The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนวิสาหกิจ กปน. ฉบับที่ 5 ( ปี 2563-2565)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by monmwaline, 2020-01-14 04:26:47

แผนวิสาหกิจ กปน. ฉบับที่ 5 ( ปี 2563-2565)

แผนวิสาหกิจ กปน. ฉบับที่ 5 ( ปี 2563-2565)

แผนวสิ าหกิจ กปน. ฉบับที่ 5 (ปี 2563–2565)

คำนำ
กปน. จดั ทำยทุ ธศำสตรเ์ พือ่ ยกระดับกำรพฒั นำองค์กรและเป็นกรอบกำรดำเนินงำน ส่งผลให้องค์กรมี
กำรเติบโตอย่ำงยง่ั ยืน ซ่ึงแต่ละช่วงเวลำยุทธศำสตร์ได้ถูกวำงให้สอดคล้องกับบริบทขณะช่วงเวลำนั้น กล่ำวคือ
ยุทธศำสตร์ฯ ฉบับท่ี 1 ให้ควำมสำคัญด้ำนกำรตลำด ยุทธศำสตร์ฯ ฉบับท่ี 2 มุ่งเน้นสร้ำงมูลค่ำเพิ่มทำง
เศรษฐศำสตร์ซึ่งเริ่มใช้ BSC เป็นเคร่ืองมือวำงแผน ยุทธศำสตร์ฯ ฉบับที่ 3 ยกระดับมำตรฐำนสู่สำกลและเร่ิม
พิจำรณำองค์กรเปรียบเทียบ สำหรับฉบับปัจจุบันมุ่งเน้นควำมยั่งยืนในอนำคตและยกระดับเป็นองค์กร
สมรรถนะสูง มอี งค์กรเปรียบเทียบครอบคลุมท้ังด้ำนผลิตภัณฑ์ บริกำร บริหำรจัดกำรและปฏิบัติกำร โดยจะมี
กำรจัดทำยุทธศำสตร์ฉบับใหม่ก่อนฉบับปัจจุบันครบวำระ 1 ปี และมีกระบวนกำรทบทวนเพื่อให้สอดคล้อง
และเหมำะสมกับสภำพแวดล้อมท่ีเปล่ียนแปลงไปในช่วงก่อนเริ่มปีงบประมำณ ซ่ึงปัจจุบันได้มีกำรทบทวนให้
สอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติ (พ.ศ. 2561-2580) แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ แผนพัฒนำเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชำติฉบับที่ 12 พระรำชบัญญัติกำรพัฒนำกำรกำกับดูแลและบริหำรรัฐวิสำหกิจ และแผน
ยทุ ธศำสตร์รัฐวิสำหกจิ สำขำสำธำรณูปกำร (2560-2564)
กำรประปำนครหลวงได้มีกำรพิจำรณำปรับชื่อยุทธศำสตร์กำรบริหำรกำรประปำนครหลวง ให้
สอดคล้องตำมพระรำชบัญญตั ิกำรพฒั นำกำรกำกับดูแลและบริหำรรัฐวิสำหกิจ พ.ศ. 2562 (มำตรำ 25) พร้อม
ปรับระยะเวลำสน้ิ สุดตำมแผนพฒั นำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติซึ่งขยำยอำยุถึงปี 2565 และตัวชี้วัดตำมแผน
แม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติซ่ึงแบ่งค่ำเป้ำหมำยระยะแรกสิ้นสุดปี 2565 ประกอบกับ กปน.ได้จัดทำแผน
วิสำหกิจต้ังแต่ปี 2528 -2547 รวม 4 ฉบับก่อนปรับเป็นยุทธศำสตร์กำรบริหำรกำรประปำนครหลวง ดังนั้น
แผนวิสำหกจิ กำรประปำนครหลวงฉบับนี้ จงึ ถือเป็น “แผนวิสำหกจิ กำรประปำนครหลวง ฉบบั ท่ี 5 (ปี 2563-2565)”
แผนวิสำหกิจกำรประปำนครหลวงฉบับท่ี 5 (ปี 2563-2565) ได้ผ่ำนกระบวนกำรวิเครำะห์ด้วย
เคร่ืองมือต่ำงๆ รวมทั้งกำรมีส่วนร่วมของทุกภำคส่วน จึงมั่นใจได้ว่ำจะสำมำรถนำองค์กรไปสู่เป้ำหมำยและ
เตบิ โตไดอ้ ยำ่ งยั่งยนื

ฝ่ำยนโยบำยและยุทธศำสตร์
สิงหำคม 2562

2

แผนวิสาหกิจ กปน. ฉบบั ท่ี 5 (ปี 2563–2565)

บทสรปุ ผู้บริหำร (Executive Summary)
แผนวิสำหกิจกำรประปำนครหลวงจัดทำข้ึนเพ่ือใช้เป็นกรอบทิศทำงกำรบริหำรจัดกำรของ กปน.
ในระยะ 3 ปี พรอ้ มสนับสนนุ สง่ เสริมกำรพัฒนำประเทศไทยภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ (พ.ศ. 2561-2580) มีกรอบ
แนวคิดที่สำคัญในกำรจัดทำ คือ กำรพัฒนำท่ียั่งยืนโดยกำรปรับปรุงองค์กรและพัฒนำขีดควำมสำมำรถของ
องค์กรสู่กำรเป็นองค์กรสมรรถนะสูง พร้อมสร้ำงกำรเติบโตทำงเศรษฐกิจและสังคมอย่ำงเป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม และพัฒนำควบคู่สอดคล้องกับทิศทำงกำรพัฒนำประเทศสู่ควำมมั่นคง มั่งคั่ง ย่ังยืนภำยใต้
วสิ ยั ทศั น์ “เปน็ องค์กรสมรรถนะสูงท่ีใหบ้ รกิ ำรงำนประปำ มธี รรมำภบิ ำล และไดม้ ำตรฐำนในระดบั สำกล”

แผนวิสำหกิจกำรประปำนครหลวงประกอบด้วย 4 ดำ้ น ดงั น้ี
ดำ้ นที่ 1: สร้ำงเสถียรภำพและควำมมั่นคงของระบบประปำ

วัตถุประสงค์เชิงยุทธศำสตร์: พัฒนำระบบจ่ำยน้ำและบริหำรจัดกำรน้ำสูญเสีย รวมถึงพัฒนำ
เทคโนโลยีสำรสนเทศเพื่อกำรจดั กำรลดน้ำสญู เสียและบริหำรจัดกำรแรงดนั นำ้

กลยทุ ธ์ที่ 1.1 กำรบรหิ ำรจดั กำรแรงดันน้ำและน้ำสญู เสียเชิงพืน้ ท่ีอยำ่ งยั่งยืน
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศำสตร์: เสริมสร้ำงระบบผลิต (ผลิต-สูบส่ง) ให้มีเสถียรภำพและเป็นมิตรต่อ
สง่ิ แวดล้อม
กลยทุ ธท์ ี่ 1.2 เสริมสร้ำงเสถยี รภำพระบบผลติ
กลยทุ ธท์ ี่ 1.3 เพ่ิมศกั ยภำพกำรจดั กำรควำมเสี่ยงจำกสถำนกำรณ์ฉกุ เฉนิ และภยั พบิ ตั ิ
วัตถปุ ระสงค์เชงิ ยทุ ธศำสตร์: บริหำรจัดกำรปริมำณและคณุ ภำพน้ำทง้ั ระบบ (ตน้ น้ำ-ปลำยนำ้ )
กลยทุ ธท์ ี่ 1.4 ยกระดบั กำรจัดกำรคุณภำพน้ำประปำตำมแผนน้ำประปำปลอดภัย (Water Safety
Plans)
กลยุทธ์ท่ี 1.5 เสรมิ สรำ้ งเสถยี รภำพระบบน้ำดบิ

ด้ำนท่ี 2: ยกระดบั ขีดควำมสำมำรถองคก์ รสูค่ วำมเปน็ เลิศ

วัตถุประสงค์เชิงยุทธศำสตร์: กำรพัฒนำเทคโนโลยีดิจิตอล และนำนวัตกรรมไปใช้อย่ำงเป็นระบบ
เพอื่ เพิ่มขีดควำมสำมำรถขององคก์ รพร้อมตอบสนองควำมต้องกำรควำมคำดหวงั ของผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสีย

กลยุทธ์ที่ 2.1 พัฒนำข้อมูล และระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศเพ่ือเพิ่มขีดควำมสำมำรถและควำม
ยดื หย่นุ ใหก้ ับองคก์ รรวมทงั้ พฒั นำบริกำรดิจทิ ัล

กลยทุ ธ์ที่ 2.2 พฒั นำองคก์ รสู่กำรเป็นองคก์ รแหง่ นวัตกรรม (Innovative Organization)
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศำสตร์: ปรับโครงสร้ำงองค์กร ให้ตอบสนองกำรเปล่ียนแปลงทำงธุรกิจได้
อยำ่ งรวดเร็ว และเพม่ิ ประสิทธภิ ำพกำรทำงำนของทุกกระบวนกำรทำงำน
กลยทุ ธท์ ี่ 2.3 ปรับปรุงโครงสรำ้ งองค์กร และออกแบบระบบกำรจดั กำรภำยในองคก์ ร
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศำสตร์: สร้ำงควำมพร้อมด้ำนบุคลำกรให้มีศักยภำพ ทักษะที่หลำกหลำย
(Multi Skill) รองรับกำรเปล่ียนแปลงและก้ำวทันไปกับนโยบำย Thailand 4.0 พร้อมสร้ำงควำมมุ่งม่ันและ
เต็มใจในกำรทำงำน

3

แผนวิสาหกจิ กปน. ฉบับที่ 5 (ปี 2563–2565)

กลยทุ ธ์ท่ี 2.4 พัฒนำบุคลำกรให้พร้อมรับกำรเปลี่ยนแปลงและรองรับกำรเข้ำสู่ยุคดิจิทัลอย่ำงเต็ม
รูปแบบ (Digitalize HRM and HRD)
ดำ้ นท่ี 3: สง่ เสริมควำมสัมพันธท์ ด่ี ีแกผ่ มู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี และยึดมั่นธรรมภิบำลเพ่อื ควำมย่งั ยืน

วัตถุประสงค์เชิงยุทธศำสตร์: พัฒนำควำมสัมพันธ์-ควำมร่วมมือท่ีดีกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้วยหลัก
ธรรมำภบิ ำล

กลยุทธท์ ่ี 3.1 เพิม่ ประสทิ ธิภำพกำรบรหิ ำรจดั กำรเพอ่ื ตอบสนองควำมคำดหวังของลูกค้ำ
กลยุทธท์ ี่ 3.2 ยกระดับควำมสัมพันธก์ ับผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสียเพื่อสร้ำงควำมยั่งยนื ดว้ ยหลกั ธรรมำภิบำล
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศำสตร์: สง่ เสรมิ กจิ กรรมเชิงสงั คมและเป็นมติ รต่อส่งิ แวดล้อม
กลยทุ ธ์ที่ 3.3 สง่ เสรมิ กจิ กรรมเชงิ สงั คมและเปน็ มิตรต่อส่งิ แวดล้อม
ดำ้ นท่ี 4: สร้ำงควำมม่ันคงขององคก์ ร
วตั ถุประสงค์เชิงยทุ ธศำสตร์: เพ่มิ ควำมมั่นคงทำงด้ำนกำรเงิน
กลยุทธท์ ่ี 4.1 เพ่ิมประสิทธภิ ำพและสร้ำงรำยได้ในกำรดำเนินงำน

4

แผนวิสาหกจิ กปน. ฉบบั ที่ 5 (ปี 2563–2565)

สารบญั หน้า

คานา 1
บทสรุปผู้บริหาร 2
บทท่ี 1 บทนา 2
บทที่ 2 การจัดทาแผนวิสาหกจิ กปน. 5
12
2.1 กระบวนการวางแผนยทุ ธศาสตร์(แผนวสิ าหกิจ กปน.) 14
2.2 การตอบสนองตอ่ กฎหมายและนโยบายภาครฐั 14
2.3 การเปลีย่ นแปลงทีส่ าคญั (Key Change) 20
บทท่ี 3 แผนวสิ าหกจิ กปน. ฉบบั ที่ 5 (ปี2563– 2565) 24
3.1 ทิศทางองค์กร (วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ ค่านิยม) 25
3.2 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม (SWOT Analysis) ภายใต้ทศิ ทางท่ีกาหนด 27
3.3 การกาหนดสมรรถนะหลักขององค์กร (Core Competency:CC)
3.4 การกาหนดความทา้ ทายและความได้เปรยี บเชิงยทุ ธศาสตร์ 37
3.5 การกาหนดยุทธศาสตรห์ ลัก วตั ถุประสงคเ์ ชิงยทุ ธศาสตร์ 42

และการจดั ทาแผนที่กลยทุ ธ์ (Strategy Map) 50
3.6 โครงการ/แผนงานภายใต้แผนวสิ าหกิจ
3.7 การเช่อื มโยงแผนวสิ าหกิจ กปน. กับยทุ ธศาสตร์ชาติ

แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ
และนโยบายรฐั บาล
3.8 โครงการใหม่

5

แผนวิสาหกิจ กปน. ฉบบั ท่ี 5 (ปี 2563–2565)

สำรบัญ ภำคผนวก หนำ้

กำรเปลี่ยนแปลง Key Change ผ-1
กำรเปลีย่ นแปลงของ SWOT ผ-2
กำรเปลี่ยนแปลงควำมได้เปรียบเชิงยทุ ธศำสตร์ ผ-6
กำรเปลย่ี นแปลงควำมทำ้ ทำยเชิงยุทธศำสตร์ ผ-7
กำรเปลย่ี นแปลงประเดน็ ยุทธศำสตร์ วตั ถุประสงค์เชิงยทุ ธศำสตร์และกลยทุ ธ์ ผ-8
ปจั จยั ควำมยง่ั ยนื ผ-10
คำจำกดั ควำม – ตัวช้ีวดั ผ-11
กำรคำดกำรณท์ ำงด้ำนกำรเงินขององค์กร ผ-17

6

แผนวิสาหกจิ กปน. ฉบับที่ 5 (ปี 2563–2565)

1. บทนำ

กำรประปำนครหลวง (กปน.) เป็นรัฐวิสำหกิจในสังกัดกระทรวงมหำดไทย จัดต้ังขึ้นตำม
พระรำชบัญญัติกำรประปำนครหลวง พ.ศ. 2510 (พ.ร.บ. กปน.) โดยมีภำรกิจหลักในกำรสำรวจ จัดหำแหล่ง
น้ำดิบ และจัดให้ได้มำซ่ึงน้ำดิบเพ่ือใช้ในกำรประปำ ผลิต จัดส่ง และจำหน่ำยน้ำประปำในเขตท้องท่ี
กรงุ เทพมหำนคร จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมทุ รปรำกำร และควบคมุ มำตรฐำนเกี่ยวกับระบบประปำเอกชน
ในพนื้ ทดี่ ังกลำ่ ว ดำเนินธุรกิจอื่นเก่ียวเน่ืองกับ หรือเป็นประโยชน์แก่กำรประปำ และยังมีบทบำทสำคัญในกำร
ขบั เคลื่อนนโยบำยของรัฐเพอื่ พฒั นำเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ

กปน. ได้มีกำรพัฒนำกำรดำเนินงำนอย่ำงต่อเนื่อง โดยได้มีกำรจัดทำแผนวิสำหกิจ เพ่ือเป็นกรอบใน
กำรขับเคล่ือนกำรดำเนินงำนขององค์กรตั้งแต่ปีงบประมำณ 2528 รวมทั้งสิ้น 4 ฉบับ และปรับเปลี่ยนมำเป็น
ยุทธศำสตร์กำรบรหิ ำรกำรประปำนครหลวง ตง้ั แตป่ งี บประมำณ 2548

เมื่อประเทศไทยได้มียุทธศำสตร์ชำติ (พ.ศ. 2561-2580) แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ
แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติฉบับที่ 12 และพระรำชบัญญัติกำรพัฒนำกำรกำกับดูแลและบริหำร
รัฐวิสำหกิจ พ.ศ.2562 ซึ่งหน่วยงำนภำครัฐมีหน้ำท่ีและภำรกิจจะต้องปฏิบัติตำมอย่ำงเคร่งครัด จึงได้มีกำร
พิจำรณำปรับช่ือยุทธศำสตร์ฯ กปน. ให้สอดคล้องตำมพระรำชบัญญัติกำรพัฒนำกำรกำกับดูแลและบริหำร
รฐั วิสำหกิจ พ.ศ. 2562 (มำตรำ 25) พรอ้ มปรบั ระยะเวลำสิน้ สุดตำมแผนพฒั นำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติซึ่ง
ขยำยอำยุถึงปี 2565 และตัวช้ีวัดตำมแผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติซ่ึงแบ่งค่ำเป้ำหมำยระยะแรกสิ้นสุด ปี
2565 จึงได้ปรับเป็น “แผนวิสำหกิจกำรประปำนครหลวง ฉบับท่ี 5 (ปี 2563-2565)” และนับจำนวนฉบับ
ต่อจำกแผนวิสำหกิจท่ี กปน.เคยมไี วเ้ ดมิ 4 ฉบบั

ในกำรจัดทำแผนวสิ ำหกิจกำรประปำนครหลวง ฉบับที่ 5 (ปี2563-2565) กปน. คำนึงถึงกำรรวบรวม
ข้อมูลทั้งจำกแหล่งภำยในและภำยนอกท่ีเกี่ยวข้องกับองค์กร โดยเฉพำะกำรวิเครำะห์เปรียบเทียบกับคู่เทียบ
(Benchmarking) และกำรมีส่วนร่วมกับผู้บริหำรและบุคลำกรของ กปน. ด้วยกำรจัดประชุมเชิงปฏิบัติกำร
(Brainstorming Workshop) ในแต่ละขั้นตอนของกำรจัดทำ รวมท้ังกำรคำนึงถึงจุดบอดด้วยกำรวิเครำะห์
ควำมตอ้ งกำรและควำมคำดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) โดยได้มีกำรนำเสนอร่ำงแผนวิสำหกิจ
กำรประปำนครหลวง ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและคณะกรรมกำร กปน. เพื่อวิพำกษ์ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
โดยเน้นดำเนินงำนผ่ำนกระบวนกำรมสี ว่ นรว่ มของคณะกรรมกำร กปน. ผู้บริหำรและพนักงำน กปน. ตลอดจน
ผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี ทคี่ รอบคลุมในทกุ ๆ มติ ิพร้อมท้ังพิจำรณำค่ำเป้ำหมำยของแผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ
แผนพฒั นำเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำตฉิ บบั ท่ี 12 ในสว่ นทเ่ี กีย่ วข้องมำพิจำรณำกำหนดแผนปฏบิ ัติงำนรองรบั

1

แผนวิสาหกิจ กปน. ฉบับท่ี 5 (ปี 2563–2565)

2. กำรจัดทำแผนวสิ ำหกิจ กปน.

