อการเรยี นรู้
๒. มขี อ้ ตกลง และแนวปฏบิ ตั ริ ว่ มกันในการด่าเนนิ งานการ
พฒั นาคุณภาพการศึกษา
๓. บริหารงานอยา่ งมสี ว่ นรว่ ม โปรง่ ใสตรวจสอบได้
๔. ใชท้ รพั ยากรอย่างค้มุ ค่า และเกิดประโยชน์สงู สดุ
๕. เป็นตน้ แบบโรงเรยี นโครงการโรงเรยี นสจุ รติ
๑. มีส่วนรว่ มในการวางแผนการดา่ เนินงานตามโครงการ
โรงเรียนสจุ รติ
๒. ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลงระหว่างโรงเรยี นกบั ชุมชน
๓. ช่วยกันดแู ลรกั ษาทรพั ยส์ มบตั ขิ องโรงเรียน

คู่มือกลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หน้า 30

๔. ด่ารงชีวติ โดยยดึ หลกั ความพอเพยี ง
๕. รว่ มปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความเสียสละและเต็มใจกับโรงเรียนและ
ชมุ ชน
หมายเหตุ ชุมชนร้อยละ ๘๐ ปฏิบตั ไิ ด้ในแตล่ ะประเด็น

มาตรฐาน รายการตัวบ่งชี้ ประเดน็ การพจิ ารณา
๕. ชมุ ชน
๕. ผลลพั ธแ์ ละภาพ ๔. ดา่ รงชวี ติ โดยยึดหลกั ความพอเพยี ง
แหง่ ความสา่ เรจ็ ๕. รว่ มปฏบิ ัตงิ านด้วยความเสียสละและเตม็ ใจกับโรงเรียนและ
ชมุ ชน
หมายเหตุ ชุมชนรอ้ ยละ ๘๐ ปฏิบัติได้ในแตล่ ะประเด็น

หนา้ ทรี่ ับผิดชอบดังนี้
จดั ประชมุ สร้างความรู้ความเขา้ ใจ วางแผนการดาเนินงานตามมาตรฐานโรงเรยี นสุจริต วิเคราะหค์ วาม

สอดคลอ้ งของมาตรฐานโรงเรียนสจุ ริตกับโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏบิ ัติการประจาปี กาหนดบทบาทหน้าทข่ี อง
บคุ ลากรที่เกีย่ วขอ้ ง ดาเนนิ งานตามปฏทิ ินของโครงการโรงเรยี นสุจรติ ของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พน้ื ฐาน เข้ารว่ มกจิ กรรมตา่ งๆท่ีกาหนด รายงานผลการดาเนินกจิ กรรมต่อหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวทิ ยา

คู่มือกลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หนา้ 31

งานสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศทางการศึกษาโรงเรียนวชั รวิทยา
ระบบ (System) คอื ชดุ ขององค์ประกอบซงึ่ มปี ฏิสัมพนั ธ์ ต่อกนั ในรูป

ของความเปน็ หนง่ึ เดยี วและดาเนนิ งานร่วมไปสู่เป้าหมายเดียวกัน ประกอบด้วย
สว่ นสาคญั สป่ี ระการ คือ

1. ขอ้ มูลนาเข้า (Input)
2. กระบวนการประมวลผล (Process)
3. ผลลัพธ์ (Input)
4. การควบคุมการยอ้ นกลับ (Feedback Control)
ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถงึ ชุดของคน ข้อมลู และวิธีการ ซึง่ ทางานร่วมกัน
เพือ่ ใหเ้ กิดความสาเรจ็ ตามเป้าหมายที่วางไว้ หรอื สารสนเทศ คือข้อมูลท่ผี ่านการประมวลผล บวก ลบ คณู
หาร เปรยี บเทยี บหรอื ตรวจสอบแลว้ มีความชดั เจนขน้ึ สามารถนามาใช้ในการพิจารณาตัดสินใจ หรอื ดาเนนิ การใด ๆ
ต่อไปได้ สารสนเทศจะถูกนาเสนอในรูปอตั ราส่วน รอ้ ยละ การเปรยี บเทยี บ เช่น

