The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การคิด ประถม ศิลปะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การคิด ประถม ศิลปะ

การคิด ประถม ศิลปะ

ตัวชี้วดั
ความคิด
สาระ
ทักษะการคิด
ชน้ิ งาน/
แนวการจดั

รวบยอด
การเรยี นร
ู้ ภาระงาน
กจิ กรรมการเรียนรู้







ทไี่ ด้รับมอบหมาย






๑๐. ฝกึ ปฏิบัตกิ าร





สร้างสรรค







ผลงานการอกแบบ





เครือ่ งแต่งกาย หรือ





อุปกรณ์ ฉาก





ประกอบการแสดง






๑๑. นำเสนอ






ผลงานการออกแบบ







ซงึ่ ประกอบดว้ ย





ประเดน็ ของ





วัตถุประสงค์ วธิ ีใช้





และขนั้ ตอนการ





สรา้ งสรรค์ พรอ้ ม






ให้ข้อเสนอแนะ








มาตรฐาน ศ ๓.๑
รำวงมาตรฐาน

ประเภทของการ ๑. ทักษะ

๑. แสดงรำวง ๑. ศกึ ษาสำรวจ
๓. แสดง
ฟ้อน และละคร

แสดงนาฏศิลป์ การสรุปอา้ งองิ
มาตรฐาน ระบำ ข้อมูลประเภทของ
นาฏศลิ ป์และ สรา้ งสรรค์ลว้ น และละคร
๒. ทักษะการ
ฟ้อน และ

การแสดงนาฏศลิ ป์
ละครง่าย ๆ
เป็นการแสดง - รำวงมาตรฐาน
หาแบบแผน
ละครสรา้ งสรรค
์ และละคร อนั

นาฏศิลปท์ ่คี วร - ระบำ

ได้อยา่ งละ ๑ ชดุ
ประกอบด้วย รำวง

ฝกึ ปฏบิ ตั ิเพือ่
- ฟ้อน

๒. ผลงานการ มาตรฐาน ระบำ

คงไวซ้ ่ึง - ละคร
เขียนความรูส้ ึก ฟอ้ น และละคร

เอกลักษณ
์ สร้างสรรค

จากการแสดง
สรา้ งสรรค์ โดยการ

ความเปน็ ไทย



อ้างองิ จากความรู้





และประสบการณ์





เดิม และความรู้ใหม่





เพื่อหาแบบแผนของ





การแสดง






๒. จดั เรียงความคิด





โดยการจัดทำ





แผนผังความคดิ





ประเภทของการแสดง













192 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรูเ้ พ่ือพัฒนาทักษะการคิด ระดับประถมศกึ ษา

กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ

ตัวช้วี ดั
ความคิด
สาระ
ทกั ษะการคิด
ชิ้นงาน/
แนวการจัด

รวบยอด
การเรยี นร
ู้ ภาระงาน
กิจกรรมการเรยี นรู้







นาฏศลิ ป์ ละครและ





ลกั ษณะแบบแผน





ของการแสดงรำวง





มาตรฐานระบำ





ฟ้อน และละคร





สรา้ งสรรค






๓. ฝกึ ปฏบิ ตั ิ และ





ผลัดกันนำเสนอและ





ชื่นชมผลงาน






การแสดงรำวง





มาตรฐาน ระบำ





ฟ้อน และละคร





สร้างสรรค์ จากน้นั





ร่วมกนั วิพากษว์ จิ ารณ







ผลงานการแสดง





และให้ขอ้ เสนอแนะ





เพื่อแก้ไขปรับปรุง






๔. รว่ มกนั สรปุ





ประเภทของการ





แสดงนาฏศลิ ปแ์ ละ





ละครอนั ประกอบ





ดว้ ย รำวงมาตรฐาน






ระบำ ฟอ้ น และ





ละครสร้างสรรค








มาตรฐาน ศ ๓.๑
นาฏศลิ ปแ์ ละ ๑. บทบาทและ ๑. ทักษะ

๑. ผงั ความคิด ๑. สนทนารวบรวม


๔. บรรยายความ ละครมีความ หนา้ ทใี่ นงาน

การคดิ ลึกซง้ึ
บทบาทและหนา้ ท

ี บทบาทหน้าทใี่ นงาน

ร้สู ึกของ สมั พนั ธก์ บั ชวี ิต นาฏศิลป์และ ๒. ทกั ษะ
ในงานการแสดง
การแสดงนาฏศลิ ป์
ตนเองที่มตี อ่ ประจำวันดงั นั้น การละคร
การสรุป