กระบวนกำรวำงแผนยุทธศำสตร์ (แผนวิสำหกิจ กปน.) มีกระบวนกำรดำเนินงำนตั้งแต่กำรประเมิน
สภำพแวดล้อมที่ส่งผลต่อองค์กรในระยะยำวและสถำนภำพองค์กรในปัจจุบัน กำรทบทวนทิศทำงองค์กร
(Vision Mission Value) กำรวิเครำะห์สภำพแวดล้อมภำยในและภำยนอกตำมกรอบทิศทำงท่ีองค์กรมุ่งหมำย
กำหนด/ทบทวนกลยุทธ์เพ่ือขับเคลื่อนกำรดำเนินงำนขององค์กรให้ไปสู่เป้ำหมำยทิศทำงท่ีกำหนด รวมไปถึง
กำรถ่ำยทอดยุทธศำสตร์สู่กำรปฏิบัติ โดยกำรจัดทำตัวชี้วัด ค่ำเป้ำหมำย แผนงำน/โครงกำร และกำหนด
ผู้รับผิดชอบ โดยในกระบวนกำรจัดทำแผนวิสำหกิจ กปน. น้ี นอกเหนือจำกกำรศึกษำวิเครำะห์ข้อมูลปฐมภูมิ
และข้อมูลทุติยภูมิท่ีเกี่ยวข้องจำกหน่วยงำนต่ำงๆ ทั้งภำยนอกและภำยในแล้ว ยังดำเนินกำรผ่ำนกำร
ประชุมสัมมนำเชิงปฏิบัติกำรเพื่อระดมสมอง (Brainstorming) กับผู้บริหำรระดับสูง ผู้บริหำรของ กปน.
พนกั งำน กปน. ท่มี สี ว่ นเกี่ยวข้อง คณะกรรมกำร กปน. และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อให้มีควำมสมบูรณ์ครบถ้วน
มำกยิ่งข้ึน สำมำรถนำไปใช้ในกำรขับเคลื่อนองค์กรให้เกิดผลในทำงปฏิบัติและบรรลุเป้ำหมำยองค์กรได้อย่ำง
เป็นรปู ธรรม
2.1 กระบวนกำรวำงแผนยุทธศำสตร์ (แผนวิสำหกจิ กปน.)

กระบวนกำรดำเนินงำนประกอบด้วย ข้ันตอนหลัก 8 ขั้นตอนได้แก่ กำรจัดทำยุทธศำสตร์ (Strategy
Formulation) 4 ข้ันตอน และกำรถ่ำยทอดยุทธศำสตร์สู่กำรปฏิบัติ (Strategy Implementation and
Evaluation) 4 ข้ันตอนโดย กปน. ไดม้ กี ำรจัดประชมุ และสัมมนำเชิงปฏิบัติกำรที่เกีย่ วข้อง ดังนี้

2

แผนวสิ าหกจิ กปน. ฉบบั ท่ี 5 (ปี 2563–2565)

 เดือนธันวำคม 2561
- Stakeholder Analysis จัดงำนสำนสัมพันธ์ สร้ำงสรรค์ควำมสุข เพื่อแลกเปลี่ยนควำม
คิดเห็นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อทิศทำงกำรดำเนินงำน วิเครำะห์ควำมต้องกำรและควำม
คำดหวงั ของผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี แต่ละกลุ่ม

 เดอื นมกรำคม 2562-กมุ ภำพนั ธ์ 2562
ประเมินขอ้ มลู ปัจจยั ทสี่ ่งผลตอ่ องคก์ รในระยะยำว
 ปัจจัยภำยนอก ใช้กำรวิเครำะห์ปัจจัยยั่งยืน PESTEL 5 Forces VOS / VOC และ

Foresight เพื่อประเมินผลกระทบเชิงบวก/ลบท่ีอำจเกิดข้ึนจำกสัญญำณบ่งชี้ถึงกำรเปลี่ยนแปลงท่ี
สำคญั (Key Change)

 ปัจจัยภำยใน ใช้กรอบแนวคิดของแมคคินซีย์ 7s McKinsey กำรวิเครำะห์ Value Chain
Analysis และผลกำรดำเนินงำนขององค์กรเทยี บกบั คเู่ ทยี บ
 เดอื นกุมภำพันธ์ 2562

- ทบทวนทศิ ทำงองค์กรโดยผู้บรหิ ำรระดบั สูง Top Executive Direction: TED
- ทบทวนทิศทำงองคก์ รโดยคณะกรรมกำรกำรประปำนครหลวง
 เดือนมีนำคม 2562
- ทบทวนและประเมินข้อมูลปจั จัยนำเข้ำภำยใต้ทศิ ทำงองค์กร
- สัมภำษณ์หน่วยงำนจัดทำ Fact Based SWOT

3

แผนวิสาหกจิ กปน. ฉบับท่ี 5 (ปี 2563–2565)

 เดอื นเมษำยน 2562
- ออกแบบสำรวจสภำพแวดลอ้ ม และดำเนนิ กำรสำรวจฯ กบั ผู้บรหิ ำรระดับสูง

 เดือนพฤษภำคม 2562
- นำเสนอผลกำรสำรวจฯ และผลวิเครำะห์สมรรถนะหลักขององค์กร/ควำมสำมำรถพิเศษ
(Core Competency : CC) ควำมได้เปรียบเชิงยุทธศำสตร์ (Strategic Adventage: SA)
ควำมท้ำทำยเชิงยุทธศำสตร์ (Strategic Challenge : SC ) วัตถุประสงค์เชิงยุทธศำสตร์
(Strategic Objective :SO) ตัวชี้วัดและค่ำเป้ำหมำยต่อคณะกรรมกำรขับเคล่ือนนโยบำย
องค์กร (Steering Committee)

 เดือนกรกฎำคม 2562
- ประชุมเชิงปฏิบัติกำรร่วมกับผู้บริหำรระดับฝ่ำยและเทียบเท่ำข้ึนไป ทบทวนแผนปฏิบัติงำน
ปงี บประมำณ 2563 และจดั ทำรำ่ งแผนปฏิบัตงิ ำน ปงี บประมำณ 2564-2565

- ประชุมวิพำกษ์แผนวิสำหกิจกำรประปำนครหลวง ฉบับท่ี 5 (ปี2563 - 2565) โดยผู้มีส่วนได้

ส่วนเสีย คณะกรรมกำร กปน.และผู้บริหำรระดับสูงของ กปน. เพ่ือรับฟังควำมคิดเห็นและ
ขอ้ เสนอแนะเพ่ือนำไปปรบั ปรงุ แผนวสิ ำหกจิ กปน. ใหม้ ีควำมครบถ้วนสมบูรณย์ งิ่ ข้นึ
 เดือนสิงหำคม 2562
- นำเสนอขอควำมเหน็ ชอบต่อคณะกรรมกำร กปน. และนำมำใชเ้ ป็นแนวทำงกำรดำเนนิ งำนต่อไป

รูปภำพ : สรปุ กำรประชมุ และสัมมนำเชงิ ปฏิบัติกำรที่เก่ียวข้อง

4

แผนวสิ าหกิจ กปน. ฉบับท่ี 5 (ปี 2563–2565)

2.2 กำรตอบสนองตอ่ กฎหมำยและนโยบำยภำครฐั

กปน.จัดทำแผนวิสำหกิจ กปน. ฉบับที่ 5 โดยได้พิจำรณำจัดทำตำมกรอบยุทธศำสตร์ชำติ (พ.ศ.
2561 – 2580) ซ่ึงเป็นเป้ำหมำยกำรพัฒนำประเทศอย่ำงย่ังยืนตำมหลักธรรมำภิบำล เพื่อใช้เป็นกรอบในกำร
จดั ทำแผนต่ำงๆใหส้ อดคล้องและบรู ณำกำรกัน รวมทัง้ บรบิ ทกฎหมำยต่ำงๆท่ีเก่ียวข้องได้ถูกนำมำประกอบกำร
จดั ทำแผนวิสำหกิจ กปน. กลำ่ วคือ

รัฐธรรมนูญแหง่ รำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2560

มำตรำ 56 รัฐต้องจัดหำหรือดำเนินกำรให้มีสำธำรณูปโภคขั้นพ้ืนฐำนท่ีจำเป็นต่อกำรดำรงชีพของ
ประชำชนอยำ่ งถวั่ ถงึ ตำมหลักกำรพฒั นำอยำ่ งยง่ั ยืน

โครงสร้ำงหรือโครงข่ำยขั้นพื้นฐำนของกิจกำรสำธำรณูปโภคขั้นพื้นฐำนของรัฐอันจำเป็นต่อกำร
ดำรงชวี ิตของประชำชนหรือเพ่อื ควำมมั่นคงของรฐั รัฐจะกระทำดว้ ยประกำรใดให้ตกเปน็ กรรมสิทธ์ิ ของเอกชน
หรือทำให้รัฐเป็นเจ้ำของนอ้ ยกวำ่ ร้อยละห้ำสิบเอ็ดมไิ ด้

กำรจัดหรือดำเนินกำรให้มีสำธำรณูปโภคตำมวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง รัฐต้องดูแลมิให้มีกำรเรียกเก็บ
ค่ำบริกำรจนเป็นภำระแก่ประชำชนเกนิ สมควร

กำรนำสำธำรณูปโภคของรัฐไปให้เอกชนดำเนินกำรทำงธุรกิจไม่ว่ำด้วยประกำรใดๆ รัฐต้องได้รับ
ประโยชน์ตอบแทนอย่ำงเป็นธรรม โดยคำนึงถึงกำรลงทุนของรัฐ ประโยชน์ที่รัฐและเอกชนจะได้รับ และ
ค่ำบรกิ ำรท่จี ะเรียกเกบ็ จำกประชำชนประกอบกนั

มำตรำ 72 รัฐพงึ ดำเนินกำรเก่ียวกบั ท่ดี นิ ทรัพยำกรน้ำ และพลังงำน ดงั ต่อไปน้ี
(1) วำงแผนกำรใช้ทดี่ ินของประเทศใหเ้ หมำะสมกับสภำพของพื้นทแี่ ละศกั ยภำพของทดี่ ิน ตำม
หลักกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืน
(2) จัดใหม้ ีกำรวำงผงั เมืองทุกระดับและบังคบั กำรให้เป็นไปตำมผังเมืองอย่ำงมปี ระสิทธภิ ำพ รวม
ตลอดท้งั พัฒนำเมืองให้มีควำมเจรญิ โดยสอดคล้องกับควำมต้องกำรของประชำชนในพื้นท่ี
(3) จดั ให้มีมำตรกำรกระจำยกำรถือครองท่ดี ินเพ่ือใหป้ ระชำชนสำมำรถมที ่ีทำกนิ ได้อย่ำงทวั่ ถงึ
และเปน็ ธรรม
(4) จัดให้มีทรพั ยำกรน้ำท่ีมีคุณภำพและเพยี งพอตอ่ กำรอุปโภคบรโิ ภคของประชำชน รวมทัง้ กำร
ประกอบเกษตรกรรม อุตสำหกรรม และกำรอื่น
(5) สง่ เสรมิ กำรอนรุ กั ษพ์ ลงั งำนและกำรใช้พลังงำนอย่ำงคุ้มค่ำ รวมทั้งพฒั นำและสนบั สนุน ให้มี
กำรผลิตและกำรใชพ้ ลงั งำนทำงเลือกเพื่อเสรมิ สรำ้ งควำมม่ันคงด้ำนพลังงำนอย่ำงยั่งยืน

กปน. เปน็ รฐั วิสำหกิจท่ตี ้องยึดหลักกำรดำเนนิ งำนภำยใตร้ ัฐธรรมนูญแหง่ รำชอำณำจักรไทย มี
ภำรกจิ รบั ผดิ ชอบทต่ี ้องดำเนินกำรอย่ำงเคร่งครัดโดยเฉพำะในมำตรำ 56 และ มำตรำ 72 (4)

5

แผนวิสาหกจิ กปน. ฉบบั ท่ี 5 (ปี 2563–2565)

ยุทธศำสตร์ชำติ (พ.ศ. 2561 – 2580)

ยุทธศำสตร์ชำติ (พ.ศ. 2561 – 2580) เป็นยุทธศำสตร์ในกำรขับเคล่ือนประเทศให้บรรลุเป้ำหมำย
กำรพัฒนำประเทศ คือ“ประเทศชำติมน่ั คง ประชำชนมีควำมสขุ เศรษฐกจิ พฒั นำอย่ำงตอ่ เนื่อง สังคมเป็นธรรม
ฐำนทรัพยำกรธรรมชำติยง่ั ยนื ” ท้ังน้ี ยุทธศำสตร์ชำติระยะ 20 ปี ประกอบด้วย 6 ยุทธศำสตร์ ดังน้ี

1) ยทุ ธศำสตร์ชำติดำ้ นควำมม่นั คง
2) ยุทธศำสตรช์ ำติด้ำนกำรสรำ้ งควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน
3) ยทุ ธศำสตรช์ ำติดำ้ นกำรพัฒนำและเสรมิ สร้ำงศกั ยภำพทรพั ยำกรมนษุ ย์
4) ยทุ ธศำสตร์ชำติดำ้ นกำรสรำ้ งโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม
5) ยทุ ธศำสตร์ชำตดิ ้ำนกำรสรำ้ งกำรเตบิ โตบนคณุ ภำพชีวติ ท่ีเปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม
6) ยทุ ธศำสตรช์ ำตดิ ำ้ นกำรปรบั สมดลุ และพัฒนำระบบกำรบรหิ ำรภำครฐั

รูปภำพ : ยุทธศำสตร์ชำติ (พ.ศ. 2561 – 2580)
กปน. เป็นรัฐวิสำหกิจท่ีเป็นกลไกสำคัญประกำรหนึ่งในกำรขับเคลื่อนให้ประเทศก้ำวสู่วิสัยทัศน์ของ
ประเทศ ซ่ึงจะมบี ทบำทสนบั สนุนกำรขบั เคลอื่ นยทุ ธศำสตร์ ด้ำนที่ 2 กำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขันโดยกำร
ขยำยกำลังกำรผลิตรองรับอนำคตยุทธศำสตร์ชำติ ด้ำนท่ี 4 กำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม ในเร่ือง
กำรพัฒนำระบบบริกำรเพ่ือสุขภำพที่ดี โดยกำรส่งมอบน้ำประปำปลอดภัยให้กับประชำชนทุกกลุ่มอย่ำงเท่ำเทียม
กนั สรำ้ งอำชพี ผำ่ นช่ำงประปำเพ่ือประชำชน ยุทธศำสตร์ ด้ำนที่ 5 กำรสร้ำงกำรเติบโตบนคุณภำพชีวิตที่เป็นมิตร
กับส่ิงแวดล้อม โดยดำเนินกิจกรรมสนับสนุนกำรวำงระบบบริหำรจัดกำรน้ำอย่ำงมีประสิทธิภำพกำรส่งเสริม
กิจกรรมเชงิ สงั คมและเป็นมิตรตอ่ ส่งิ แวดลอ้ มและยทุ ธศำสตร์ ด้ำนท่ี 6 กำรปรับสมดุลและพัฒนำระบบกำรบริหำร
จัดกำรภำครัฐ

6

แผนวิสาหกจิ กปน. ฉบับท่ี 5 (ปี 2563–2565)

แผนพฒั นำเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ ฉบบั ที่ 12
แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 12 มุ่งบรรลุเป้ำหมำยในระยะ 5 ปี ท่ีจะสำมำรถ
ถ่ำยทอดในระยะต่อไปเพอ่ื ให้บรรลเุ ป้ำหมำยกำรพัฒนำระยะยำวตำมยทุ ธศำสตรช์ ำติ โดยมยี ทุ ธศำสตร์ท่ีสำคัญ
10 ยทุ ธศำสตร์ คือ
1) กำรเสรมิ สร้ำงและพฒั นำศกั ยภำพทนุ มนุษย์
2) กำรเสริมสร้ำงควำมเปน็ ธรรมลดควำมเหลือ่ มล้ำในสังคม
3) กำรสร้ำงควำมเข้มแขง็ ทำงเศรษฐกจิ และแข่งขนั ไดอ้ ยำ่ งยัง่ ยืน
4) กำรเติบโตทเี่ ป็นมติ รกับสิง่ แวดลอ้ มเพอื่ กำรพัฒนำอยำ่ งย่งั ยนื
5) กำรเสรมิ สร้ำงควำมมนั่ คงแหง่ ชำติเพือ่ กำรพฒั นำประเทศสคู่ วำมมง่ั ค่ังและยง่ั ยนื
6) กำรบรหิ ำรจัดกำรในภำครฐั กำรปอ้ งกนั กำรทจุ ริตประพฤติมชิ อบและธรรมำภิบำลในสังคมไทย
7) กำรพัฒนำโครงสรำ้ งพนื้ ฐำนและระบบโลจิสตกิ ส์
8) กำรพัฒนำวทิ ยำศำสตร์ เทคโนโลยี วจิ ยั และนวตั กรรม
9) กำรพัฒนำภำคเมอื งและพ้นื ท่เี ศรษฐกิจ
10) ควำมร่วมมือระหว่ำงประเทศเพื่อกำรพัฒนำ