- อตั ราครตู ่อนักเรยี น
- การเปรยี บเทยี บงบประมาณทไ่ี ดร้ ับปจั จุบันกับอดีต
- การเปรียบเทยี บผลการดาเนนิ การนบั แตเ่ ริ่มโครงการ
- การเปรยี บเทยี บผลกาไรต่อการลงทนุ
ทรพั ยากรที่สาคัญทสี่ ดุ ขององค์การคือคน คนคือผู้สรา้ งงานผลิต เป็นผใู้ ชบ้ ริการ เป็นผูแ้ ก้ปญั หา และเป็นผู้
ตัดสินใจ คนทีม่ ีคณุ ภาพจะเป็นกระดูกสนั หลังขององคก์ าร

ประเภทของระบบสารสนเทศ

1. ระบบประมวลผลธรุ กรรม (Transaction Processing System : TPS) เปน็ เคร่ืองมือของผู้บริหารระดับ
ปฏิบัติการ (Operating Manager) เชน่ ระบบสารสนเทศการบญั ชี

2. ระบบสารสนเทศการจัดการ (Management Information System : MIS) เป็นเครื่องของผูบ้ รหิ าร
ระดบั สงั่ การ หรือระดบั กลาง (Tactical Manager) มี 3 ประเภท คือ รายงานตามตารางการผลิต รายงาน
ตามต้องการ และรายงานพเิ ศษ

3. ระบบสนบั สนุนการตดั สนิ ใจ (Decision Support System : DSS) เปน็ เคร่ืองมือของผู้บริหารระดับ
นโยบาย หรอื ระดับสงู (Strategic Manager) และผบู้ รหิ ารระดบั ส่ังการหรือระดับกลาง (Tactical Manager)

4. ระบบการสนบั สนุนระดับนโยบาย (Executive Support System : ESS) จาเป็นมากสาหรบั การ
บริหารระดับสงู การพัฒนาระบบสารสนเทศ โดยใช้ วฏั จักรของการพฒั นาระบบ SDLC เป็นการติดต่อสือ่ สารอย่าง
ต่อเนื่องชดั

ระบบสารสนเทศทางการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ(EIS)

โปรแกรมระบบสารสนเทศทางการศึกษาได้ถูกออกแบบมาเพ่ือรองรับกับรปู แบบการทางานท่หี ลากหลาย
โดยสามารถท่ีใชง้ านบนระบบเครอื ข่ายท่เี ปน็ Client/Server ,LAN (Netware, WindowsNT) ตวั โปรแกรมเปน็
ระบบเปิด (Open System) สามารถเช่ือมต่อกบั ฐานข้อมูลได้มากมาย ไมว่ า่ จะเปน็ Microsoft SQL, Informix
โปรแกรมระบบสารสนเทศทางการศึกษา แบ่งออกเปน็ 2 สว่ น คอื ส่วนสาหรับผดู้ ูแลระบบ (Administrator) และ

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวัชรวทิ ยา

คมู่ อื กลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หน้า 32

ส่วนสาหรับผู้ใช้ (User) สว่ นผู้ดูแลระบบจะมีหนา้ ที่กาหนดการเช่ือมต่อฐานข้อมลู กาหนดผู้ใช้และคอย
ดูแล ให้การใชง้ านโปรแกรมเป็นไปอยา่ งราบรืน่ ส่วนของผู้ใช้น้นั จะมีส่วนกรอกข้อมลู สถิตทิ างการศึกษา โปรแกรม
ระบบสารสนเทศทางการศกึ ษา ได้ถูกแบ่งโปรแกรมออกเป็น 7 ระบบ คอื