นาฏศิลป์และ

และการละคร

งานนาฏศลิ ป์ การบรรยายและ ๒. หลักการชม ลงความเห็น
การละคร
แลว้ เชอ่ื มโยงเขา้ สู่
และการละคร แสดงความคดิ เหน็ การแสดง
๓. ทกั ษะ
๒. ผลงานการ บทบาทและหน้าท
ี่

อยา่ ง ของตนเองทมี่ ี - การวเิ คราะห์
การสำรวจค้นหา
เขียนบรรยาย ดงั กลา่ วโดยจำแนก
สร้างสรรค์
ต่องานนาฏศลิ ป์

- ความรู้สกึ
ความรู้สึกของตน เปน็ ประเด็นต่าง ๆ ใน


อย่างสรา้ งสรรค
์ ชนื่ ชม

ที่มตี อ่ งานการ รูปแบบผงั มโนทัศน์





แสดงนาฏศลิ ป์


แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ พอื่ พัฒนาทักษะการคดิ ระดบั ประถมศกึ ษา
193
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ

ตวั ชีว้ ดั
ความคิด
สาระ
ทักษะการคดิ
ชนิ้ งาน/
แนวการจดั

รวบยอด
การเรียนรู้
ภาระงาน
กจิ กรรมการเรยี นรู้


๕. แสดงความ ทำให้เกิดเจตคติ ๓. องค์ประกอบ

และการละคร
๒. วิเคราะห์
คิดเหน็ ในการ ท่ดี ตี ่อการแสดง ทางนาฏศิลปแ์ ละ
๓. ผงั มโนทศั น

อภิปรายถึงบทบาท
ชมการแสดง
และสามารถนำ การละคร

องค์ประกอบของ

และหนา้ ที่ในงาน
๖. อธบิ ายความ ไปปรับใช้กบั ชีวิต

นาฏศิลปแ์ ละ

นาฏศิลป์และการ
สมั พนั ธ์ ประจำวันได


การละคร
ละครตามประเด็น
ระหว่าง



๔. การเขียน ต่าง ๆ แลว้ นำผล
นาฏศลิ ป์และ


บรรยายแสดง การอภิปราย

การละครกบั


ความคิดเห็นใน แลกเปล่ยี นกนั

ส่ิงที่ประสบใน


การชมการแสดง
๓. พจิ ารณาความ
ชวี ติ ประจำวนั




รสู้ ึกของตนเองทมี่ ี





ตอ่ งานนาฏศิลป์และ





การละครอย่าง





สรา้ งสรรค์ จากน้ัน






เขียนบรรยาย







แลกเปลย่ี นกนั






๔. ชมการแสดง






เพ่อื ศึกษาข้อมลู






๕. วเิ คราะห






การแสดง พร้อมกบั





จัดทำผลการวิเคราะห







ขอ้ มลู เป็นผงั ความคดิ






๖. นำเสนอผลการ





วิเคราะหข์ อ้ มูล







โดยเชอ่ื มโยงการใช้





เหตผุ ลอา้ งองิ จาก





ความรู้ หรือ





ประสบการณ์เดิม





พร้อมกบั ถ่ายทอด





ความรู้สึกทีไ่ ด้จาก





การชมการแสดง


































194 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้เู พ่ือพัฒนาทกั ษะการคดิ ระดับประถมศกึ ษา

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

ตวั ชี้วดั
ความคิด
สาระ
ทักษะการคดิ
ชิ้นงาน/
แนวการจดั


รวบยอด
การเรียนรู้
ภาระงาน
กจิ กรรมการเรยี นรู้




๗. ศึกษาองค์ประกอบ





ของนาฏศลิ ป์ และ





การละคร พรอ้ มท้ัง






จดั ทำผังมโนทัศน






๘. ชมการแสดง






นาฏศลิ ป์และละคร






๙. นำขอ้ มลู ท่ีได้รับ





จากการชมการแสดง





นาฏศลิ ป์และละคร






มาเชอ่ื มโยง






ส่ิงทพี่ บในชวี ิต





ประจำวนั เพื่อ





วเิ คราะหอ์ ภปิ ราย





หาความสัมพันธ






๑๐. รวบรวมข้อมลู






ทไ่ี ด้จากการวเิ คราะห







มาอธบิ ายถงึ ความ





สัมพันธร์ ะหว่าง






นาฏศลิ ป์และการ





ละครกับสิง่ ท่ีประสบ





ในชีวิตประจำวนั และ




สรปุ ความสัมพันธ์


ระหว่างนาฏศิลป์


และการละครกบั



สงิ่ ทพี่ บในชีวติ


ประจำวัน

















แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรเู้ พ่ือพฒั นาทกั ษะการคิด ระดบั ประถมศึกษา
195
กลมุ่ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะ

สาระท่ี ๓ นาฏศลิ ป์


มาตรฐาน ศ ๓.๒ เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวตั ศิ าสตร์และวฒั นธรรมเห็นคุณค่า
ของนาฏศิลป์ท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย
และสากล


ตัวช้วี ดั
ความคิด
สาระ
ทกั ษะการคิด
ชน้ิ งาน/
แนวการจดั

รวบยอด
การเรยี นร
ู้ ภาระงาน
กิจกรรมการเรยี นรู


าระที่ ๓
นาฏศลิ ปไ์ ทย ๑. ความหมาย
๑. ทกั ษะการระบ
ุ ๑. การเขยี น ๑. รวบรวมความรู้
นาฏศิลป
์ และการละคร ความเป็นมา

๒. ทกั ษะ

รายงานรวบรวม
เก่ยี วกับความหมาย


มาตรฐาน ศ ๓.๒
เป็นมรดกทาง ความสำคญั ของ การใหเ้ หตผุ ล
ความหมาย

ความเป็นมา ความ
๑. อธบิ ายสงิ่ ท่มี ี วฒั นธรรมทมี่ ี นาฏศิลป์และ ความเปน็ มา สำคญั บุคคลสำคญั
ความสำคญั ความเปน็ มา
ละคร
ความสำคญั คณุ ค่าของนาฏศลิ ป


ต่อการแสดง อันยาวนาน

- บคุ คลสำคญั
บคุ คลสำคญั และละครจดั ทำเปน็

นาฏศลิ ป์และ มอี งคป์ ระกอบ - คณุ ค่า
คุณคา่ ของ

รายงาน

ละคร
เป็นพืน้ ฐานและ ๒. การแสดง
นาฏศลิ ป์และ ๒. วิเคราะห์ และ
๒. ระบปุ ระโยชน

เก่ยี วข้องกบั ชวี ิต นาฏศิลป์และ ละคร
อภิปรายความหมาย
ทไ่ี ด้รับจาก ประจำวัน
ละครในวนั ๒. การอภปิ ราย
ความเปน็ มา ความ
การแสดงหรอื สำคัญของ ความหมาย

สำคัญ บคุ คลสำคญั

การชมการ โรงเรียน
ความเปน็ มา คุณคา่ ของนาฏศิลป์
แสดงนาฏศิลป
์ ความสำคญั และละครเพื่อสรา้ ง
และละคร
บคุ คลสำคญั ความเขา้ ใจให้
คณุ คา่ ของ

กระจา่ งชดั เจน

นาฏศลิ ป์และละคร
๓. อธิบายความหมาย
๓. นำเสนอ ความเปน็ มา

ประโยชนท์ ไี่ ด้รบั
ความสำคัญ บุคคล
จากการแสดงหรือ สำคญั คุณคา่ ของ
ชมการแสดง
นาฏศลิ ปแ์ ละละคร

นาฏศลิ ปแ์ ละ ๔. อภิปรายถงึ

ละคร
ประโยชน์ท่ีได้รับ


จากการแสดงหรอื
การชมการแสดง

นาฏศลิ ปแ์ ละละครมา
โดยการระบไุ วใ้ น

ผังมโนทัศน


196 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เพอ่ื พัฒนาทกั ษะการคดิ ระดบั ประถมศึกษา

กลุม่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ

ตวั ชวี้ ดั
ความคิด
สาระ
ทกั ษะการคดิ
ช้นิ งาน/
แนวการจดั

รวบยอด
การเรียนร้
ู ภาระงาน
กจิ กรรมการเรยี นร
ู้
๕. กำหนดวนั สำคญั
ต่าง ๆ ในโรงเรยี น
จากนน้ั แบ่งกลุ่ม