7

แผนวสิ าหกิจ กปน. ฉบับท่ี 5 (ปี 2563–2565)

ท้ังน้ี กปน. เป็นรัฐวิสำหกิจซึ่งเป็นกลไกสำคัญประกำรหนึ่งในกำรขับเคล่ือนให้ประเทศก้ำวสู่
เป้ำหมำยอนำคตท่ีวำงไว้ จึงจำเป็นต้องกำหนดทิศทำงกำรดำเนินงำนขององค์กรให้สอดรับตำมแผนพัฒนำฯ
ดงั กลำ่ ว ทง้ั น้ี กปน. มสี ว่ นสนบั สนุนแผนพฒั นำฯ ฉบับที่ 12 ในดำ้ นที่ 2 กำรสร้ำงควำมเป็นธรรมและลดควำม
เหลื่อมล้ำในสังคม กำรช่วยพัฒนำอำชีพและกำรให้บริกำรน้ำประปำอย่ำงท่ัวถึง เพียงพอ และม่ันคงจะช่วย
สนับสนุนยทุ ธศำสตรด์ งั กลำ่ วนี้ ดำ้ นที่ 3 กำรสร้ำงควำมเข้มแขง็ ทำงเศรษฐกจิ และแข่งขันได้อย่ำงยั่งยืนโดยกำร
ปรับปรุงประบบประปำ ของ กปน. ด้ำนท่ี 4 กำรเติบโตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อกำรพัฒนำที่ย่ังยืน กำร
ส่งเสรมิ กิจกรรมเชิงสังคมและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (CSR) จะมีส่วนสนับสนุนยุทธศำสตร์ดังกล่ำวน้ี ด้ำนที่ 6
กำรบริหำรจัดกำรในภำครัฐ กำรป้องกันกำรทุจริตประพฤติมิชอบ และธรรมำภิบำลในสังคมไทยกำรปรับปรุง
โครงสร้ำงองค์กร กำรยกระดับขีดควำมสำมำรถองค์กรและกำรยกระดับกำรบริหำรจัดกำรด้ำนธรรมำภิบำล
ของ กปน. จะมสี ว่ นสนบั สนนุ ยทุ ธศำสตรด์ ังกล่ำวนี้ ด้ำนที่ 7 กำรพัฒนำโครงสร้ำงพื้นฐำนและระบบโลจิสติกส์
โดยประเด็นทีเ่ กีย่ วขอ้ งโดยตรง คือ ประเด็นดำ้ นกำรพฒั นำดำ้ นสำธำรณูปโภค (น้ำประปำ) : กำหนดให้จำนวน
ครัวเรือนในเขตนครหลวงได้รับบริกำรน้ำประปำร้อยละ 100 ภำยในปี 2561 และจำนวนครัวเรือนในเขต
ภูมิภำค/เทศบำลได้รับบริกำรน้ำประปำครอบคลุมมำกกว่ำร้อยละ 80 ในปี 2564 อัตรำน้ำสูญเสียในระบบส่ง
และจำหน่ำยน้ำในเขตนครหลวงน้อยกว่ำร้อยละ 20 และในเขตภูมิภำค/เทศบำลน้อยกว่ำร้อยละ 25 ในปี
2564 และด้ำนท่ี 8 กำรพฒั นำวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรมกำรใช้นวัตกรรมเพ่ือเหลื่อมล้ำและ
ยกระดับคุณภำพชีวิตของประชำชน พัฒนำบุคลำกรและส่งเสริมงำนวิจัยจะมีส่วนสนับสนุนยุทธศำสตร์
ดังกลำ่ ว

8

แผนวิสาหกจิ กปน. ฉบบั ท่ี 5 (ปี 2563–2565)

แผนแม่บทภำยใตย้ ทุ ธศำสตรช์ ำติ
คณะกรรมกำรจดั ทำยทุ ธศำสตร์ชำติแตล่ ะดำ้ นจัดทำแผนแม่บทเพอื่ บรรลเุ ปำ้ หมำยตำมที่กำหนดไว้
ในยุทธศำสตร์ชำติเสนอต่อคณะกรรมกำรยุทธศำสตร์ชำติและคณะรัฐมนตรี โดยได้มีประกำศสำนัก
นำยกรัฐมนตรี เรื่อง กำรประกำศแผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ (พ.ศ.2561- 2580) ประกอบไปด้วยแผน
แม่บทท้งั สิ้น 23 แผน ดงั นี้
1) ประเด็น ควำมม่ันคง
2) ประเดน็ กำรต่ำงประเทศ
3) ประเดน็ กำรเกษตร
4) ประเดน็ อตุ สำหกรรมและบรกิ ำรแหง่ อนำคต
5) ประเดน็ กำรทอ่ งเทีย่ ว
6) ประเดน็ พืน้ ทีแ่ ละเมอื งนำ่ อยู่อจั ฉริยะ
7) ประเดน็ โครงสร้ำงพ้นื ฐำน ระบบโลจสิ ติกส์ และดจิ ิทัล
8) ประเดน็ ผู้ประกอบกำรและวิสำหกจิ ขนำดกลำงและขนำดยอ่ มยคุ ใหม่
9) ประเดน็ เขตเศรษฐกิจพเิ ศษ
10) ประเดน็ กำรปรับเปลี่ยนคำ่ นิยมและวัฒนธรรม
11) ประเดน็ กำรพฒั นำศักยภำพคนตลอดช่วงชวี ติ
12) ประเดน็ กำรพัฒนำกำรเรียนรู้
13) ประเด็น กำรเสริมสร้ำงใหค้ นไทยมีสุขภำวะท่ดี ี
14) ประเดน็ ศักยภำพกำรกีฬำ
15) ประเด็น พลงั ทำงสังคม
16) ประเด็น เศรษฐกจิ ฐำนรำก
17) ประเด็น ควำมเสมอภำคและหลกั ประกันทำงสงั คม
18) ประเด็น กำรเตบิ โตอย่ำงยั่งยนื
19) ประเด็น กำรบริหำรจัดกำรน้ำท้งั ระบบ
20) ประเด็น กำรบรกิ ำรประชำชน และประสิทธภิ ำพภำครฐั
21) ประเดน็ กำรต่อตำ้ นกำรทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ
22) ประเด็น กฎหมำยและกระบวนกำรยตุ ธิ รรม
23) ประเดน็ กำรวิจัยและพัฒนำนวตั กรรม

9

แผนวิสาหกิจ กปน. ฉบับท่ี 5 (ปี 2563–2565)

กปน. เปน็ หน่วยงำนสนับสนนุ กำรดำเนินงำนของหน่วยงำนซึ่งเป็นเจ้ำภำพหลักภำยใต้แผนแม่บท
ซึง่ มที ั้งสิน้ 23 ฉบับ โดย กปน. มีส่วนท่ีให้กำรสนับสนุนดังน้ีประเด็นที่ 6 พื้นท่ีและเมืองน่ำอยู่อัจฉริยะ ในกำร
พัฒนำโครงสร้ำงพื้นฐำน สร้ำงงำน จัดกำรส่ิงแวดล้อมของเมืองให้เป็นเมืองน่ำอยู่ประเด็นที่ 19 กำรบริหำร
จัดกำรน้ำท้ังระบบ กำรจัดกำรน้ำประปำกำรบริโภคและอุปโภค เกษตรกรรม อุตสำหกรรม รวมถึงเพื่อปรับ
สมดุลของระบบนิเวศ กำรใช้น้ำเพื่อกำรผลิตและอุปโภคอย่ำงมีประสิทธิภำพและจัดกำรภัยพิบัติด้ำนน้ำ
ประเด็นที่ 20 กำรบริกำรประชำชนและประสิทธิภำพภำครัฐ พัฒนำระบบกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐให้มีควำม
ทันสมัย ภำครัฐมีขนำดเหมำะสมกับภำรกิจ มีสมรรถนะสูง ตอบสนองปัญหำควำมต้องกำรของประชำชนและ
สนับสนุนให้เป็นประเทศไทย 4.0 ประเด็น 21 กำรต่อต้ำนกำรทุจริตและประพฤติมิชอบเพื่อให้ภำครัฐมีควำม
โปร่งใส ปลอดกำรทุจริตและประพฤติมิชอบ และประเด็น 23 กำรวิจัยและพัฒนำนวัตกรรมโดยส่งเสริมกำรวิจัย
และพฒั นำนวัตกรรมภำยใน กปน.

แผนกำรปฏิรปู ประเทศ 11 ด้ำน

1) กำรปฏริ ปู ประเทศดำ้ นกำรเมอื ง
2) กำรปฏิรปู ประเทศด้ำนกำรบริหำรรำชกำรแผน่ ดิน
3) กำรปฏิรูปประเทศด้ำนกฎหมำย
4) กำรปฏิรูปประเทศดำ้ นกระบวนกำรยตุ ธิ รรม
5) กำรปฏริ ูปประเทศดำ้ นเศรษฐกจิ
6) กำรปฏิรูปประเทศด้ำนทรพั ยำกรธรรมชำติและสิง่ แวดล้อม
7) กำรปฏริ ปู ประเทศดำ้ นสำธำรณสขุ
8) กำรปฏิรูปประเทศด้ำนสอื่ สำรมวลชน เทคโนโลยีสำรสนเทศ
9) กำรปฏิรปู ประเทศดำ้ นสงั คม
10) กำรปฏิรูปประเทศดำ้ นพลังงำน
11) กำรปฏริ ปู ประเทศดำ้ นกำรป้องกนั และปรำบปรำมกำรทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ
กปน. เป็นหน่วยงำนสนับสนุนแผนปฏิรูป ด้ำนท่ี 2 ด้ำนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน สำมำรถ
ตอบสนองควำมตอ้ งกำรและควำมคำดหวงั ของประชำชนที่หลำกหลำย ได้อย่ำงมีประสิทธิผล พัฒนำโครงสร้ำง
ให้ทันสมัย กะทัดรัด ปรับตัวได้ทันต่อกำรเปล่ียนแปลง และระบบงำนภำครัฐมีผลสัมฤทธิ์สูง พัฒนำกำลังคน
ภำครัฐให้มีสมรรถนะสูง ปฏิบัติงำนอย่ำงมีคุณภำพ และยึดมั่น ในคุณธรรม พร้อมนำกำรพัฒนำประเทศ และ
ด้ำนที่ 11 ด้ำนกำรปอ้ งกันและปรำบปรำมกำรทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบมีมำตรกำรควบคุม กำกับ ติดตำม กำร
บริหำรจัดกำรของหน่วยงำน โดยเฉพำะกำรปฏิบัติหน้ำท่ีด้วยควำมซื่อตรง (Integrity) สุจริตของบุคลำกรมีกำร
เปิดเผยข้อมลู ข่ำวสำรภำครฐั ใหป้ ระชำชนสำมำรถเขำ้ ถงึ และตรวจสอบได้

10

แผนวิสาหกิจ กปน. ฉบับท่ี 5 (ปี 2563–2565)

Thailand 4.0
ประเทศไทยในอดตี ทผี่ ่ำนมำมกี ำรพัฒนำเศรษฐกจิ อย่ำงตอ่ เนื่อง ตั้งแต่โมเดล Thailand 1.0 ที่เน้น
ภำคกำรเกษตร ไปสู่ Thailand 2.0 ที่เน้นอุตสำหกรรมเบำ และก้ำวสู่โมเดล Thailand 3.0 ในปัจจุบันที่เน้น
อตุ สำหกรรมหนัก
Thailand 4.0 เปน็ แนวคิดในกำรพัฒนำประเทศทีเ่ ปน็ แนวทำงใหมซ่ ง่ึ ตำ่ งจำกแนวคดิ กำรพฒั นำแบบเดมิ
ทอี่ ำศัยทุนและกำรลงทุนจำกต่ำงชำติ โดยเป็นควำมมุ่งม่ันในกำรปรับเปลี่ยนโครงสร้ำงเศรษฐกิจไปสู่ Value-Based
Economy หรือ เศรษฐกิจท่ีขบั เคล่อื นด้วยนวัตกรรม โดยเนน้ ใหเ้ กดิ กำรเปล่ียนแปลงใน 3 มติ ิสำคัญ คอื
o เปล่ียนจำกกำรผลิตสนิ ค้ำ “โภคภณั ฑ”์ ไปสู่สนิ ค้ำเชงิ “นวัตกรรม”
o เปล่ียนจำกกำรขับเคลื่อนประเทศด้วย “ภำคอุตสำหกรรม” ไปสู่กำรขับเคลื่อนด้วย

“เทคโนโลยี ควำมคิดสร้ำงสรรค์ และนวัตกรรรม”
o เปลี่ยนจำกกำรเนน้ ผลติ “สนิ คำ้ ” ไปสกู่ ำรเนน้ “ภำคบริกำร”
แนวคิด "Thailand 4.0" นี้จึงมีเป้ำหมำยท่ีจะพัฒนำประเทศไทยไปสู่ควำมมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
ได้ ซ่ึงจะทำให้สังคมไทยเป็นสังคมท่ีมีควำมหวัง (Hope) มีควำมสุข (Happy) และควำมสมำนฉันท์
(Harmony) ไดอ้ ยำ่ งแทจ้ ริง กปน. ในฐำนะท่ีเป็นหน่วยงำนรัฐวิสำหกิจท่ีให้บริกำรน้ำประปำซ่ึงเป็นระบบ
โครงสร้ำงพ้ืนฐำนหลักของทุกภำคส่วนในประเทศ ควรมีส่วนช่วยในกำรสนับสนุนกำรพัฒนำประเทศตำม
แนวคิด Thailand 4.0 โดยเน้นด้ำนกำรพัฒนำระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรในทุกกระบวนงำน
อยำ่ งเป็นระบบ เพ่ือประสิทธิภำพกำรให้บริกำร สนับสนุนกำรสร้ำงสังคมแห่งกำรเรียนรู้ โดยมีกำรวำงเส้นทำง
กำรพัฒนำองค์กรโดยมุ่งก้ำวสู่กำรบูรณำกำรเทคโนโลยีเพื่อเพ่ิมประสิทธิภำพ (SMART IT & Technology)
และยกระดับองค์กรสกู่ ำรเป็น SMART MWA

11

แผนวสิ าหกจิ กปน. ฉบบั ท่ี 5 (ปี 2563–2565)

2.3 กำรเปลย่ี นแปลงที่สำคัญ (Key Change)

กำรเปลีย่ นแปลงท่ีสำคัญ เป็นสภำพแวดลอ้ มขององค์กรท่ีมกี ำรเปลี่ยนแปลง ซ่ึงองคก์ รควรมีกำร
เตรยี มควำมพรอ้ มรบั มือต่อกำรเปลยี่ นแปลงท่จี ะเกิดขนึ้ ผำ่ นกำรกำหนดกลยุทธ์และแผนรองรบั อยำ่ งเหมำะสม

กำรเปล่ยี นแปลงท่ีสำคญั ลักษณะ

1. นโยบำยภำครัฐ จดั ตั้งคณะกรรมกำร/องคก์ ร กำกบั ดูแลกิจกำรประปำและน้ำเสยี
- กำรกำกบั ดแู ลและกำรควบรวมกจิ กำรของรฐั กำหนดทศิ ทำงกจิ กำรดำ้ นนำ้ รวมทงั้ กำรใช้ PPP เปน็ ทำงเลือกใน
(Regulator& Merger) กำรพัฒนำประเทศอย่ำงมีประสิทธภิ ำพ โดยเอกชนจะเขำ้ มสี ่วน
- กำรรว่ มลงทนุ ระหวำ่ งภำครฐั และภำคเอกชนใน ร่วมในกิจกรรมต่ำงๆ ลดกำรพง่ึ พำกำรลงทนุ ของรัฐ
กจิ กำรของรฐั (Public-Private Partnerships :PPP)
กำรเตบิ โตพ้ืนที่บรเิ วณชำยขอบ กทม.
2. กำรเจรญิ เติบโตของเมอื งและกำรขนสง่ กำรใช้พน้ื ทใี่ นเมืองหนำแนน่ สง่ ผลตอ่ พื้นท่วี ำงท่อ
(Urbanization&Transportation)

3. กำรพฒั นำเมอื งอจั ฉริยะ (Smart city)  กำรใช้เทคโนโลยอี ำนวยควำมสะดวก
4. สังคมผ้สู ูงวัย  กำรบรู ณำกำรระหว่ำงหน่วยงำนภำครฐั
5. กระแสใสใ่ จสขุ ภำพ สุขอนำมัยทีด่ ี  กำรใชน้ ำ้ อยำ่ งร้คู ณุ คำ่ และเป็นมติ รต่อส่งิ แวดล้อม
6. สังคมไรเ้ งนิ สด
 ขำดแคลนแรงงำน
7. บทบำทของผ้มู สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี  ผลติ ภณั ฑ์/บรกิ ำรทตี่ อบสนองผสู้ งู อำยุ
8. Disruptive Technology
 ส่งมอบคุณภำพนำ้ -คุณภำพผลติ ภณั ฑท์ ี่ดไี ปถงึ ผู้บรโิ ภค
9. Climate Change  กำรรอ้ งเรียนเร่ืองคณุ ภำพน้ำคอ่ นขำ้ งรุนแรง

 กำรทำธุรกรรมทำงกำรเงินเปลี่ยนแปลงไปสรู่ ะบบกำรโอนเงนิ ผ่ำน
ทำงอนิ เทอร์เนต็ สง่ ผลตอ่ กำรเปลยี่ นบทบำทหนำ้ ท่ีของบคุ ลำกร
หนำ้ เคำน์เตอรร์ ับชำระเงนิ

 ต้องพัฒนำบริกำรดจิ ิทลั บรกิ ำรแห่งอนำคต

 กำรตอ่ ตำ้ นกำรดำเนนิ งำนจำกชุมชนในพื้นทีท่ ่ไี ดร้ ับผลกระทบ
 ผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ตอ้ งกำรกำรมสี ว่ นรว่ มและรบั ทรำบขอ้ มูลมำก