1.ระบบสารสนเทศทางการศกึ ษาสาหรบั สถานศกึ ษา(EIS1) เปน็ ระบบสาหรบั กรอกขอ้ มูลของสถานศึกษา
ทกุ สงั กดั ตามแบบ รศ.รค. เพื่อประมวลผลส่งใหก้ ับหน่วยงานระดบั สงู ขึ้นไป

2.ระบบบริหารสถานศกึ ษา(EIS2) เปน็ ระบบท่ีใช้ในงานบริหารของสถานศกึ ษา
3.ระบบสารสนเทศทางการศึกษาสาหรับหน่วยงานระดับอาเภอ(EIS3) เป็นระบบสาหรบั กรอกขอ้ มลู ของ
อาเภอตามแบบ รศภ. เพ่ือประมวลผลส่งให้กบั หน่วยงานระดบั สูงข้ึนไป
4.ระบบสารสนเทศทางการศกึ ษาสาหรับหน่วยงานระดบั จงั หวัด(EIS4) เปน็ ระบบสาหรบั รวบรวมขอ้ มูล
สารสนเทศของอาเภอท่ีอยใู่ นจงั หวัดนั้นๆ และประมวลผลข้อมูลเพอ่ื สง่ ต่อให้กบั หนว่ ยงานเขตและ
กระทรวงศึกษาธิการ
5.ระบบสารสนเทศทางการศึกษาสาหรับหน่วยงานระดับเขตการศึกษา(EIS5)เป็นระบบสาหรบั รวบรวม
ข้อมลู สารสนเทศของจงั หวดั ทอ่ี ยูใ่ นเขตการศกึ ษานั้นๆ และประมวลผลข้อมูลเพ่ือส่งต่อให้กับกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
6.ระบบสารสนเทศทางการศึกษาสาหรับหน่วยงานระดับกระทรวงศกึ ษาธิการ(EIS6) เป็นระบบสาหรับ
รวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศของจังหวัด และประมวลผลขอ้ มูลในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธกิ าร
7.ระบบประมวลผลขอ้ มลู (EIS7) เป็นระบบสาหรบั ประมวลผลข้อมลู สารสนเทศของกระทรวงศกึ ษาธิการ
เพ่ือเผยแพร่ออกสู่ Homepage MOENet

การพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาของ ศธ. ตามกรอบนโยบายดา้ น ICT
กระทรวงศึกษาธิการสนองนโยบายของรัฐบาลท่ีจะพฒั นาระบบเทคโนโลยีการศึกษาและเครือข่าย

สารสนเทศ เพ่ือเพ่ิมและกระจายโอกาสทางการศึกษาใหค้ นไทยได้รับโอกาสอยา่ งเท่าเทียมกนั และเขา้ ถึงการเรยี นรู้
โดยยึดหลักการสร้างชาติสรา้ งคนและสรา้ งงาน มีปญั ญาเป็นทุนในการสรา้ งงานและสร้างรายได้ ตั้งแต่รฐั บาลภายใต้
การบรหิ าร ของนายกรฐั มนตรีเขา้ มาบรหิ ารประเทศ พร้อมทงั้ ได้กาหนดนโยบายเร่งรัดในการพัฒนาและส่งเสรมิ การ
ใช้ ICTเพอ่ื การศึกษา ปัจจุบนั การดาเนินงานตามพันธกิจสาคัญได้มีความก้าวหนา้ ตามลาดบั อยา่ งจรงิ จังและเปน็
รปู ธรรม

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวัชรวิทยา

คมู่ ือกลุ่มงานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หนา้ 33

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวทิ ยา

ค่มู ือกลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หน้า 34

ขอบเขตการดาเนินงานของระบบสารสนเทศทางการศกึ ษาโรงเรียนวชั รวิทยา
1.รวบรวมข้อมูลจาก งานยอ่ ยในกลุ่มบริหารงาน กลุ่มงาน และกลุ่มสาระการเรียนรู้
2.จัดทาข้อมลู พน้ื ฐานเสนอต่อผู้บริการเพื่อใชใ้ นการบริหารงานโรงเรียน
3.เปน็ หน่วยให้ข้อมูล ในลกั ษณะข้อมลู ทุติยภูมกิ ับหน่วยงานทีต่ อ้ งการใชข้ ้อมลู ในกรณีท่ีตอ้ งการข้อมูลที่