ให้พอดีกับวันสำคญั

ดงั กล่าว แต่ละกลมุ่
รว่ มกันวางแผน


เพ่ือนำประโยชน์
จากการแสดงหรือ
การชมนาฏศิลป์
และละครมาปรบั
ประยกุ ตใ์ ช้กบั

การแสดงนาฏศิลป์
และละครในวนั
สำคัญของโรงเรยี น

๖. แต่ละกลุม่

นำเสนอ


แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรเู้ พ่อื พฒั นาทักษะการคิด ระดบั ประถมศกึ ษา
197
กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ

ตวั อยา่ งหนว่ ยการเรยี นรู้


ตัวอย่างหน่วยการเรียนรู้ เป็นการนำผลการวิเคราะห์การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดใน ๖ ประเด็น คอื ตวั ชี้วัดทนี่ ำมาจดั กจิ กรรมรว่ มกนั ความคดิ รวบยอด

สาระการเรียนรู้ ทักษะการคิด ช้ินงาน/ภาระงาน และแนวการจัดการเรียนรู้นำมาจัดทำ

หน่วยการเรียนรูใ้ น ๓ ขั้นตอน ดงั น้

● การกำหนดเปา้ หมายการเรียนรู

● การกำหนดหลักฐานการเรียนร
ู้
● การจัดกจิ กรรมการเรยี นร้

ในทางปฏิบัติ สามารถจัดทำเป็นหน่วยการเรียนรู้ได้โดยการวิเคราะห์ความสัมพันธ์/

เชื่อมโยงของแต่ละตัวช้ีวัดท่ีจะนำมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันได้ภายในกลุ่มสาระการเรียนร
ู้
เดียวกันด้วยการวิเคราะห์ตัวชี้วัดภายในสาระเดียวกันหรือระหว่างสาระ นอกจากน้ียังสามารถ

วิเคราะห์ความสัมพันธ์/เชื่อมโยงของแต่ละตัวชี้วัดที่จะนำมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน
ระหวา่ งกลุ่มสาระการเรยี นรู้ไดอ้ กี ด้วย

กลุม่ สาระการเรียนร้ศู ิลปะ

ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑


สาระที่ ๑ ทศั นศิลป์


มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ

อยา่ งอิสระ ชนื่ ชม และประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวนั



ความคิด
สาระ
ทกั ษะการคดิ
ช้ินงาน/
การจัดกิจกรรม

ตัวชวี้ ดั
รวบยอด
การเรยี นรู้
ภาระงาน
การเรยี นร
ู้


มาตรฐาน ศ ๑.๑
รปู รา่ ง ลักษณะ ๑. รูปร่าง ลักษณะ
๑. ทกั ษะ
๑. อภิปรายแสดง ๑. สังเกตเกี่ยวกับ
๑. อภิปราย
และขนาดของ
และขนาดของ
การสงั เกต
ความคิดเหน็ รปู ร่างลักษณะและ
เก่ียวกบั รูปรา่ ง
สิ่งต่าง ๆ รอบตัว สิ่งตา่ ง ๆ รอบตัว
๒. ทกั ษะ
เกย่ี วกบั รปู ร่าง
ขนาดของสง่ิ ตา่ ง ๆ
ลักษณะ และ ในธรรมชาตแิ ละ ในธรรมชาติและ
การจำแนก
ลักษณะ และ รอบตวั

ขนาดของ
สิง่ ท่มี นษุ ยส์ รา้ งขึน้
ส่ิงท่ีมนุษย์
ประเภท
ขนาดของสงิ่ ต่าง ๆ ปรากฎการณต์ ่าง ๆ
ส่ิงตา่ ง ๆ
มีความแตกตา่ งกนั สร้างขึ้น
๓. ทักษะ
รอบตัวใน ในธรรมชาติและ

รอบตัวใน ทำใหเ้ กิดความรสู้ ึก
๒. ความรู้สกึ ท่ีมี การนำความรู้
ธรรมชาตแิ ละ
สิง่ ท่ีมนุษย์สรา้ งขนึ้

ธรรมชาติและ ต่างกนั สามารถ ต่อธรรมชาติและ ไปใช้
สงิ่ ทีม่ นุษยส์ รา้ งขึ้น
๒. การอภปิ ราย
สงิ่ ที่มนุษย์ ถา่ ยทอดเรอ่ื งราว สิ่งแวดลอ้ ม
๔. ทกั ษะ
๒. วาดภาพ แสดงความคดิ เห็น
สรา้ งขนึ้
ความรู้สึกสงู่ านศลิ ป ์
รอบตวั เช่น รู้สกึ การจดั กลุ่ม
ระบายสีหรอื
เกีย่ วกับรปู ร่าง