ขนึ้

AI / Machine Learning ใช้ประโยชน์ขอ้ มลู จำก IOT
Block chain ภำพลกั ษณ์ ควำมนำ่ เชอ่ื ถอื ทนั สมัย
ควำมปลอดภยั ของข้อมูล
กำรป้องกันควำมเสยี่ งสง่ ผลตอ่ ควำมตอ่ เน่ืองในกำรดำเนินธรุ กิจ
Open Data กำรเปดิ เผยข้อมลู บรู ณำกำรกำรใชข้ ้อมูลรว่ มกนั

ฤดกู ำลผดิ ปกติ ส่งผลต่อปริมำณนำ้ ในเขื่อน
คุณภำพแหล่งน้ำดิบมปี ัญหำ ส่งผลตอ่ กำรผลติ น้ำ

- นำ้ เค็มรุกลำ้ ถ่ี และนำนขึ้น
- สำหรำ่ ยอดุ ตันบอ่ กรอง

12

แผนวิสาหกิจ กปน. ฉบับที่ 5 (ปี 2563–2565)

- Climate Change - Cashless society - Transportation &
- Disruptive Technology - Aged Society Urbanization
- Smart city
- Healthy trend -Merger & Regulator - Stakeholder power

Global Country Area

รูปภำพ : สรปุ กำรเปล่ยี นแปลงท่สี ำคญั (Key Changes)

13

แผนวสิ าหกจิ กปน. ฉบบั ท่ี 5 (ปี 2563–2565)

บทที่ 3 แผนวิสำหกจิ กปน. ฉบบั ท่ี 5 (ปี 2563– 2565)

กำรจัดทำแผนวิสำหกิจ กปน. ประกอบไปด้วย กำหนดทิศทำงองค์กรด้วยกำรทบทวนและกำหนด
วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ และคำ่ นยิ มที่คำนึงถงึ เป้ำหมำยหรอื ตำแหนง่ องค์กรในระยะยำว กำรวิเครำะห์สถำนภำพของ
กปน. เพื่อกำหนดประเดน็ ยทุ ธศำสตร์ในระดบั องค์กร กำรกำหนดยทุ ธศำสตร์หลัก วัตถุประสงค์เชิงยุทธศำสตร์
ดัชนีช้ีวัด (KPI) และเป้ำหมำยในระดับองค์กร กำรจัดทำแผนท่ีกลยุทธ์ (Strategy Map) และโครงกำร/
แผนงำนท่ีนำควำมได้เปรียบเชิงยุทธศำสตร์และควำมสำมำรถพิเศษ/สมรรถนะหลักมำพิจำรณำปรับใช้และ
สำมำรถรองรับควำมทำ้ ทำยเชิงยุทธศำสตร์ขององคก์ ร

3.1 ทิศทำงองคก์ ร (วสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ คำ่ นยิ ม)

วิสัยทัศน์และพันธกิจ ถือเป็นกรอบใหญ่และทิศทำงขององค์กรในกำรพัฒนำกลยุทธ์ สำหรับ
แผนวสิ ำหกจิ กปน. ฉบบั ที่ 5 (พ.ศ. 2563– 2565) โดยทิศทำงองคก์ รของ กปน. ได้มกี ำรพจิ ำรณำ

- ทบทวนทิศทำงองค์กรโดยผู้บริหำรระดับสูง ผ่ำนกำรประชุมเชิงปฏิบัติกำร Top Executive
Direction: TED เมื่อวนั ท่ี 18 กมุ ภำพันธ์ 2562

- ทบทวนทศิ ทำงองค์กรโดยคณะกรรมกำรกำรประปำนครหลวงเมื่อวนั ท่ี 27 กมุ ภำพันธ์ 2562
โดยวิสัยทศั น์ พันธกจิ ค่ำนยิ ม ของ กปน. ซึ่งเป็นทศิ ทำงกำรดำเนนิ งำนดังแสดงในภำพ

วิสัยทัศน์ เป็นองคก์ รสมรรถนะสูงทใ่ี ห้บริกำรงำนประปำ
VISION มธี รรมำภบิ ำล และได้มำตรฐำนในระดบั สำกล

พนั ธกจิ 1. กำรสรำ้ งกำรเตบิ โตและควำมย่ังยนื ขององค์กร
MISSION 2. ดำเนินกำรตำมแผนนำประปำปลอดภัยขององค์กำรอนำมัยโลก
ด้วยกำรพัฒนำระบบนำดบิ -ผลติ -จ่ำยให้มเี สถียรภำพ
3. พัฒนำงำนประปำอยำ่ งมืออำชพี ใหต้ อบสนองตอ่ ควำมต้องกำรของผมู้ ี
ส่วนได้สว่ นเสยี
4. สง่ เสริมคุณภำพชีวติ ท่ีดใี หป้ ระชำชนได้มนี ำประปำใช้ถว้ นหนำ้

คำ่ นิยม มุง่ ม่นั พฒั นำตน พัฒนำงำน บรกิ ำรสังคม ด้วยควำมโปร่งใส ใส่ใจ
SHARED คุณภำพ (QWATER)
VALUE

รปู ภำพ : วิสยั ทศั น์ พันธกจิ ค่ำนยิ ม ของ กปน.

14

แผนวิสาหกจิ กปน. ฉบบั ท่ี 5 (ปี 2563–2565)

วิสยั ทัศน์
“เป็นองคก์ รสมรรถนะสูงทใี่ ห้บรกิ ำรงำนประปำ มีธรรมำภิบำล และไดม้ ำตรฐำนในระดับสำกล”

องค์กรสมรรถนะสูง คือ องค์กรท่ีสำมำรถปรับเปลี่ยนเพื่อให้องค์กรประสบผลสำเร็จและมี
ควำมสำมำรถที่เด่นชัดในกำรสร้ำงมำตรฐำนกระบวนกำรทำงำนที่เป็นเลิศได้อย่ำงต่อเน่ือง มีผลงำนที่โดดเด่น
เป็นทยี่ อมรับและสรำ้ งผลตอบแทนต่อผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสียอย่ำงยั่งยืน

 กปน. ได้อ้ำงอิงควำมเป็นองค์กรสมรรถนะสูง โดยประยุกต์ใช้เกณฑ์รำงวัลคุณภำพแห่งชำติซ่ึงปรับมำ
จำกเกณฑ์ MBNQA ซึ่งเป็นเกณฑ์ที่เป็นท่ียอมรับกันอย่ำงแพร่หลำยในระดับสำกล เป็นเครื่องมือใน
กำรขับเคลื่อนองคก์ รสคู่ วำมเปน็ เลศิ

องคก์ ร เคร่อื งมือในการพฒั นาองค์กรสู่ HPO องค์กรสมรรถนะสูง
Organization High Performance Organization :
เกณฑ์รางวลั คุณภาพแห่งชาติ
Thailand Quality Award : TQA HPO

กระบวนการที่เปน็ เลิศ ผลลพั ธท์ ี่เป็นเลิศ
Excellence Process Excellence

Performance& Result

เกณฑ์บริหำรสู่ควำมเป็นเลิศสำมำรถใชส้ ร้ำงควำมเข้มแขง็ ให้กบั องคก์ ร โดยเป็นเครื่องมือท่ีช่วยในกำร
ตรวจสอบส่วนตำ่ งๆ ของระบบบรหิ ำรจัดกำรองค์กรและปรับปรงุ กระบวนกำร องคก์ รท่ีมีกำรบริหำรจดั กำรท่ี
เปน็ เลิศตำมผลกำรตรวจประเมินตำมเกณฑด์ ังกล่ำวจะไดร้ ับรำงวลั เพื่อเป็นเคร่อื งหมำยรับรองซ่ึงบ่งบอกถงึ
ควำมเปน็ เลิศ หรอื ควำมเป็นองค์กรสมรรถนะสงู รำงวลั แบ่งเป็น 2 ระดับ คือ

o รำงวัลคุณภำพแห่งชำติ หรอื รำงวลั TQA : Thailand Quality Award
สำหรับองค์กรทม่ี คี ะแนนผลกำรตรวจประเมินโดยรวมสงู กว่ำ 650 คะแนน

o รำงวลั กำรบรหิ ำรสู่ควำมเป็นเลศิ หรอื รำงวลั TQC : Thailand Quality Class
สำหรบั องค์กรท่ีมคี ะแนนผลกำรตรวจประเมินโดยรวมสูงกวำ่ 350 คะแนน แต่ไม่ถงึ 650 คะแนน

 องคก์ รประปำช้นั นำท่ีเป็นท่ยี อมรบั วำ่ เป็นองค์กรประปำสมรรถนะสงู ม่งุ เนน้ กำรพฒั นำกำรบริกำรงำน
ประปำอย่ำงต่อเน่ืองผำ่ นกำรกำหนดตัวช้วี ัดด้ำนงำนประปำหลัก 6 ด้ำน อันได้แก่
(1) Water Quality
(2) Water Supplies
(3) Water Distribution
(4) Customer Services
(5) Finance
(6) Operation

15

แผนวิสาหกิจ กปน. ฉบับท่ี 5 (ปี 2563–2565)

โดยทศิ ทำงองคก์ รม่งุ เน้นผลกั ดันด้ำนที่องค์กรยังมีช่องว่ำงในกำรพัฒนำอยู่ (เมื่อเทียบกับคู่เทียบ) เพ่ือ
ขับเคลื่อนองค์กรให้ก้ำวสู่องค์กรงำนประปำสมรรถนะสูง คือ ด้ำน Water Quality และ ด้ำน Water
Distribution (Water Loss)

กำรมีธรรมำภิบำล หรอื Corporate Governanceคือ กำรปกครอง กำรบริหำร กำรจดั กำร
กำรควบคุมดูแล กจิ กำรตำ่ ง ๆ ให้เป็นไปในครรลองธรรม นอกจำกน้ียังหมำยถึงกำรบรหิ ำรจัดกำรท่ีดีตำม

 หลกั เกณฑ์กำรกำกบั ดแู ลกิจกำรท่ดี ีของตลำดหลักทรพั ย์แห่งประเทศไทยประกอบดว้ ย
(1) หลกั นิตธิ รรม (2) หลกั คุณธรรม (3) หลกั ควำมโปรง่ ใส (4) หลักกำรมีส่วนรว่ ม
(5) หลักควำมรบั ผิดชอบต่อผลกำรปฏิบัตหิ นำ้ ท่ี (6) หลกั ควำมมีประสิทธภิ ำพและประสิทธิผล

 กำรประเมินคุณธรรมและควำมโปร่งใสในกำรดำเนินงำนของหน่วยงำนภำครัฐ (ITA : INTEGRITY
AND TRANSPARENCY ASSESSMENT)
กรอบแนวคิดกำรประเมินของ ITA มีทั้งหมด 5 เร่ือง ได้แก่ (1) ประเมินควำมโปร่งใส (2) ประเมิน

ควำมรบั ผิดชอบ (3) ประเมินกำรทุจริตคอร์รัปชัน (4) ประเมินวัฒนธรรมคุณธรรม และ (5) ประเมินคุณธรรม
กำรทำงำน

ITA เป็นดัชนีท่ีพยำยำมสร้ำงออกมำให้เป็นรูปธรรมเท่ำท่ีผู้ประเมินจะทำได้ เพรำะหลังจำกกำร
ดำเนินกำรแล้ว ผู้ประเมนิ จะคำนวณคะแนนคุณธรรมและควำมโปร่งใสในกำรดำเนินงำนของหน่วยงำนภำครัฐ
โดยรวมออกมำ

คำ่ ITA อยรู่ ะหว่ำง 0-100 ถำ้ หนว่ ยงำนใดมีค่ำระดบั ITA เข้ำใกล้ 100 แสดงว่ำหน่วยงำนน้ัน มีระดับ
คุณธรรมและควำมโปร่งใสกำรดำเนินงำนสูงมำก ขณะที่ค่ำ ITA เข้ำใกล้ 0 ก็แสดงว่ำ หน่วยงำนรัฐน้ันมีระดับ
ควำมโปรง่ ใสของกำรดำเนินงำนและคณุ ธรรมตำ่ มำก

เปำ้ หมำยวสิ ัยทัศน์ของ กปน.
เพ่ือให้ กปน. สำมำรถขับเคลื่อนองค์กรตำมวิสัยทัศน์ในกำรมุ่งก้ำวสู่กำร “เป็นองค์กรสมรรถนะสูงที่

ให้บรกิ ำรงำนประปำ มีธรรมำภิบำล และได้มำตรฐำนในระดับสำกล” ดังนั้น กปน. จึงกำหนดเป้ำหมำยตัวชี้วัด
กำรโดยประยุกต์ใช้“รำงวัลกำรบริหำรสู่ควำมเป็นเลิศ (Thailand Quality Class: TQC)” ซึ่งปรับมำจำก
เกณฑ์ MBNQA โดยเป็นเกณฑท์ เ่ี ปน็ ทีย่ อมรับกันอย่ำงแพร่หลำยในระดับสำกล เป็นเคร่ืองมือในกำรขับเคลื่อน
องค์กรสูค่ วำมเป็นเลิศ ควบคกู่ ับ กำรกำหนดเปำ้ หมำยตวั ชี้วัดด้ำนกำรบริกำรงำนประปำ และด้ำนธรรมำภิบำล
คอื คะแนน ITA

16

แผนวสิ าหกจิ กปน. ฉบับท่ี 5 (ปี 2563–2565)

รปู ภำพ : คำ่ เปำ้ หมำย วสิ ัยทศั น์ ของ กปน.

17

แผนวิสาหกจิ กปน. ฉบบั ท่ี 5 (ปี 2563–2565)

พันธกจิ

1. กำรสรำ้ งกำรเติบโตและควำมยัง่ ยืนขององค์กร
2. ดำเนนิ กำรตำมแผนนำ้ ประปำปลอดภยั ขององคก์ ำรอนำมัยโลก
ด้วยกำรพัฒนำระบบน้ำดิบ-ผลิต-จำ่ ยให้มเี สถยี รภำพ
3. พัฒนำงำนประปำอยำ่ งมืออำชีพให้ตอบสนองตอ่ ควำมต้องกำรของผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี
4. ส่งเสรมิ คุณภำพชวี ิตที่ดีให้ประชำชนได้มนี ้ำประปำใชถ้ ้วนหน้ำ

เป้ำหมำยพนั ธกจิ ของ กปน.

เพื่อให้กำรดำเนินงำนขององค์กรบรรลุเป้ำหมำยตำมพันธกิจ และขับเคล่ือนสู่เป้ำหมำยวิสัยทัศน์ของ
กปน. จึงกำหนดเป้ำหมำยของพันธกิจ ของ กปน. ตำมนัยสำคัญของควำมหมำยตำมพันธกิจทั้ง 4 ด้ำน
ดังข้อมูลในตำรำงตอ่ ไปนี้

นยั สำคญั ของควำมหมำยตำมพนั ธกจิ ทั้ง 4 ดำ้ น

พันธกจิ นัยสำคญั
ด้ำนท่ี 1 สรำ้ งกำรเตบิ โตและควำมย่งั ยนื ขององคก์ ร
ตำมคำนยิ ำมของ “ควำมยั่งยืน (Sustainability)” หลกั กำร
ด้ำนท่ี 2 ดำเนินกำรตำมแผนนำ้ ประปำปลอดภยั ของ
องค์กำรอนำมัยโลก ดว้ ยกำรพฒั นำระบบ Triple Bottom Line
นำ้ ดบิ – ผลติ – จำ่ ยใหม้ ีเสถยี รภำพ
มีองค์ประกอบสำคญั 3 ประเดน็ ดงั น้ี

o เงินทุน (Capital): องค์กรต้องมีเสถียรภำพทำงกำรเงิน
สร้ำงผลกำไรให้กับผู้ถือหุ้นได้ ซ่ึงแสดงถึงควำมม่ันคง
ขององคก์ ร

o สังคม (Social): กำรดำเนินงำนขององคก์ รต้องแสดงถึง
ควำมรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม

o ส่ิงแวดล้อม (Environment): องค์กรต้องมีมำตรกำร
ด้ำนสิ่งแวดล้อมเพ่ือเป็นกำรอนุรักษ์ทรัพยำกรสู่
คนรนุ่ หลัง

มีนัยสำคัญของควำมหมำย 2 ประเด็น ดงั น้ี

o กำรดำเนนิ กำรตำมแผนนำ้ ประปำปลอดภัย
o กำรสรำ้ งเสถียรภำพระบบประปำ

ด้ำนท่ี 3 พฒั นำงำนประปำอย่ำงมอื อำชีพให้ตอบสนองต่อ มีนัยสำคัญของควำมหมำย 1 ประเด็น ดงั น้ี
ควำมตอ้ งกำรของผ้มู สี ว่ นได้ส่วนเสีย
o กำรตอบสนองควำมตอ้ งกำรของผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสียของ
ด้ำนที่ 4 ส่งเสรมิ คณุ ภำพชีวิตท่ดี ใี ห้ประชำชนไดม้ นี ้ำประปำ กปน. ทุกกล่มุ อย่ำงสมดุล
ใชถ้ ว้ นหน้ำ
มนี ัยสำคญั ของควำมหมำย 2 ประเด็น ดังนี้

o กำรบรกิ ำรงำนประปำทค่ี รอบคลมุ พน้ื ทรี่ ับผดิ ชอบหลัก
o กำรขยำยธุรกิจเกี่ยวเนื่องและกิจกรรมเชิงสังคม

ถว้ นหน้ำ

18

แผนวิสาหกจิ กปน. ฉบบั ท่ี 5 (ปี 2563–2565)

นัยสำคญั ของคำ่ นยิ ม ของ กปน.