ละเอยี ดและชัดเจน ใหป้ ระสานกับแหลง่ ข้อมูลปฐมภูมิโดยตรง
4.จดั ทาฐานข้อมูลผลงานนกั เรยี น ครู โรงเรียนวัชรวทิ ยา
5.จดั ทารายงานสารสนเทศโรงเรยี นวัชรวทิ ยาประจาปีการศึกษา

หมายเหตุ
ข้อมลู ปฐมภมู ิ หมายถงึ ข้อมูลที่ได้จากแหล่งเกบ็ ขอ้ มูลโดยตรง ได้แก่ กลมุ่ บรหิ ารงาน กลุ่มงาน และกลุ่ม

สาระการเรียนรู้
ขอ้ มลู ทุตยิ ภมู ิ หมายถงึ ข้อมลู ที่กลมุ่ บรหิ ารงาน กลุ่มงาน และกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ประมวลผลแล้วสรปุ ตาม

แบบฟอร์มท่ีออกโดยงานสารสนเทศ

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวทิ ยา

คู่มอื กลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หน้า 35

ระบบสารสนเทศด้วยเครอื ข่ายจดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์ (E-mail) โรงเรยี นวชั รวิทยา
วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อสรา้ งเครือข่ายการสื่อสารภายในองค์กรทส่ี ะดวกและมปี ระสิทธิภาพ
2. เพือ่ ประสานงานรบั ส่งข้อมูลท่ีจาเปน็ ได้อยา่ งสะดวก รวดเร็วถกู ตอ้ งต่อเน่ืองและทันท่วงที

การดาเนนิ การโครงการ
1. สร้างฐานขอ้ มลู การใช้ E-mail ของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาโรงเรียนวัชรวิทยา
2. ใช้E-mail ที่ไดจ้ ากฐานขอ้ มลู ในการส่งเอกสารและงานทจี่ าเป็นใหก้ บั บุคลากร ไดแ้ ก่

ขา่ วสารทางการศึกษา ผลงานนกั เรยี น ผลงานครู ผลงานโรงเรยี น สถติ ิจานวนนกั เรียน
(ข้อมูลจากกลมุ่ บริหารงานท่วั ไป) ความเคล่ือนไหวจานวนนักเรยี น อัตรากาลงั
ข้าราชการครู และข้อมลู อื่นๆที่จาเปน็ สาหรบั ครผู สู้ อน

การใชบ้ ริการข้อมลู (กรณเี ป็นผู้ส่งข้อมลู มายังงานสารสนเทศ)
1.เข้าใช้งาน E-mail ของทา่ น
2.เลอื กเขยี นจดหมาย โดยระบบ E-mail ผรู้ ับคือ [email protected]
3.พิมพร์ ายละเอยี ดและแนบไฟลร์ ูปภาพทต่ี ้องการจะสง่
4.เมอ่ื ส่งข้อมลู เรียนร้อยจะได้รบั อเี มลข์ อบคุณตอบกลับ

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวิทยา

คูม่ อื กล่มุ งานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หนา้ 36

ระบบสารสนเทศด้วยเครือข่าย SMS โรงเรียนวัชรวิทยา

วัตถุประสงค์
1. เพ่อื สรา้ งเครือข่ายการส่ือสารภายในองค์กรทส่ี ะดวกและมีประสทิ ธภิ าพ
2. เพอื่ สรา้ งระบบสอ่ื สารข้อมูลทีร่ วดเร็วและสามารถประสานงานกบั บุคลากร