กปน. ไดก้ ำรทบทวนคำ่ นยิ มองคก์ ร“ม่งุ ม่ัน พฒั นำตน พฒั นำงำน บริกำรสงั คม ด้วยควำมโปร่งใส ใส่ใจ
คุณภำพ” หรอื “QWATER” ยังคงสอดรบั กับวสิ ัยทศั น์และพันธกจิ ขององค์กร

นัยสำคญั ของควำมหมำยตำมคำ่ นิยม

ค่ำนิยม นัยสำคญั

“มุ่งม่ัน พัฒนำตน มคี ำยอ่ คือ QWATER
พฒั นำงำน บรกิ ำรสงั คม
ด้วยควำมโปร่งใส ใส่ใจ มุ่งมน่ั หรือ W ย่อมำจำก Willingness
คุณภำพ” ควำมมุ่งม่ัน คือ กำรทำควำมดี เต็มท่ี เต็มใจ เสียสละเพ่ือองค์กร มีจุดหมำย
ท่ีแน่นอน แจ่มชัด ยืนหยดั ในส่งิ ทถี่ ูกต้อง ปกปอ้ งชอ่ื ขององค์กรและเพอื่ นรว่ มงำน

พัฒนำตน หรอื A ยอ่ มำจำก Achievement
พัฒนำตน คอื เสรมิ สร้ำงทกั ษะควำมร้ใู หร้ อบด้ำน คิดเชิงบูรณำกำรและสร้ำงสรรค์ ยอมรับ
ควำมคิดเห็นทีแ่ ตกต่ำง ควำมละเอยี ดรอบคอบ และรับผดิ ชอบต่อผลกำรปฏิบตั งิ ำน

พัฒนำงำน หรือ T ยอ่ มำจำก Team
พัฒนำงำน คือ กำหนดเป้ำหมำยและวธิ ีกำรทำงำนอย่ำงเป็นระบบ ผนกึ กำลัง สร้ำงสรรค์ส่ิง
ใหม่ ปรับปรุงกลยุทธ์อย่ำงต่อเนื่อง มุ่งเน้นประสิทธิภำพและประสิทธิผล เพื่อยกระดับ
มำตรฐำนกำรทำงำนใหม้ ีคุณภำพเทยี บเทำ่ สำกล

บรกิ ำรสังคม หรือ E ย่อมำจำก Excellent Service
บริกำรสังคม คือ มุ่งมั่นและเต็มใจให้บริกำรลูกค้ำอย่ำงรับผิดชอบ ชัดเจน รวดเร็ว ทั่วถึง
และเท่ำเทียมกันในทุกระดบั ทกุ พ้นื ที่ มีจติ อำสำ รับผิดชอบต่อสงั คมและสง่ิ แวดล้อม

ด้วยควำมโปร่งใส หรือ R ยอ่ มำจำก Respect to Transparency
ด้วยควำมโปร่งใส คือ มีคุณธรรมในกำรทำงำนในตำแหน่งหน้ำที่ของตนเอง ซ่ือสัตย์สุจริต
และจรงิ ใจ พรอ้ มเปดิ เผยข้อมูลท่ีเปน็ ประโยชน์ต่อสำธำรณะอย่ำงตรงไปตรงมำไม่มปี กปิด

ใส่ใจคณุ ภำพ หรือ Q ย่อมำจำก Quality
ใส่ใจคุณภำพ คือ เอำใจใส่ในทุกข้ันตอนกำรทำงำนด้วยควำมตั้งใจและรับผิดชอบ เพื่อส่ง
มอบผลงำนท่มี คี ุณภำพใหผ้ ูร้ บั บรกิ ำร และส่งมอบน้ำประปำและบรกิ ำรทีม่ คี ณุ ภำพในระดับ
สำกลให้กบั ผู้ใช้นำ้ ตำมแผนนำ้ ประปำปลอดภยั (Water Safety Plan)

19

แผนวิสาหกิจ กปน. ฉบับท่ี 5 (ปี 2563–2565)

3.2 กำรวิเครำะหส์ ภำพแวดลอ้ ม (SWOT Analysis) ภำยใต้ทิศทำงท่ีกำหนด

กปน. ได้วิเครำะห์สภำพแวดล้อมภำยนอกตำมกรอบ PESTEL, 5 Forces พร้อมทั้งระบุกำร
เปลี่ยนแปลงท่ีสำคัญ (Key Change) และสภำพแวดล้อมภำยในตำมกรอบ McKinsey 7s รวมถึงผลกำร
ดำเนินงำนขององค์กรที่ผ่ำนมำ จำกผลกำรวิเครำะห์ประเมินสภำพแวดล้อมภำยนอกและภำยใน พบปัจจัยที่
เป็นจุดแข็ง (Strengths) และจุดอ่อนหรือส่ิงท่ีควรปรับปรุง (Weaknesses) กับปัจจัยที่เป็นโอกำส
(Opportunities) และอุปสรรค (Threats) ดังนี้

จุดแข็ง (Strengths)
S1 เปน็ ธุรกจิ ผูกขำดเชงิ พืนที่และกำรใหบ้ ริกำรนำประปำตำม พ.ร.บ. กปน. พ.ศ. 2510
S2 โครงข่ำยทอ่ ประปำ มคี วำมครอบคลมุ และพรอ้ มใช้งำน

สำมำรถให้บริกำรน้ำประปำได้ตำมควำมต้องกำรท้ังปริมำณ และคุณภำพ ตลอดเวลำ มีร้อยละของ
จำนวนผูไ้ ด้รับบริกำรนำ้ ประปำรอ้ ยละ 100 และพร้อมติดตั้งประปำใหม่ในทุกพืน้ ท่ภี ำยใน 1 วันทำกำร
S3 มรี ะบบกำรบรหิ ำรจดั กำรระบบผลิตนำประปำทีม่ ีคุณภำพได้มำตรฐำน และมีประสิทธิภำพเป็นท่ี
ยอมรบั ในระดับประเทศ

เปรียบด้ำนคณุ ภำพน้ำประปำ กปน. ผลติ ไดด้ ีกวำ่ คำ่ แนะนำของWHO ปัจจบุ ันนำ Water Safety Plans
มำเปน็ กรอบกำรดำเนนิ งำน โดยผลกำรดำเนินงำนเทยี บกบั คู่เทียบแล้วอยู่ในเกณฑด์ ที ั้งในดำ้ นควำมขนุ่ และ
คลอรีนคงเหลือ
S4 มีกระบวนกำรตอบสนองผูใ้ ช้นำดำ้ นกำรบรกิ ำรทม่ี ีประสิทธภิ ำพ พรอ้ มใหบ้ ริกำร

มผี ลควำมพึงพอใจของผู้ใชบ้ ริกำรอย่ใู นระดบั พงึ พอใจมำกท่ีสุด (4.517 คะแนน) และส่งเสรมิ
ภำพลักษณ์ทดี่ ใี ห้องค์กร
S5 มผี ใู้ ช้นำในพนื ทรี่ บั ผิดชอบจำนวนมำกเปน็ ฐำนลกู ค้ำสำหรบั กำรใหบ้ รกิ ำรธุรกจิ ทีเ่ กยี่ วเนือ่ งในอนำคต

ผใู้ ช้นำ้ ณ ปัจจบุ นั 2.39 ลำ้ นรำย คำดกำรณ์ปี 2569 จำนวน 2.6 ลำ้ นรำย
S6 มเี สถยี รภำพทำงกำรเงนิ ทม่ี ่ันคง

โดยเทียบผลกำรดำเนินงำน ค่ำ ROA และ D/E ratio กปน. เป็นอันดับ 1 เมื่อเทียบกับ ปตท. กฟน.
กปภ. PUB และมีอัตรำหน้ีสงสัยจะสูญต่ำคำดกำรณ์ค่ำเฉล่ียถึงปี 2569 ต่ำกว่ำร้อยละ 0.01 โดยภำยในกรอบ
ดำเนินงำนแผนวสิ ำหกจิ กปน.ฉบบั ท่ี 5 (ปี 2563-2565) กำไรสทุ ธคิ ำดกำรณ์ยังคงอยใู่ นระดบั เดยี วกบั ปัจจุบัน
S7 มกี ำรดำเนนิ งำนดำ้ นธรรมำภิบำลทีโ่ ดดเดน่

เปน็ ทย่ี อมรับ ผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี เชื่อม่ันในควำมโปร่งใส มีคะแนนประเมนิ คณุ ธรรมและควำมโปร่งใสในกำร
ดำเนินงำนของหนว่ ยงำนภำครฐั (ITA) มำกกว่ำ 90 คะแนน (ปี 2561 = 92.4 คะแนน)
S8 บุคลำกรมคี วำมรู้ ควำมสำมำรถในกำรบริหำรจดั กำรระบบประปำ

สำมำรถรบั มือแก้ไขปัญหำวิกฤตกำรณ์ต่ำงๆท่ีเกดิ ขน้ึ ทั้งอุทกภัย สำหร่ำยอุดตนั บ่อกรองสงู และ
พจิ ำรณำจำกผลประเมินรำยบุคคลในภำพรวมของ กปน. (KPI และ CC เฉลยี่ เทำ่ กบั 4.64 )อยู่ในเกณฑ์ดี
S9 มนี โยบำย และกำรดำเนนิ งำนดำ้ นกจิ กรรมเชิงสงั คมทตี่ ่อเนอื่ ง

มีนโยบำยชัดเจนกำหนดกิจกรรมดำเนินงำนอยำ่ งต่อเน่ือง กำหนดหนว่ ยงำนรับผิดชอบโดยตรง ไดร้ ับ
ควำมรว่ มมือในกำรดำเนินงำนจำกผูม้ ีส่วนได้สว่ นเสียอย่ำงดีและไดร้ บั รำงวลั ด้ำนกจิ กรรมเชงิ สงั คมต่อเน่ืองทุกปี
S10 มีควำมรว่ มมอื ในกำรพัฒนำองคค์ วำมรแู้ ละนวัตกรรมระหวำ่ งหนว่ ยงำนทังในและนอกประเทศ

มี MOU กับหน่วยงำนภำยในและภำยนอกประเทศสำมำรถนำมำตอ่ ยอด พฒั นำควำมรู้ นวตั กรรม

20

แผนวิสาหกิจ กปน. ฉบับที่ 5 (ปี 2563–2565)

จดุ ออ่ นหรอื สิง่ ทค่ี วรปรบั ปรงุ (Weaknesses)
W1 โครงขา่ ยท่อประปามีอายกุ ารใช้งานเกนิ กาํ หนด และการเปลย่ี น บาํ รุงรักษา ไม่สามารถทาํ ได้ตามแผน

ทอ่ ของ กปน. บรเิ วณพ้ืนทีช่ ั้นในมอี ายุการใช้งานครบกําหนดท่ีจะต้องมีการเปลี่ยนท่อและขยายขนาด
ท่อให้เพียงพอแก่ความต้องการของผู้ใช้นํ้า แต่เนื่องจากพ้ืนท่ีชั้นในเป็นพื้นท่ีเศรษฐกิจ จึงมีข้อจํากัดในการ
ดําเนินการโดยเฉพาะการเปลี่ยนท่อในพ้ืนที่ชุมชนหนาแน่นส่งผลต่อปริมาณน้ําสูญเสียท่ีไม่สามารถลดได้อย่าง
เต็มประสิทธิภาพ การบริการให้แก่ผู้ใช้นํ้าในพ้ืนที่ท้ังในเชิงปริมาณและแรงดันอาจจะไม่เพียงพอกับความ
ต้องการ นอกจากน้ีจากสภาพการวางท่อส่งผลใหท้ อ่ ประปาแตกรว่ั เร็วกว่าค่าท่อี อกแบบไว้
W2 เสถยี รภาพระบบผลติ น้าํ (น้ําดบิ -ผลิต-สบู ส่ง-สูบจ่ายนํา้ )

กาํ ลังการผลติ สบู ส่งและสบู จ่ายนา้ํ สํารอง ในชว่ งความต้องการต่อวนั สูงสุด(Maximum Daily Demand)
มีนอ้ ยรวมทั้งโครงสรา้ งระบบผลติ มีอายุใช้งานนาน
W3 เทคโนโลยกี ารผลิตนํา้ ประปาที่ใช้อยูใ่ นปัจจบุ ันไม่รองรบั กับแนวโน้มคณุ ภาพน้ําดบิ ที่เส่ือมโทรม

การคาดการณแ์ นวโน้มคุณภาพนา้ํ ดิบจากแหลง่ เจ้าพระยาจนถึงปี 2570 จะมีคุณภาพต่าํ ลง และชว่ งเวลา
นา้ํ เค็มขึ้นสูงบ่อยขนึ้ ส่งผลให้คุณภาพน้าํ ประปาท่ีผลิตได้กระทบต่อผใู้ ช้น้ํากลุ่มอตุ สาหกรรมบางประเภท
W4 ความเหมาะสมของโครงสรา้ งอัตรากาํ ลงั บุคลากรทุกระดบั ไม่สอดคล้องกับเป้าหมายท่สี ําคญั ของ
องค์กร

บคุ ลากรระดับชา่ งปฏิบตั งิ านภาคสนามไม่เพียงพอกบั เปา้ หมายอตั รานา้ํ สูญเสีย
W5 นํา้ ประปาสาํ รองไม่เพียงพอต่อการให้บรกิ ารในภาวะไมป่ กติ

มีจํานวนชวั่ โมงการจา่ ยนํา้ ในภาวะไมป่ กติ ตํา่ กว่า 6 ชั่วโมง และการกอ่ สร้างถังเก็บนา้ํ ใสเพิ่มตาม
โครงการปรับปรุงกจิ การประปาแผนหลกั คร้ังท่ี 9 ยงั ดาํ เนินการไม่แล้วเสรจ็
W6 รายได้ค่านํา้ เพ่ิมขึ้นในอัตราทล่ี ดลง

จากการคาดการณ์ 2562-2569 เพ่ิมข้นึ เฉลยี่ รอ้ ยละ 0.48 เนือ่ งจากปจั จุบันใหบ้ ริการครอบคลมุ พน้ื ที่
และจาํ นวนผูใ้ ชน้ ํ้าต่อใหมป่ ี 2561 จาํ นวน 65,653 ราย คาดการณ์ฯมีแนวโนม้ ลดลงอย่างต่อเน่ือง โดยในปี
2569 จํานวน 39,000 ราย
W7 การบริหารจดั การบุคลากรและโครงสร้างองค์กรในปัจจบุ นั ยังไม่สามารถตอบสนองยุทธศาสตร์และ
สภาพแวดล้อมทางธรุ กิจทีเ่ ปล่ียนแปลงไป

การควบคุมสัดส่วนจํานวนพนักงานในระดับต่าง ๆ ให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมระดับ 8-10 ควรมี
สัดส่วนร้อยละ 1-2 ปัจจุบันอยู่ท่ีระดับร้อยละ 3 ระดับ 6-7 ควรมีสัดส่วนร้อยละ 20-25 ปัจจุบันอยู่ที่ระดับ
ร้อยละ 30.5 ระดับปฏิบัตกิ ารควรมสี ดั สว่ นร้อยละ 75-80 ปจั จบุ นั อย่ทู ีร่ ะดบั 66.31
W8 การลงทนุ ขนาดใหญ่เพ่ือเสริมเสถียรภาพ ส่งผลให้ ROA มแี นวโน้มลดลง

งบลงทนุ โครงการฯ 9 ประมาณ 42,000 ล้านบาท) ส่งผลให้ ROA มีแนวโนม้ ลดลงจากร้อยละ 7.54
ในปี 2562 เป็นร้อยละ 4.29 ในปี 2569
W9 การส่อื สารกบั ภายนอกไม่เพยี งพอ ผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสียยงั มีความต้องการ ความคาดหวงั เกี่ยวกับการ
สือ่ สารท่ีมากกวา่ นี้

จากผลสาํ รวจความต้องการและคาดหวังของผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสีย พบวา่ ยงั มีความคาดหวังเกย่ี วกับการ
สอ่ื สารท่ีมากกว่านี้

21

แผนวสิ าหกจิ กปน. ฉบับท่ี 5 (ปี 2563–2565)

โอกาส (Opportunities)
O1 การเจริญเตบิ โตของเมือง

ความหนาแนน่ ของประชากรสูงในพืน้ ท่ีรับผิดชอบ กปน. และจงั หวัดโดยรอบ
O2 คา่ นยิ มในการใสใ่ จสขุ ภาพ และใสใ่ จสิ่งแวดลอ้ ม
O3 Technology Digital มกี ารพัฒนาอยา่ งรวดเร็ว
O4 การกระต้นุ เศรษฐกจิ ของภาครัฐ
O5 การเชื่อมโยงข้อมลู ระหว่างภาครฐั
O6 ธุรกิจในสงั คมสูงวยั

อปุ สรรค (Threats)
T1 Climate Change
T2 พื้นทท่ี ร่ี ับผดิ ชอบของ กปน. มีความหนาแนน่ สูงของภาคทีอ่ ยูอ่ าศัย ภาคธรุ กิจอุตาสาหกรรมและภาคขนสง่ ทางราง
T3 การผกู ขาดของผผู้ ลิตที่จาํ หนา่ ยวตั ถดุ ิบให้ กปน.
T4 Cyber Attack
T5 การควบรวมกิจการด้านน้ํา / โครงการ PPP

ถึงแม้วา่ PPP จะเป็นทางเลอื กสําหรบั แหลง่ เงินทุนเพิม่ ขึน้ แต่จากการพิจารณาค่านํา้ ประปาทรี่ ับซ้ือ
จากบริษัทเอกชนของ กปภ. พบว่าอย่ใู นอตั ราท่ีสูงกว่าตน้ ทุนการผลติ ของ กปน. มาก ในช่วงทอ่ี งค์กรยังคงมี
ฐานะทางการเงนิ ที่แข็งแกร่งหากมนี โยบายให้ใชท้ างเลือก PPP อาจส่งผลต่อตน้ ทุนของ กปน. และโครงสรา้ ง
อัตราค่านํา้ ประปาทเี่ ก็บจากประชาชนในอนาคต

T6 การต่อตา้ นการดําเนินงานของชุมชนในพ้นื ทีท่ ่ีไดร้ บั ผลกระทบ

22

แผนวิสาหกิจ กปน. ฉบับท่ี 5 (ปี 2563–2565)

Strategic Factors
Analysis Summary

สรุปปัจจัยเชิงกลยุทธ์ขององค์กร โดยกำรรวม ปัจจัยภำยนอก (External Factors) กับปัจจัยภำยใน
(Internal Factors) โดยเรยี งลำดับควำมสำคัญ (คะแนนไม่ต่ำกวำ่ 0.5 เวน้ แตป่ จั จยั ดังกล่ำวเปน็ ปัจจยั ย่ังยนื )

จดุ แขง็ Score จุดออ่ น Score

1.เป็นธุรกจิ ผกู ขำดเชิงพืน้ ทแ่ี ละกำรใหบ้ ริกำรนำ้ ประปำ 0.909 1.โครงข่ำยทอ่ ประปำมอี ำยกุ ำรใชง้ ำนเกนิ กำหนด และกำร 0.929

เปลี่ยน บำรุงรกั ษำ ไม่สำมำรถทำไดต้ ำมแผน

2.โครงข่ำยทอ่ ประปำ มีควำมครอบคลมุ และพรอ้ มใช้ 0.888 2.เสถียรภำพระบบผลิตนำ้ (นำ้ ดบิ -ผลิต-สูบสง่ -สูบจำ่ ยน้ำ) 0.889

งำน กำลงั กำรผลติ สูบสง่ และสบู จำ่ ยนำ้ สำรอง ในช่วงควำม

ต้องกำรตอ่ วันสูงสุด(Maximum Daily Demand) มีน้อย

รวมทงั้ โครงสร้ำงระบบผลติ มอี ำยใุ ช้งำนนำน

3.มรี ะบบกำรบริหำรจัดกำรระบบผลิตนำ้ ประปำที่มี 0.866 3.เทคโนโลยีกำรผลติ น้ำประปำทีใ่ ช้อยใู่ นปจั จุบันไมร่ องรบั 0.843

คณุ ภำพได้มำตรฐำน และมีประสิทธิภำพเปน็ ท่ียอมรบั กบั แนวโน้มคุณภำพนำ้ ดิบทีเ่ สอ่ื มโทรม

ในระดับประเทศ

4.มีกระบวนกำรตอบสนองผใู้ ชน้ ำ้ ด้ำนกำรบรกิ ำรทม่ี ี 0.799 4.ควำมเหมำะสมของโครงสร้ำงอัตรำกำลงั บคุ ลำกรทุกระดับ 0.814

ประสทิ ธิภำพ พรอ้ มใหบ้ ริกำร ไมส่ อดคล้องกบั เปำ้ หมำยที่สำคัญขององคก์ ร

5.มผี ู้ใช้นำ้ ในพ้ืนท่ีรบั ผิดชอบจำนวนมำกเปน็ ฐำนลกู ค้ำ 0.777 5.นำ้ ประปำสำรองไม่เพยี งพอตอ่ กำรใหบ้ รกิ ำรในภำวะไม่ 0.810

สำหรับกำรใหบ้ รกิ ำรธรุ กิจที่เกี่ยวเน่อื งในอนำคต ปกติ

6.มเี สถียรภำพทำงกำรเงินทมี่ น่ั คง 0.649 6.รำยได้คำ่ น้ำเพิม่ ข้ึนในอัตรำทีล่ ดลง 0.763

7.มีกำรดำเนินงำนดำ้ นธรรมำภบิ ำลทโ่ี ดดเดน่ 0.620 7.กำรบริหำรจดั กำรบุคลำกรและโครงสรำ้ งองค์กรในปัจจบุ นั 0.726

ยังไมส่ ำมำรถตอบสนองยุทธศำสตรแ์ ละสภำพแวดล้อมทำง

ธุรกิจทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป

8.บุคลำกรมีควำมรู้ ควำมสำมำรถในกำรบริหำรจดั กำร 0.589 8.กำรลงทุนขนำดใหญเ่ พ่อื เสรมิ เสถียรภำพ ส่งผลให้ ROA มี 0.625

ระบบประปำ แนวโน้มลดลง

9.มนี โยบำย และกำรดำเนินงำนด้ำนกิจกรรมเชงิ สงั คมที่ 0.526 9.กำรสื่อสำรกบั ภำยนอกไมเ่ พียงพอ ผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสียยังมี 0.549

ต่อเนื่อง ควำมต้องกำร ควำมคำดหวังเก่ยี วกบั กำรส่ือสำรทมี่ ำกกว่ำน้ี

10.มคี วำมรว่ มมอื ในกำรพฒั นำองคค์ วำมรแู้ ละนวัตกรรม 0.473
ระหวำ่ งหนว่ ยงำนทั้งในและนอกประเทศ *

โอกาส Score ภยั คุกคาม Score

1.การเจรญิ เติบโตของเมอื ง 1.142 1.Climate Change 1.402

2.ค่านิยมในการใส่ใจสขุ ภาพ และใสใ่ จสิ่งแวดลอ้ ม 1.065 2.พืน้ ที่ทรี่ ับผิดชอบของ กปน. มคี วามหนาแนน่ สูง 1.133

3. Technology Digital มีการพัฒนาอยา่ งรวดเร็ว 1.035 3.การผกู ขาดของผู้ผลิตที่จาหนา่ ยวตั ถุดบิ ให้ กปน. 0.792

4. การกระตุน้ เศรษฐกิจของภาครัฐ 0.995 4.Cyber Attack 0.783

5.การเชอื่ มโยงข้อมูลระหวา่ งภาครฐั 0.934 5.การควบรวมกิจการด้านนา้ / โครงการ PPP 0.776

6.ธรุ กิจในสงั คมสูงวัย * 0.459 6.การต่อต้านการดาเนินงานของชุมชนในพื้นที่ท่ีได้รับ 0.446

ผลกระทบ *

* ตดั ปัจจัย จดุ แข็ง เร่อื ง .มีควำมร่วมมอื ในกำรพฒั นำองคค์ วำมรู้และนวัตกรรมระหว่ำงหน่วยงำนท้ังในและ
นอกประเทศ โอกำส เร่ือง ธุรกิจในสังคมสูงวัย ส่วนเรื่อง กำรต่อต้ำนกำรดำเนินงำนของชุมชนในพื้นท่ีท่ีได้รับ
ผลกระทบ ยังคงเปน็ ปจั จยั เชิงกลยุทธข์ ององค์กรเน่ืองจำกเป็นปัจจยั ยัง่ ยนื

23

แผนวิสาหกจิ กปน. ฉบบั ที่ 5 (ปี 2563–2565)

3.3 กำรกำหนดสมรรถนะหลกั ขององค์กร (Core Competency: CC)

กปน.กำหนดสมรรถนะหลกั / ควำมสำมำรถพเิ ศษขององค์กร (Core Competency : CC) โดยกำร
นำข้อมลู เชิงเปรียบเทียบของคู่เทยี บมำวิเครำะหข์ ดี ควำมสำมำรถในกำรดำเนินกำร เกณฑ์ท่ีใช้พิจำรณำกำหนด
CC คอื เป็นควำมชำนำญท่ีสอดคล้องกับพันธกิจและภำรกิจ สร้ำงควำมไดเ้ ปรียบและลอกเลียนแบบได้ยำกหรือ
ใช้ระยะเวลำนำน โดย CCของ กปน. คือ “เป็นผู้เช่ียวชำญในกำรผลิตและบริกำรงำนประปำที่มีคุณภำพใน
เมืองใหญ”่

คำอธิบำย
เปน็ ผ้เู ช่ียวชำญในกำรผลิตและบริกำรงำนประปำที่มีคุณภำพในเมืองใหญ่(Cost leadership with Customer
service excellence) หมำยถงึ ควำมสำมำรถใหบ้ ริกำรงำนประปำอย่ำงม่ันคง ท่ัวถึง สะอำดและเพียงพอด้วย
กำรบริหำรต้นทนุ อยำ่ งมปี ระสิทธิภำพสำมำรถผลิตน้ำคุณภำพดี มีประสิทธิภำพกำรสร้ำงกำไรได้อย่ำงต่อเนื่อง
โดยไม่ได้ปรับขึ้นรำคำ และระดับควำมพึงพอใจผู้ใช้บริกำรอยู่ในระดับดี ดังน้ัน กำรให้บริกำรงำนประปำอย่ำง
ม่ันคง ทั่วถึง สะอำดและเพียงพอด้วยกำรบริหำรต้นทุนที่เป็นเลิศ (Cost leadership with Customer
service excellence) สร้ำงควำมได้เปรียบและลอกเลียนแบบได้ยำกหรือใช้ระยะเวลำนำนและเป็นสมรรถนะ
หลกั ที่สอดคลอ้ งกบั พนั ธกจิ และภำรกจิ องค์กร

สมรรถนะหลกั ขององคก์ ร ในปัจจบุ นั สมรรถนะหลักขององคก์ ร ในอนำคต
CC As Is CC To Be

เป็นผ้เู ชีย่ วชำญในกำรผลติ และบรกิ ำรงำน เปน็ ผเู้ ชี่ยวชำญในกำรผลติ และบรกิ ำรงำน
ประปำที่มีคุณภำพในเมอื งใหญ่ ประปำทมี่ ีคุณภำพในเมอื งใหญ่
และดำเนนิ ธรุ กจิ อนื่ ทีเ่ กยี่ วเนือ่ ง
หรอื เปน็ ประโยชนแ์ กก่ ำรประปำ

24

แผนวิสาหกิจ กปน. ฉบบั ที่ 5 (ปี 2563–2565)

3.4 กำรกำหนดควำมท้ำทำยและควำมได้เปรียบเชิงยทุ ธศำสตร์
ควำมท้ำทำยเชิงยุทธศำสตร์ Strategic Challenge : SCหมำยถึง ควำมกดดันที่มีผลอย่ำง

แน่นอนต่อโอกำสท่ีองค์กรจะประสบควำมสำเร็จใจอนำคต ควำมท้ำทำยเหล่ำนี้มักเกิดจำกตำแหน่งในกำร
แขง่ ขันในอนำคตขององคก์ ร เมื่อเปรียบเทยี บกบั องคก์ รอ่ืนๆที่มีผลิตภัณฑ์และบริกำรที่คล้ำยคลึงกัน โดยทั่วไป
ควำมท้ำทำยเชิงยุทธศำสตร์เกิดจำกแรงผลักดันภำยนอก อย่ำงไรก็ตำม ในกำรตอบสนองต่อควำมท้ำทำยเชิง
ยุทธศำสตร์ที่มำจำกแรงผลักดันภำยนอก องค์กรอำจเผชิญกับควำมท้ำทำยเชิงยุทธศำสตร์ภำยในองค์กรเอง
ควำมท้ำทำยเชิงยุทธศำสตร์นอกจำกเก่ียวกับควำมจำเป็นหรือควำมคำดหวังของลูกค้ำและตลำด รวมท้ังกำร
เปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์ บริกำร หรือเทคโนโลยี รวมถึงควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน สังคม และควำมเสี่ยง หรือ
ควำมจำเป็นอน่ื ๆ ควำมท้ำทำยเชงิ ยทุ ธศำสตร์ภำยในอำจเกีย่ วกบั ควำมสำมำรถขององคก์ ร หรอื ทรพั ยำกรอืน่ ๆ

ควำมท้ำทำยเชิงยุทธศำสตร์ พิจำรณำจำก จุดอ่อน (Weakness) โอกำส (Opportunity) อุปสรรค
(Threat) ที่ได้จำกกำรวเิ ครำะหส์ ภำพแวดล้อมภำยในและภำยนอกองค์กรมำวิเครำะห์เพ่ือหำประเด็นควำมท้ำ
ทำยท่ีต้องนำไปจัดทำกลยุทธ์ วัตถุประสงค์เชิงยุทธศำสตร์ (Strategic Objective : SO) และแผนปฏิบัติงำน
เพ่ือให้บรรลุประเด็นท้ำทำยท่ีวิเครำะห์ได้ควำมท้ำทำยเชิงยุทธศำสตร์โดยมีกำรจัดลำดับควำมสำคัญใช้เกณฑ์
ผลกระทบและควำมยำกในกำรบริหำรจดั กำร

ประกอบไปดว้ ย
SC-1 สภำพแวดล้อมทีเ่ ปล่ียนแปลงไป สง่ ผลใหค้ ุณภำพนำ้ ดิบมีแนวโนม้ เสื่อมโทรมลง
SC-2 กำรเปลี่ยนท่อในพ้นื ท่ีเมอื งเพ่ือลดน้ำสูญเสยี ใหไ้ ด้ตำมเป้ำหมำยและขยำยขนำดท่อให้เพียงพอ

แกค่ วำมต้องกำรของผใู้ ชน้ ้ำโดยเฉพำะกำรเปลี่ยนท่อในพื้นที่ชมุ ชนหนำแนน่
SC-3 กำรพัฒนำเทคโนโลยีและนวตั กรรมใหท้ ันตอ่ กำรเปลี่ยนแปลงและตอบสนองตอ่ ควำมคำดหวงั

ของผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสยี
SC-4 ภำวะวิกฤตติ ำ่ ง ๆ อำจสง่ ผลให้กำรดำเนินงำนหยดุ ชะงกั
SC-5 ผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี มีควำมต้องกำรควำมคำดหวงั สูงและหลำกหลำย
SC-6 กำรลงทุนโครงกำรขนำดใหญ่สง่ ผลกระทบตอ่ ฐำนะกำรเงิน
SC-7 กำรปรับปรุงโครงสรำ้ งและพฒั นำบุคลำกรเพ่อื รองรับกำรเปลีย่ นแปลง

25

แผนวสิ าหกจิ กปน. ฉบับท่ี 5 (ปี 2563–2565)

ควำมไดเ้ ปรียบเชงิ ยุทธศำสตร์ (Strategic Advantage : SA)
ควำมได้เปรียบในธุรกิจต่ำงๆที่มีผลอย่ำงสำคัญต่อควำมสำเร็จขององค์กร และมักเป็นปัจจัยท่ีช่วยให้
องค์กรประสบควำมสำเร็จในเชิงแข่งขันในปัจจุบัน และอนำคต เมื่อเทียบกับองค์กรอื่นที่มีผลิตภัณฑ์ที่
คล้ำยคลึงกันโดยทั่วไปควำมได้เปรียบเชิงยุทธศำสตร์ มำจำกปัจจัยใดปัจจัยหนึ่ง หรือทั้งสองปัจจัยต่อไปนี้
ควำมสำมำรถพิเศษ ซ่ึงเกิดจำกำรสร้ำงและเพ่ิมพูนขีดควำมสำมำรถภำยในองค์กร และ ทรัพยำกรภำยนอกที่
สำคญั ในเชงิ ยุทธศำสตร์
ควำมไดเ้ ปรียบเชงิ ยุทธศำสตร์ พิจำรณำจำก สมรรถนะหลัก/ ควำมสำมำรถพิเศษ จุดแข็ง (Strength)
โอกำส (Opportunity) และประโยชน์ต่อองค์กร กำหนดวัตถุประสงค์เชิงยุทธศำสตร์ (Strategic Objective :
SO) จดั ทำกลยทุ ธ์และแผนปฏิบตั งิ ำน เพือ่ ช่วยผลักดันให้องค์กรประสบควำมสำเร็จในกำรประกอบธุรกิจ และ
เพิ่มขดี ควำมสำมำรถในกำรบริหำรจัดกำรองคก์ รใหบ้ รรลุตำมวัตถุประสงค์ พนั ธกจิ และวิสัยทศั น์ ประกอบไปดว้ ย
SA-1 ระบบกำรบริหำรจัดกำรระบบผลิตน้ำประปำท่ีมีคุณภำพได้มำตรฐำน และมีประสิทธิภำพเป็นที่
ยอมรบั ในระดบั ประเทศ
SA-2 โครงสร้ำงพื้นฐำนระบบประปำครอบคลุมพ้ืนท่ีให้บริกำรอย่ำงเพียงพอ และสำมำรถขยำยกำร
บริกำรไปยงั พ้ืนท่มี ศี ักยภำพ
SA-3 เปน็ ธุรกจิ ท่ผี ูกขำดเชิงพนื้ ท่ีและมีฐำนลูกคำ้ จำนวนมำกจงึ เป็นโอกำสในกำรสรำ้ งรำยได้
SA-4 บุคลำกรมีองค์ควำมรู้ ควำมเช่ียวชำญในกำรผลิต สูบจ่ำย บริกำร ออกแบบระบบท่อประปำ
เก่ียวกับกิจกำรประปำมำยำวนำน

26

แผนวิสาหกิจ กปน. ฉบบั ท่ี 5 (ปี 2563–2565)

3.5 กำรกำหนดยุทธศำสตร์หลัก วัตถุประสงค์เชงิ ยทุ ธศำสตรแ์ ละกำรจดั ทำแผนทกี่ ลยทุ ธ์ (Strategy Map)
แผนวิสำหกิจ กปน. ฉบับท่ี 5 (ปี 2563– 2565) มุ่งเน้นกำรตอบสนองควำมต้องกำรและควำม