ได้อย่างทนั ท่วงที

การดาเนนิ การโครงการ
1.รับขอ้ มูลจากหน่วยงานทต่ี ้องการประชาสมั พนั ธ์หรอื แจง้ ขอ้ มลู ข่าวสาร โดยลักษณะข้อมลู ข่าวสารทตี่ ้อง

เปน็ ข้อมูลในลกั ษณะทีเ่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ องค์กรโดยรวม ซ่ึงได้แก่
- การแจ้งประชาสัมพันธ์ผลงาน รางวัล
- การแจ้งขา่ วการประชุม หรือการนัดหมายธุระของโรงเรยี น
- แสดงความยินดี กับบุคลากร
- กิจกรรมอนื่ ๆ ตามความเหมาะสม
2.กรองข้อความให้กระชบั (สูงสุดไมเ่ กนิ 70 ตัวอกั ษร) แลว้ สง่ ข่าวโดยใช้ระบบ INTERNET ใหก้ บั บุคลากร

ไดร้ ับทราบ

ช่องทางการรบั ข้อมูลเพอ่ื ส่งขา่ ว SMS
1.เขียนแบบฟอรม์ สง่ ที่โต๊ะงานสารสนเทศ กลุ่มนโยบายและแผน
2.แจ้งข่าวทางอเี มล์ โดยส่งอีเมลม์ าท่ี [email protected]
3.โทรศัพทแ์ จง้ ทหี่ มายเลขภายใน 15 (ห้องนโยบายและแผน) ในเวลาราชการ
4.โทรหมายเลข 084-812-5386 (เจ้าหนา้ ทีส่ ่ง SMS ) ตลอด 24 ชัว่ โมง

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวัชรวทิ ยา

คู่มือกลุ่มงานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หน้า 37

แบบฟอร์มสง่ SMS

ระบบเครือขา่ ยสือ่ สารโรงเรยี นวชั รวิทยา

สว่ นที่ 1 รายละเอียดผู้รับ

ผู้ทต่ี อ้ งการสง่ ถงึ (เลือกไดม้ ากกวา่ รายการ)

( ) ครูท้ังโรงเรียน

( ) คณะกรรมการสถานศึกษา

( ) เครอื ข่ายผปู้ กครองนกั เรียน สำหรบั เจ้ำหนำ้ ท่ี

( ) อน่ื ๆ (โปรดระบชุ ื่อพร้อมเบอรโ์ ทร).........................................

..................................................................................................................... ผลกำรคดั กรองขอ้ ควำม
.....................................................................................................................

..................................................................................................................... (ไมเ่ กิน 70 ตวั อกั ษร)
.....................................................................................................................

..................................................................................................................... ................................................................

ส่วนที่ 2 วันและเวลาส่ง ................................................................

วนั ท่ีและเวลาต้องการใหส้ ง่ ................................................................

( ) ส่งทันที ................................................................

( ) ส่งวนั .........ที.่ ......เดอื น................................พ.ศ................เวลา................ ...................

สว่ นท่ี 3 รายละเอียดข้อความท่ตี อ้ งการใหส้ ่ง (โดยย่อ)

......................................................................................... .................................................
............................................................................................................................. ........(..... ) ดำเนนิ กำรส่งเรียบร้อยแล้ว

..........................................................................................................................................

............................................................................................................................. .............

ส่วนที่ 4 รายละเอียดผู้ใชบ้ ริการ

ฝชา่่ือยค/รงูผาสู้น่ง/ขกอ้ ลคมุ่ วสาามร.ะ..ก...า..ร..เ.ร..ยี ..น...ร..ู้....................................................................โ.ท...ร........................................................................................ล....ง....ช....ื่อ......

.............................................

รบกวนวางไว้บนโต๊ะงานสารสนเทศ

(............................................)