คำดหวังของผูม้ สี ว่ นได้ส่วนเสีย และกำรเป็นองค์กรสมรรถนะสูง อย่ำงไรก็ตำมปัจจุบันระบบผลิตของ กปน. มี
กำรใช้งำนอย่ำงเต็มศักยภำพและมีอำยุกำรใช้งำนมำอย่ำงยำวนำน รวมท้ังปัญหำกำรแตกร่ัวของท่อประปำ
ดังนั้นแผนวิสำหกจิ ฉบบั น้ซี ่งึ มีอำยุเพียง 3 ปี (ปี 2563– 2565) กปน. จึงเน้นสร้ำงควำมมั่นคง/เสถียรภำพของ
ระบบประปำเป็นหลกั อำจไมส่ ำมำรถสรำ้ งรำยไดจ้ ำกกำรขำยน้ำเพิ่มขึ้นได้อย่ำงมีนัยสำคัญ และอีกด้ำนก็ยังคง
พัฒนำด้ำนกำรนำเทคโนโลยีมำใช้ และไม่ละเลยกำรให้ควำมสำคัญกับสังคมและส่ิงแวดล้อม รวมท้ังสำมำรถ
บริหำรจัดกำรรำยได้และค่ำใช้จ่ำย ถึงแม้ว่ำกำรเติบโตของรำยได้หลักจำกกำรขำยน้ำอยู่ในช่วงอิ่มตัวจำกกำร
ให้บริกำรท่ีเต็มพ้ืนที่ ประกอบกับอัตรำค่ำน้ำท่ีคงท่ีตลอดระยะเวลำ 20 ปี อย่ำงไรก็ตำม กปน.ยังคงส่งนำ
รำยได้สนับสนุนภำครัฐในระดับท่ีไม่ด้อยลงกว่ำเดิม (ด้วยรำคำที่ไม่เอำเปรียบผู้บริโภคหรือผู้ใช้น้ำ)และ
ยกระดับกำรให้บริกำรที่ดีข้ึนอย่ำงต่อเน่ือง โดยไม่ลืมจุดมุ่งหมำยของกำรจัดตั้ง กปน. เม่ือคร้ังรัชกำลที่ 6 ทรง
เสด็จเป็นองค์ประธำนเปิดกิจกำร "กำรประปำกรุงเทพ ฯ” เมื่อวันท่ี 14 พฤศจิกำยน 2457 ซ่ึงมีพระรำชดำรัส
ตอนหนึ่งว่ำ"ขอน้ำใสอันจะหล่ังไหลจำกประปำนี้ จงเป็นเครื่องประหำรสรรพโรคร้ำยท่ีจะเบียดเบียนให้ร้ำยแก่
ประชำชนผู้เป็นพสกนิกรของเรำ” และวัตถุประสงค์ของ SDG 6 คือ ให้มีน้ำเพ่ือใช้ประโยชน์และมีกำรจัดกำรน้ำ
และสุขำภิบำลอย่ำงยง่ั ยนื สำหรบั ทกุ คน จึงเป็นทมี่ ำของแนวทำงกำหนดยทุ ธศำสตร์ Strategic Theme : WASH

27

แผนวิสาหกิจ กปน. ฉบบั ท่ี 5 (ปี 25

รปู ภำพ : Strategic

563–2565)

Theme WASH

28

แผนวสิ าหกจิ กปน. ฉบับที่ 5 (ปี 2563–2565)

ด้ำนท่ี 1: สร้ำงเสถยี รภำพและควำมมน่ั คงของระบบประปำ
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศำสตร์ (SO-1): พัฒนำระบบจ่ำยน้ำและบริหำรจัดกำรน้ำสูญเสีย รวมถึงพัฒนำ
เทคโนโลยีสำรสนเทศเพ่ือกำรจดั กำรลดนำ้ สูญเสยี และบรหิ ำรจดั กำรแรงดันน้ำ
ตัวชีวดั 1. อตั รำนำ้ สญู เสยี (19%)

2. แรงดนั น้ำเฉล่ยี (9.5 เมตร)

**ปรบั ค่ำเปำ้ หมำยตำมผลกำรพจิ ำรณำทบทวนจำกคณะอนกุ รรมกำรบรหิ ำรจดั กำรนำสญู เสยี และแรงดนั นำ

กลยทุ ธ์ท่ี 1.1 กำรบรหิ ำรจัดกำรแรงดนั น้ำและน้ำสูญเสียเชิงพน้ื ทีอ่ ย่ำงย่งั ยืน

วัตถุประสงค์เชิงยุทธศำสตร์ (SO-2): เสริมสร้ำงระบบผลิต (ผลิต-สูบส่ง) ให้มีเสถียรภำพและเป็นมิตรต่อ
ส่งิ แวดล้อม
ตัวชีวดั 1. ปริมำณกำรผลิตสงู สุด / กำลงั กำรผลิตสูงสุด (0.90)
กลยทุ ธ์ท่ี 1.2 เสริมสรำ้ งเสถียรภำพระบบผลติ
กลยุทธท์ ี่ 1.3 เพ่มิ ศักยภำพกำรจัดกำรควำมเส่ยี งจำกสถำนกำรณ์ฉกุ เฉนิ และภยั พบิ ัติ
วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ ยุทธศำสตร์ (SO-3): บริหำรจดั กำรปรมิ ำณและคุณภำพน้ำทั้งระบบ (ต้นนำ้ -ปลำยนำ้ )
ตวั ชวี ดั 1. ควำมขุ่น ณ สถำนทใี่ ช้น้ำในภำวะปกติ (นอ้ ยกวำ่ 1.0 NTU Percentile ท่ี 95)

2. คำ่ คลอรีนอิสระ ณ สถำนที่ใช้นำ้ (ไมน่ อ้ ยกวำ่ 0.2 mg/l)
3. จำนวนคร้งั กำรหยุดผลิตโดยมีสำเหตุจำกระบบน้ำดิบเท่ำกับศูนย์
กลยทุ ธ์ที่ 1.4 ยกระดบั กำรจดั กำรคณุ ภำพน้ำประปำตำมแผนนำ้ ประปำปลอดภัย (Water Safety Plans)
กลยุทธ์ที่ 1.5 เสริมสรำ้ งเสถยี รภำพระบบนำ้ ดบิ

ดำ้ นท่ี 1: สร้ำงเสถียรภำพและควำมมัน่ คงของระบบประปำ

SO-1 พฒั นำระบบจำ่ ยนำ • กลยทุ ธท์ ่ี 1.1 กำรบรหิ ำรจัดกำรแรงดันนำ้ และ
นำ้ สญู เสยี เชิงพ้ืนทอ่ี ย่ำงยั่งยนื

SO-2 เสรมิ สรำ้ งระบบผลิต • กลยทุ ธท์ ่ี 1.2 เสรมิ สร้ำงเสถยี รภำพระบบผลิต
• กลยุทธท์ ่ี 1.3 เพิม่ ศักยภำพกำรจัดกำรควำม

เสี่ยงจำกสถำนกำรณฉ์ ุกเฉินและภยั พบิ ัติ

SO-3 บริหำรจดั กำรปรมิ ำณ • กลยุทธท์ ี่ 1.4 ยกระดับกำรจัดกำรคุณภำพ
และคณุ ภำพนำ นำ้ ประปำตำมแผนน้ำประปำปลอดภยั (WSP)

• กลยุทธ์ที่ 1.5 เสริมสร้างเสถยี รภาพระบบนา้ ดบิ

รูปภำพ : วัตถุประสงค์เชิงยุทธศำสตร์ และกลยทุ ธ์ภำยใต้ด้ำนที่ 1

29

แผนวิสาหกจิ กปน. ฉบับที่ 5 (ปี 2563–2565)

ด้ำนที่ 2: ยกระดับขดี ควำมสำมำรถองค์กรสู่ควำมเปน็ เลิศ
วัตถปุ ระสงค์เชิงยุทธศำสตร์ (SO-4): กำรพัฒนำเทคโนโลยีดิจิทัลและนำนวัตกรรมไปใช้อย่ำงเป็นระบบ เพื่อเพ่ิม
ขดี ควำมสำมำรถขององคก์ รพร้อมตอบสนองควำมต้องกำรควำมคำดหวังของผูม้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี
ตวั ชีวดั 1. ร้อยละของงำนสนับสนุนได้รับกำรพัฒนำให้เป็น Digital เพื่อตอบสนองควำมต้องกำรของผู้มี
ส่วนไดส้ ่วนเสีย (ไมน่ ้อยกวำ่ ร้อยละ 80 ของงำนทีก่ ำหนด)

2. คะแนนควำมพึงพอใจดำ้ น IT ของผูใ้ ช้บริกำร (ไม่น้อยกวำ่ 4.25 คะแนน)
3. จำนวนนวัตกรรม/งำนวิจยั ทีน่ ำไปตอ่ ยอดใช้จรงิ (จำนวน 3 รำยกำร)
กลยทุ ธ์ที่ 2.1 พัฒนำข้อมลู และระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศเพอื่ เพ่มิ ขีดควำมสำมำรถและควำมยืดหยุ่นให้กับ
องค์กรรวมทง้ั พัฒนำบรกิ ำรดิจทิ ัล
กลยทุ ธท์ ี่ 2.2 พฒั นำองค์กรสู่กำรเปน็ องค์กรแห่งนวัตกรรม (Innovative Organization)
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศำสตร์ (SO-8): ปรับโครงสร้ำงองค์กร ให้ตอบสนองกำรเปล่ียนแปลงทำงธุรกิจได้อย่ำง
รวดเรว็ และเพ่มิ ประสทิ ธิภำพกำรทำงำนของทุกกระบวนกำรทำงำน
ตัวชวี ดั 1. คำ่ ใช้จ่ำยบคุ ลำกรตอ่ ค่ำใช้จำ่ ยดำเนนิ กำร (รอ้ ยละ 44)
2. อัตรำสว่ นผใู้ ช้น้ำต่อบุคลำกร (500 : 1)
กลยทุ ธท์ ่ี 2.3 ปรบั ปรุงโครงสร้ำงองค์กร และออกแบบระบบกำรจดั กำรภำยในองคก์ ร
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศำสตร์ (SO-9): สร้ำงควำมพร้อมด้ำนบุคลำกรให้มีศักยภำพ ทักษะท่ีหลำกหลำย
(Multi Skill) รองรับกำรเปล่ียนแปลงและก้ำวทันไปกับนโยบำย Thailand 4.0 พร้อมสร้ำงควำมมุ่งม่ันและ
เต็มใจในกำรทำงำน
ตัวชีวดั 1. รอ้ ยละของบุคลำกรมพี ฤตกิ รรมทสี่ อดคลอ้ งกบั คำ่ นยิ มองค์กร (มำกกวำ่ ร้อยละ 85)
กลยทุ ธท์ ่ี 2.4 พัฒนำบุคลำกรให้พร้อมรับกำรเปลี่ยนแปลงและรองรับกำรเข้ำสู่ยุคดิจิทัลอย่ำงเต็มรูปแบบ

(Digitalize HRM and HRD)

30

แผนวสิ าหกิจ กปน. ฉบับที่ 5 (ปี 2563–2565)

ดำ้ นที่ 2: ยกระดบั ขดี ควำมสำมำรถองค์กรสู่ควำมเป็นเลิศ

SO-4 Digital & • กลยุทธท์ ี่ 2.1 พัฒนำข้อมลู และระบบเทคโนโลยี
Innovation สำรสนเทศเพ่ือเพม่ิ ขดี ควำมสำมำรถและควำมยืดหย่นุ
ให้กับองค์กรรวมทั้งพฒั นำบริกำรดิจทิ ัล

• กลยุทธท์ ่ี 2.2 พฒั นำองค์กรสู่กำรเป็นองค์กรแห่ง
นวตั กรรม (Innovative Organization)

SO-8 HRM • กลยุทธ์ท่ี 2.3 ปรับปรุงโครงสรำ้ งองคก์ ร และออกแบบ
ระบบกำรจดั กำรภำยในองค์กร

SO-9 HRD • กลยทุ ธ์ที่ 2.4 พัฒนำบคุ ลำกรใหพ้ ร้อมรับกำร
เปลย่ี นแปลงและรองรับกำรเข้ำสยู่ ุคดจิ ทิ ลั อยำ่ งเตม็
รูปแบบ (Digitalize HRM and HRD)

รูปภำพ : วตั ถุประสงค์เชงิ ยุทธศำสตร์ และกลยุทธ์ภำยใตด้ ้ำนท่ี 2

ด้ำนที่ 3: สง่ เสรมิ ควำมสัมพนั ธ์ท่ดี แี กผ่ ้มู สี ่วนได้ส่วนเสยี และยึดม่ันธรรมำภิบำลเพื่อควำมยง่ั ยนื

วัตถุประสงค์เชิงยุทธศำสตร์ (SO-5): พัฒนำควำมสัมพันธ์-ควำมร่วมมือที่ดีกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้วยหลัก
ธรรมำภบิ ำล

ตวั ชีวัด 1. ควำมพึงพอใจของผใู้ ชบ้ ริกำร (มำกกว่ำ 4.5 คะแนน)
2. ระดบั ควำมพึงพอใจของผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสีย (มำกกวำ่ 4.25 คะแนน)
3. อันดบั คะแนน ITA (อยใู่ น 5 อนั ดบั แรก)

กลยุทธท์ ่ี 3.1 เพิ่มประสิทธภิ ำพกำรบรหิ ำรจัดกำรเพอ่ื ตอบสนองควำมคำดหวังของลกู ค้ำ
กลยทุ ธ์ที่ 3.2 ยกระดบั ควำมสมั พนั ธ์กบั ผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสียเพอื่ สร้ำงควำมย่ังยนื ดว้ ยหลักธรรมำภิบำล
วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงยุทธศำสตร์ (SO-6): ส่งเสรมิ กจิ กรรมเชงิ สังคมและเป็นมิตรต่อสิง่ แวดลอ้ ม

ตวั ชีวดั 1. ปริมำณกำรใชน้ ำ้ ต่อคน/วนั (ลดลง 2%)
กลยุทธท์ ่ี 3.3 ส่งเสริมกิจกรรมเชงิ สงั คมและเป็นมติ รตอ่ สง่ิ แวดล้อม

31

แผนวิสาหกจิ กปน. ฉบับท่ี 5 (ปี 2563–2565)

ด้ำนท่ี 3: สง่ เสรมิ ควำมสมั พันธท์ ด่ี แี ก่ผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสยี และยึดม่นั
ธรรมภบิ ำลเพ่ือควำมยง่ั ยนื

SO-5 Stakeholder • กลยุทธท์ ่ี 3.1 เพิม่ ประสทิ ธภิ ำพกำรบรหิ ำรจดั กำร
Relationship เพ่ือตอบสนองควำมคำดหวงั ของลูกค้ำ

• กลยุทธท์ ่ี 3.2 ยกระดบั ควำมสมั พนั ธ์กับผมู้ ีสว่ นได้
สว่ นเสยี เพ่อื สร้ำงควำมยง่ั ยืนดว้ ยหลักธรรมำภบิ ำล

SO-6 Social & Environment • กลยทุ ธ์ท่ี 3.3 สง่ เสรมิ กจิ กรรมเชงิ สงั คมและเป็น
มิตรตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม

ด้ำนท่ี 4: สร้ำงควำมมั่นคงขององคก์ ร
วัตถุประสงค์เชงิ ยทุ ธศำสตร์ (SO-7): เพ่มิ ควำมมนั่ คงทำงด้ำนกำรเงนิ
ตวั ชวี ัด 1. กำไรทำงเศรษฐศำสตร์ (Economic Profit: EP) (ผลต่ำง EP +100 ลำ้ นบำท จำกปี 2562)
กลยทุ ธท์ ่ี 4.1 เพม่ิ ประสทิ ธิภำพและสรำ้ งรำยได้ในกำรดำเนนิ งำน

ดำ้ นที่ 4 : สร้ำงควำมมน่ั คงขององคก์ ร

SO-7 Finance • กลยทุ ธ์ที่ 4.1 เพมิ่ ประสิทธภิ ำพและสร้ำงรำยได้
ในกำรดำเนินงำน

32

แผนวสิ าหกจิ กปน. ฉบบั ที่ 5 (ปี 25

ทง้ั น้ี ภำพควำมเช่ือมโยงแผนวิสำหกจิ กปน. ฉบับท่ี 5 (ปี 2563-2565) มีรำยละเอ

CC SC SA ลำดับ SOs
 SC2 SA2 1 พัฒนำระบบจำ่ ยนำ้
เป้ำประสงค์
LOSS
พฒั นำระบบจำ่ ยนำ้ และบริหำรจัดกำรน้ำ
พัฒนำเทคโนโลยสี ำรสนเทศเพือ่ กำรจดั กำ
และบรหิ ำรจดั กำรแรงดนั น้ำ

 SC4 SA1 2 เสรมิ สร้ำงระบบผลติ เสรมิ สรำ้ งระบบผลติ (ผลิต-สูบสง่ )ใหม้ ีเสถ
มิตรตอ่ สิ่งแวดล้อม

 SC1 SA1 3 บรหิ ำรจดั กำรปรมิ ำณ บริหำรจดั กำรปรมิ ำณและคณุ ภำพนำ้ ทั้งร

และคณุ ภำพนำ้ (ต้นน้ำ-ปลำยน้ำ)

WSP

SC3 4 Digital & กำรพฒั นำเทคโนโลยดี ิจิทัลและนำนวตั กร

Innovation ระบบ เพ่อื เพิ่มขีดควำมสำมำรถขององค์ก

ควำมต้องกำรควำมคำดหวงั ของผมู้ สี ่วนได

Digital MWA

563–2565)

อียดดังนี้

ำสญู เสยี รวมถงึ ตวั ชวี ัด-ค่ำเปำ้ หมำย (ณ ปี 2565) กลยทุ ธ์
ำรลดนำ้ สญู เสยี อตั รำน้ำสญู เสีย 19 %
1.1 กำรบรหิ ำรจดั กำรแรงดันนำ้
แรงดันนำ้ 9.5 เมตร และน้ำสญู เสียเชิงพ้ืนท่ีอย่ำงยง่ั ยนื

ถยี รภำพและเป็น อตั รำส่วนปรมิ ำณกำรผลติ สูงสดุ /กำลงั 1.2 เสรมิ สร้ำงเสถยี รภำพระบบ
กำรผลิตสูงสดุ ผลติ
ระบบ อัตรำ 0.90
1.3 เพิ่มศกั ยภำพกำรจดั กำรควำม
รรมไปใช้อยำ่ งเป็น ควำมขนุ่ ณ สถำนทีใ่ ชน้ ้ำในภำวะปกติ เส่ยี งจำกสถำนกำรณฉ์ ุกเฉินและภยั
กรพร้อมตอบสนอง น้อยกวำ่ 1.0 NTU Percentile ที่ 95 พบิ ตั ิ
ด้สว่ นเสยี คำ่ คลอรีนอสิ ระ ณ สถำนทใ่ี ชน้ ้ำ 1.4 ยกระดบั กำรจัดกำรคุณภำพ
ไม่นอ้ ยกวำ่ 0.2 mg/l นำ้ ประปำตำมแผนน้ำประปำ
จำนวนครัง้ กำรหยดุ ผลติ โดยมีสำเหตจุ ำก ปลอดภยั (Water Safety Plans)
ระบบนำ้ ดบิ เทำ่ กบั ศนู ย์
งำนสนบั สนุนได้รบั กำรพฒั นำใหเ้ ป็น 1.5 เสรมิ สรำ้ งเสถยี รภำพระบบนำ้ ดบิ
Digital เพอ่ื ตอบสนองควำมตอ้ งกำรของ
ผูม้ สี ่วนไดส้ ่วนเสีย ไมน่ ้อยกวำ่ รอ้ ยละ 80 2.1 พฒั นำขอ้ มูล และระบบ
คะแนนควำมพงึ พอใจดำ้ น IT ของ เทคโนโลยีสำรสนเทศเพื่อเพม่ิ ขดี
ผู้ใช้บรกิ ำรคะแนน 4.25 ควำมสำมำรถและควำมยืดหยุน่
จำนวนนวัตกรรม/งำนวจิ ัยท่นี ำไปตอ่ ใหก้ บั องค์กรรวมทงั้ พฒั นำบริกำร
ยอดใช้จรงิ ไมน่ อ้ ยกวำ่ 3 ช้นิ งำน ดิจทิ ัล
2.2 พฒั นำองคก์ รสู่กำรเปน็ องคก์ ร
แห่งนวตั กรรม (Innovative
Organization)

33

CC SC SA ลําดบั แผนวสิ าหกิจ กปน. ฉบบั ที่ 5 (ปี 25

SC5 SA3 5 Stakeholder SOs
Relationship เป้าประสงค์
SA2 พฒั นาความสัมพันธ-์ ความร่วมมอื ท่ีดกี บั ผ
ดว้ ยหลักธรรมาภิบาล

SC5 SA3 6 Social & ส่งเสรมิ การใช้นํา้ อยา่ งประหยดั และร้คู ณุ ค
SC3 SA2 ชุมชนและสิ่งแวดล้อม
Environment
เพิม่ ความมัน่ คงทางด้านการเงิน
SC6 SA3 7 Finance

SC7 SA4 8 HRM ปรบั โครงสร้างองค์กร ใหต้ อบสนองการเปลยี่ น
SC7 SA4 9 HRD อยา่ งรวดเรว็ และเพมิ่ ประสิทธภิ าพทกุ กระบว

สรา้ งความพรอ้ มดา้ นบคุ ลากรใหม้ ศี กั ยภา
หลากหลาย(Multi Skill) รองรบั การเปลย่ี
ทนั ไปกบั นโยบาย Thailand 4.0 พรอ้ มส
และเตม็ ใจในการทาํ งาน

563–2565) ตวั ชี้วัด-คา่ เป้าหมาย (ณ ปี 2565) กลยทุ ธ์
ความพึงพอใจของผ้ใู ชบ้ รกิ าร
ผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี มากกว่า 4.5 3.1 เพมิ่ ประสิทธิภาพการบรหิ าร
จดั การเพือ่ ตอบสนองความคาดหวงั
ความพึงพอใจของผ้มู สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ของลูกค้า
คะแนน 4.25 3.2 ยกระดับความสัมพันธ์กับผู้มี
อันดับคะแนน ITA อยใู่ น 5 อันดับแรก สว่ นไดส้ ว่ นเสยี เพือ่ สร้างความย่ังยืน
ดว้ ยหลกั ธรรมาภิบาล

ค่า พรอ้ มใส่ใจ ปริมาณการใชน้ ํ้าต่อคน/วัน 3.3 สง่ เสริมกิจกรรมเชงิ สงั คมและ
ลดลงรอ้ ยละ 2 เปน็ มติ รต่อสงิ่ แวดลอ้ ม

EP เพ่มิ ขึ้น 100 ล้านบาท จากปี 2562 4.1 เพ่ิมประสิทธภิ าพและสรา้ ง
รายได้ในการดาํ เนนิ งาน

นแปลงทางธรุ กิจได้ คา่ ใชจ้ ่ายบคุ ลากรต่อคา่ ใชจ้ ่ายดาํ เนนิ การ 2.3 ปรับปรงุ โครงสร้างองคก์ ร และ
วนการทํางาน
ร้อยละ 44 ออกแบบระบบการจดั การภายใน
าพ ทกั ษะที่
ยนแปลงและกา้ ว อตั ราส่วนผู้ใช้น้ําต่อบุคลากร องคก์ ร
สรา้ งความมุ่งม่ัน
500 ต่อ 1

ร้อยละของบคุ ลากรมพี ฤติกรรมที่ 2.4 พฒั นาบุคลากรใหพ้ รอ้ มรบั การ

สอดคลอ้ งกับคา่ นยิ มองค์กร (รอ้ ยละ) เปลีย่ นแปลงและรองรบั การเข้าสยู่ คุ

มากกวา่ รอ้ ยละ 85 ดจิ ิทลั อย่างเต็มรปู แบบ(Digitalize

HRM and HRD)

34

แผนวิสาหกิจ กปน. ฉบับที่ 5 (ปี 2

กำรถ่ำยทอดแผนวิสำหกิจ กปน. ฉบบั ที่ 5 (ปี 2563-2565) สู่กำรปฏิบตั ิ
แผนวสิ ำหกิจ กปน. ฉบับที่ 5 ( ปี 2563-2565) ซ่งึ ประกอบดว้ ย 4 ดำ้ น 9 วัต

จดั ทำแผนท่ยี ทุ ธศำสตร์ (Strategy Map) โดยประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั กำรระบบ Balanced S

2563–2565)

ตถปุ ระสงค์เชงิ ยุทธศำสตร์ และ 13 กลยุทธ์ สำมำรถนำมำถ่ำยทอดสู่กำรปฏิบัติ ด้วยกำร
Scorecard (BSC) ซ่งึ สำมำรถแสดง ไดด้ งั นี้

35

แผนวสิ าหกจิ กปน. ฉบับท่ี 5 (ปี 2

นอกจำกนี้ พิจำรณำควำมเชือ่ มโยงและกำรถำ่ ยทอดไปสกู่ ำรปฏบิ ตั ิ โดยกำรด
ดำ้ นบนรำยละเอียดตำมภำพดงั ต่อไปนี้

2563–2565)

ดำเนินงำนตำมเป้ำประสงคใ์ นมิติดำ้ นล่ำงจะสง่ ผลเอ้อื ให้เกดิ กำรบรรลเุ ปำ้ ประสงค์ในมติ ิ

EP

36

แผนวสิ าหกิจ กปน. ฉบับท่ี 5 (ปี 2563–2565)

3.6 โครงกำร/แผนงำนภำยใต้แผนวิสำหกิจ

กลยทุ ธ์ 1.1 กำรบริหำรจดั กำรแรงดนั นำและนำสูญเสียเชงิ พืนที่อยำ่ งยง่ั ยนื

ตวั ชวี้ ดั ค่ำเป้ำหมำย โครงกำร

2563 2564 2565

อัตรำนำ้ สญู เสีย 24 19 19 1.1-1P โครงกำรปรบั ปรงุ ท่อจำ่ ย บริกำร

อยรู่ ะหว่ำงกำรทบทวน 1.1-2P โครงกำรบริหำรจดั กำรพน้ื ที่เฝ้ำระวัง บริกำร

1.1-3P โครงกำรนำเทคโนโลยมี ำใช้เพอื่ กำร บรกิ ำร

บริหำรจดั กำรนำ้ สญู เสยี

1.1-4P โครงกำรบรหิ ำรจดั กำรเคร่อื งวดั บรกิ ำร

ผลติ และส่งนำ้

1.1-5P โครงกำรวำงท่อประปำให้ไดม้ ำตรฐำน* วศิ วกรรมและ

ก่อสรำ้ ง

แรงดนั นำ้ 9.3 9.5 9.5 1.1-6P โครงกำรบริหำรจดั กำรแรงดันน้ำ ผลิตและส่งนำ้

อย่รู ะหว่ำงกำรทบทวน บรกิ ำร
วศิ วกรรมและ

กอ่ สรำ้ ง

กลยทุ ธ์ 1.2 เสรมิ สร้ำงเสถียรภำพระบบผลติ

ตวั ชวี้ ดั คำ่ เป้ำหมำย โครงกำร

2563 2564 2565

ปรมิ ำณกำรผลติ 0.97 0.94 0.9 1.2-1P โครงกำรปรบั ปรุงกิจกำรประปำแผน วศิ วกรรมและ
หลกั ครงั้ ที่ 9 ก่อสร้ำง
สงู สดุ /กำลังกำรผลิต
1.2-2P โครงกำรปรบั ปรุงกิจกำรประปำแผน แผนและ
สงู สดุ * หลกั คร้ังที่10 พฒั นำ

1.2-3P โครงกำรแผนแม่บทโครงสร้ำงพน้ื ฐำน แผนและ
(Master plan) พฒั นำ

1.2-4P โครงกำรปรบั ปรุงระบบผลิต สูบส่ง สูบ วิศวกรรมและ
จ่ำยเร่งดว่ นระยะ 3ปี* กอ่ สรำ้ ง
ผลิตและสง่ นำ้
แผนและ
พฒั นำ

กลยทุ ธ์ 1.3 เพ่ิมศักยภำพกำรจดั กำรควำมเสย่ี งจำกสถำนกำรณ์ฉุกเฉนิ และภัยพิบัติ

ตวั ชีว้ ัด ค่ำเป้ำหมำย โครงกำร

2563 2564 2565

ร้อยละของงำนที่ 100 100 100 1.3-1P โครงกำรพฒั นำระบบกำรบรหิ ำรควำม แผนและ
พฒั นำ
สำคญั มแี ผนรองรบั ต่อเน่ืองทำงธุรกจิ (Business Continuity

สถำนกำรณ์ฉกุ เฉิน ManagementSystem: BCMS)

และมกี ำร/ทดสอบ

อย่ำงน้อย 1 ครงั้ ต่อปี

37

แผนวสิ าหกิจ กปน. ฉบับที่ 5 (ปี 2563–2565)

กลยทุ ธ์ 1.4 ยกระดบั กำรจดั กำรคุณภำพนำประปำตำมแผนนำประปำปลอดภยั (Water Safety Plans)

ตัวชวี้ ัด ค่ำเป้ำหมำย โครงกำร
2563 2564 2565
ควำมขุ่น ณ สถำนท่ี P95 P95 P95 1.4-1P โครงกำรแผนน้ำประปำปลอดภยั ทกุ สำยงำน
ใช้นำ้ ในภำวะปกติ (Water Safety Plans)
น้อยกวำ่ 1.0 NTU >0.2 >0.2 >0.2 ผลิตและส่ง
mg/l mg/l mg/l 1.4-2P โครงกำรพฒั นำกำรตรวจสอบ และกำร นำ้
ค่ำคลอรนี อสิ ระ ณ เข้ำถึงขอ้ มลู คุณภำพนำ้ ให้ทันสมยั ทัดเทียม
สถำนที่ใชน้ ำ้ สำกล ผลิตและสง่
น้ำ
1.4-3P โครงกำรยกระดับมำตรฐำนกำรซ่อมท่อ
ประธำนเพ่ือสร้ำงควำมเชื่อมน่ั ด้ำนควำมสะอำด

กลยทุ ธ์ 1.5 เสรมิ สร้ำงเสถยี รภำพระบบนำดิบ

ตวั ชวี้ ดั ค่ำเปำ้ หมำย โครงกำร

2563 2564 2565

จำนวนครัง้ กำรหยดุ (0 ครงั้ ) (0 คร้งั ) (0 ครัง้ ) 1.5-1P โครงกำรบริหำรจดั กำรระบบสง่ น้ำดิบ วิศวกรรมและ

ผลติ โดยมีสำเหตจุ ำก อยำ่ งมปี ระสิทธภิ ำพ กอ่ สร้ำง

ระบบนำ้ ดิบ  ฝง่ั ตะวันออก ผลติ และส่งน้ำ

ร้อยละของปรมิ ำณ 100 100 100  ฝ่ังตะวันตก

น้ำดบิ ท่เี ข้ำสรู่ ะบบ

ผลิตไดต้ ำมแผนงำนท่ี

กำหนด

กลยทุ ธ์ 2.1 พัฒนำข้อมูล และระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศเพ่อื เพ่มิ ขีดควำมสำมำรถและควำมยดื หยนุ่

ใหก้ บั องคก์ รรวมทงั พัฒนำบรกิ ำรดจิ ทิ ลั

ตัวชว้ี ดั ค่ำเปำ้ หมำย โครงกำร

2563 2564 2565

จำนวนบทวิเครำะห์ที่ 3 3 3 2.1-1L โครงกำรพฒั นำระบบข้อมลู เพ่อื เพ่ิม เทคโนโลยี

สอดคล้องกับ ขดี ควำมสำมำรถขององคก์ ร (Data Driven สำรสนเทศ

วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิง Organization)

ยุทธศำสตร์ 2.1-2L โครงกำรพัฒนำระบบสำรสนเทศ วศิ วกรรมและ

ภมู ศิ ำสตรส์ ่กู ำรใช้งำนระดับองค์กร ก่อสร้ำง

(Enterprise GIS)

คะแนนควำมพึงพอใจ 3.95 4.1 >4.25 2.1-3L โครงกำรพัฒนำงำนให้บรกิ ำรใน เทคโนโลยี

ดำ้ น ITของผใู้ ช้บรกิ ำร รูปแบบดิจทิ ลั (Digital Service) สำรสนเทศ

ระบบงำนที่ได้รับกำร ระบบ ระบบ ระบบ บริกำร

ปรบั เปลยี่ นเป็น Digital งำน งำน งำนสว่ น สำนักผู้ว่ำกำร

ใหร้ องรบั สำขำเสมือน กลุ่มที่ 1 กลมุ่ ท่ี 2 ท่ีเหลอื 2.1-4L โครงกำรระบบวเิ ครำะห์ขอ้ มลู บรหิ ำร
(ระบบงำนตำมทกี่ ำหนด)
ไนอ้ ย ไมน่ อ้ ย สูบจ่ำยน้ำอัจฉริยะ(Smart Water System)* แผนและ
ร้ อ ย ล ะ ข อ ง ง ำ น กำหนด กว่ำรอ้ ย กว่ำรอ้ ย พัฒนำ
สนับสนุนได้รับกำร ระบบงำน
กำรเงิน

พัฒนำให้เป็น Digital ละ 80 ละ 80

เพื่อตอบสนองควำม ของงำน ของงำน

ต้องกำรของผู้มีส่วน ทก่ี ำหนด ท่กี ำหนด

ได้สว่ นเสยี

38

แผนวสิ าหกจิ กปน. ฉบับที่ 5 (ปี 2563–2565)

กลยทุ ธ์ 2.2 พัฒนำองคก์ รสู่กำรเปน็ องค์กรแห่งนวัตกรรม (Innovative Organization)

ตัวช้วี ดั ค่ำเปำ้ หมำย Initiative/โครงกำร Flag ship

จำนวนนวตั กรรม/ 2563 2564 2565
งำนวจิ ยั ท่ีนำไปต่อ
ยอดใช้จรงิ 33 3 2.2-1L โครงกำรพัฒนำองคก์ รด้วย R&D และ ฝำ่ ยพัฒนำ
จำนวนผลงำนกำร นวัตกรรม วชิ ำกำร
พัฒนำกระบวนงำน ประปำ
และนวัตกรรม 2.2-2L โครงกำรบรหิ ำรจดั กำรองคค์ วำมรใู้ น
80 85 90 งำนประปำ

กลยทุ ธ์ 2.3 ปรบั ปรุงโครงสรำ้ งองค์กร และออกแบบระบบกำรจัดกำรภำยในองคก์ ร

ตัวช้ีวัด ค่ำเป้ำหมำย Initiative/โครงกำร Flag ship

2563 2564 2565

อตั รำคำ่ ใชจ้ ่ำย  46  45  44 2.3-1P โครงกำรปรบั ปรงุ โครงสรำ้ งองคก์ รสู่ บริหำร

บคุ ลำกรต่อค่ำใช้จ่ำย กำรเปน็ องคก์ รสมรรถนะสงู แผนและ

ดำเนนิ กำร(รอ้ ยละ) พัฒนำ

อตั รำส่วนผ้ใู ช้นำ้ ต่อ 460:1 480:1 500:1 ทกุ สำยงำน

บุคลำกร

กลยทุ ธ์ 2.4 พัฒนำบคุ ลำกรให้พร้อมรับกำรเปลย่ี นแปลงและรองรบั กำรเข้ำสู่ยุคดิจทิ ัลอยำ่ งเต็มรูปแบบ

(Digitalize HRM and HRD)

ตัวชวี้ ัด คำ่ เปำ้ หมำย Initiative/โครงกำร Flag ship

2563 2564 2565

ร้อยละของบคุ ลำกรที่ 80 80 80 2.4-1L โครงกำรพัฒนำบุคลำกรเพอื่ สนบั สนุน บรหิ ำร

มผี ลกำรประเมิน กำรดำเนินงำนตำมกลยุทธไ์ ด้อยำ่ งมี พัฒนำวิชำกำร

ดำ้ น Digital ประสทิ ธภิ ำพ ประปำ

Literacy ผ่ำนเกณฑ์

กำรประเมนิ ทีอ่ งคก์ ร

คำดหวัง

รอ้ ยละของบคุ ลำกรมี  85  85  85 2.4-2L โครงกำรเสรมิ สร้ำงวฒั นธรรมองคก์ ร บริหำร

พฤตกิ รรมทส่ี อด คลอ้ ง

กบั คำ่ นิยมองค์กร

ระดบั ควำมผูกพนั 4.475 4.5 4.5 2.4-3L โครงกำรเสรมิ สรำ้ งและยกระดบั ควำม บริหำร

โดยรวม(ระดบั ) ผกู พันองค์กร

39


Click to View FlipBook Version