เพ่อื จะรีบดาเนนิ การให้เรว็ ทีส่ ดุ

ขอบคุณที่ใชบ้ ริการ

งานสารสนเทศ โรงเรียนวชั รวิทยา

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรยี นวัชรวทิ ยา

ค่มู อื กลุ่มงานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หนา้ 38

เครอื ขา่ ยสารสนเทศออนไลน์ (SOCIAL NETWORK) โรงเรียนวัชรวิทยา
http://www.facebook.com/watcharawittaya
วตั ถปุ ระสงค์

เพ่ือสร้างช่องทางการแบง่ ปนั ข้อมูลภายในหนว่ ยงานทบ่ี ุคลากรสามารถ
นาเข้าและใชป้ ระโยชน์จากข้อมลู ได้อย่างสะดวกและรวดเรว็
ข้ันตอนการใชง้ าน
1. เขา้ เวบ็ ไซต์ โดยพิมพ์ http://www.facebook.com/watcharawittaya
การเข้าถงึ ที่งา่ ยท่ีสุด งานเวบ็ ไซต์โรงเรียนไดท้ าลิงค์ face book ไวท้ ีห่ นา้ เว็บไซต์โรงเรยี นวัชรวทิ ยาแล้วที่

http://www.wr.ac.th

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวทิ ยา

คู่มือกลุม่ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หน้า 39

ระบบบริหารจดั การเกยี รติบัตรโรงเรยี นวัชรวิทยา
วตั ถปุ ระสงค์

1.เพ่ือกาหนดมาตรฐานของการออกเกียรติบัตรโรงเรียนใหเ้ ปน็ ไปในรปู แบบเดียวกนั
2.สรา้ งฐานข้อมูลอา้ งอิงเกยี รตบิ ตั รของโรงเรียนวัชรวิทยา
ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน

1.ผตู้ ้องการออกเกียรติบตั รระบจุ านวนเกยี รตบิ ตั รในขั้นตอนของ
การเขียนแผนเพอ่ื ของบประมาณประจาปี

2.เมื่อถึงกาหนดดาเนินโครงการและออกเกียรติบัตรสามารถติดตอ่
รับเกียรติบตั รได้ท่ีหอ้ งกลมุ่ งานนโยบายและแผน (โตะ๊ สารสนเทศ)
ตามจานวนทีเ่ ขยี นไว้ในโครงการ

3.แบบฟอร์มการพิมพ์เกยี รติบตั ร จะสง่ ไปทางอีเมล์ โดยมไี ฟล์ 2 ไฟล์ คือ
Name.xls เป็นไฟลร์ ายชื่อ ให้ทา่ นเปิดเพื่อแกไ้ ขรายชื่อให้ตรงกบั ที่ท่านตอ้ งการออกเกียรติบัตรให้ เม่ือ

แก้ไขเรยี บร้อยให้ปิดไฟล์ทนั ที
Card.doc เปน็ ไฟล์พิมพเ์ กียรตบิ ัตรที่เชื่อมโยงรายชือ่ จาก Name.xls ท่านสามารถเลือกพมิ พเ์ กียรตบิ ตั ร

ไดค้ รั้งละหลายๆ ฉบบั ไดเ้ ลย
4.เลขที่เกยี รติบัตร ทา่ นสามารถรับไดท้ ีง่ านสารสนเทศ ซึง่ จะให้มาพร้อมกับตวั เกยี รติบตั ร

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวชั รวทิ ยา

คมู่ ือกลุ่มงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หนา้ 40

ฐานข้อมลู ผลงานนกั เรยี น ครู และโรงเรยี นวัชรวิทยา

วตั ถปุ ระสงค์
1.เพ่ือบนั ทึกและทาสถิตขิ ้อมูล ผลงานและเกยี รติประวัตขิ องนกั เรียน ครู และโรงเรียนวชั รวทิ ยา
2.สร้างฐานขอ้ มลู และเอกสารหลกั ฐานสาหรับบุคลากรและนักเรียนใชใ้ นการอา้ งอิงผลงาน

ขั้นตอนการดาเนนิ งาน
1.ครผู ้เู ก่ียวขอ้ งหรือผู้ทราบข้อมูลส่งข้อมูลให้กบั งานสารสนเทศ ไดห้ ลายช่องทาง
- อีเมลล์ [email protected]
- โทรศพั ท์ ภายในหมายเลข 15 หรอื โทรศพั ท์หมายเลข 084 812 5386
- บนั ทึกรายงานผู้อานวยการ (จะถึงงานสารสนเทศเองโดยอัตโนมัติ)
(ควรมีภาพประกอบ 2-3 ภาพทีส่ ือ่ ถึงกจิ กรรมทดี่ าเนนิ การด้วย)
2.งานสารสนเทศจะดาเนนิ การจัดทาเปน็ ใบแสดงผลงาน
3.งานสารสนเทศจะแจ้งใบผลงานไปยังอีเมล์ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาทุกท่านไดร้ ับทราบ
4.งานสารสนเทศจะพิมพใ์ บแสดงผลงานและนาไปประชาสมั พันธ์บรเิ วณท่ีลงช่ือปฏิบัติราชการ

หนา้ หอ้ งธุรการ

5.สน้ิ ปีการศึกษาจะดาเนินการเปน็ รปู เล่ม ผลงานนักเรียน ครแู ละโรงเรียนประจาปีการศึกษา

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวทิ ยา

คมู่ ือกลุ่มงานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หนา้ 41

กล่มุ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวทิ ยา

คมู่ ือกลุ่มงานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หนา้ 42

1.การเข้าใชง้ าน

เขา้ เวบ็ ไซต์โรงเรียนวัชรวิทยา โดยพมิ พ์ http://www.wr.ac.th/

หนา้ เวบ็ ไซตโ์ รงเรยี นวชั รวิทยา จะปรากฏดังรูป

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรยี นวัชรวทิ ยา

คมู่ อื กล่มุ งานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หนา้ 43

ให้สงั เกตทมี่ ุมขวามือ ใตร้ ูปผู้อานวยการจะพบแถบเมนูของ “สารสนเทศ โรงเรยี นวชั รวิทยา” โดยเปน็
แถบเมนูสีสม้ ดา ดงั รูป ให้คลิก๊ เลอื ก

จะเข้าสหู่ นา้ เพจของงานสารสนเทศ และ กล่มุ งานนโยบายและแผน ดงั รูป

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวิทยา

คู่มือกลมุ่ งานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หนา้ 44

2.สว่ นประกอบของหนา้ เพจ “สารสนเทศ โรงเรียนวัชรวิทยา”
หน้าเพจจะประกอบด้วย 3 สว่ นคอื

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวทิ ยา

คู่มือกลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี2559 หน้า 45

สว่ นท่ี 1 หนว่ ยงานในกลมุ่ งาน

กลมุ่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวทิ ยา

คมู่ อื กลุ่มงานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หน้า 46

ประกอบไปดว้ ย
โครงสรา้ งกลุ่มงานนโยบายและแผน

จะอธบิ ายถึงโครงสรา้ งการบรหิ ารงานกลมุ่ งานนโยบายและแผน ท่ีประกอบดว้ ยหน่วยงานย่อย
ได้แก่ งานแผนงาน งานประกันคุณภาพ งานควบคุมภายใน งานสารสนเทศ และงานโรงเรยี นสจุ ริต ซง่ึ มี
ขอ้ มูลที่แต่ละหน่วยงานจัดทาเป็นขอ้ มูลสารสนเทศแตล่ ะหน่วยงาน ดงั นี้
หน้าเวบ็ เพจงานแผนงาน

กลุม่ งานนโยบายและแผน โรงเรียนวชั รวทิ ยา

คู่มอื กลุม่ งานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี2559 หนา้ 47

หน้าเว็บเพจงานประกนั คุณภาพ

หน้าเว็บเพจงานควบคมุ ภายใน

กลุ่มงานนโยบายและแผน โรงเรียนวัชรวทิ ยา


Click to View FlipBook Version