โดยรู้จกั เลอื กใช้ ประทบั ใจ
งานปนั้
ลกั ษณะและขนาด
๒. บอกความรสู้ ึก วสั ดุอุปกรณ ์
ในความงามของ
ของสิง่ ตา่ ง ๆ รอบตัว

ทมี่ ีตอ่ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
บริเวณรอบอาคาร ๓. จำแนกจดั กลมุ่

ธรรมชาติและ เรียนหรอื รู้สกึ ถงึ ส่ิงตา่ ง ๆ เป็นสิง่ ท่ี
สงิ่ แวดล้อม ความไม่เป็นระเบียบ เกิดขึน้ เองและ
รอบตวั
ของสภาพภายใน มนษุ ย์สรา้ งขน้ึ


หอ้ งเรียน
๔. จำแนกรูปร่าง

๓. มีทักษะพน้ื ฐาน
๓. การใช้วัสดุ ลกั ษณะและขนาด
ในการใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ เช่น
โดยบอกความ
อปุ กรณ
์ ดนิ เหนยี ว ดิน เหมือนความแตกต่าง
สรา้ งงาน
น้ำมัน ดินสอ
และบอกความรู้สกึ
ทัศนศลิ ป
์ พูก่ นั กระดาษ
เก่ยี วกบั ส่งิ ต่าง ๆ


สีเทยี น สนี ำ้
ท่สี งั เกตและจำแนก


ดินสอสสี รา้ งงาน
๕. อธบิ ายความรู้

ทศั นศิลป์
และซักถาม


200 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ พือ่ พฒั นาทกั ษะการคดิ ระดบั ประถมศกึ ษา

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ

ความคิด
สาระ
ทักษะการคดิ
ชนิ้ งาน/
การจัดกิจกรรม

ตัวช้ีวดั
รวบยอด
การเรียนรู้
ภาระงาน
การเรยี นร้




ความคดิ เห็นเกย่ี วกบั

การใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์

ในการสรา้ งงาน


ทัศนศิลป


๖. สรุปความรรู้ ว่ มกัน


๗. นำความรเู้ กย่ี วกับ

การใชว้ สั ดุ อปุ กรณ ์


สรา้ งงานวาดภาพ

หรอื งานป้ัน


แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นร้เู พือ่ พฒั นาทักษะการคิด ระดับประถมศกึ ษา
201
กลุม่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑
เวลา ๖ ช่วั โมง



ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี
ชอ่ื หนว่ ย รอบรสู้ ู่งานศลิ ป์
กล่มุ สาระการเรียนร้ศู ิลปะ

๑. เปา้ หมายการเรียนร
ู้

๑.๑ ความเขา้ ใจท่ีคงทน


รูปร่าง ลักษณะและขนาดของส่ิงต่าง ๆ รอบตัวในธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น

มีความแตกต่างกันทำให้เกิดความรู้สึกต่างกัน สามารถถ่ายทอดเร่ืองราว ความรู้สึกสู่การสร้างสรรค์
งานทัศนศลิ ป์ โดยรจู้ ักเลือกใชว้ ัสดุ อปุ กรณส์ ร้างงานได้เหมาะสมและนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้


๑.๒ สาระมาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ชวี้ ดั


มาตรฐานการเรยี นร
ู้

สาระที่ ๑ ทศั นศิลป


มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์

วเิ คราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณค์ ณุ ค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรสู้ กึ

ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน

ชีวิตประจำวนั


ตวั ช้วี ัด


ศ ๑.๑ ป.๑/๑ อภิปรายเกี่ยวกับ รูปร่าง ลักษณะ และขนาดของส่ิงต่าง ๆ


รอบตัวในธรรมชาติและสิ่งทม่ี นษุ ย์สร้างขนึ้


ศ ๑.๒ ป.๑/๒ บอกความรสู้ กึ ทมี่ ีตอ่ ธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มรอบตวั


ศ ๑.๓ ป.๑/๓ มที กั ษะพนื้ ฐานในการใชว้ สั ดุ อุปกรณ์สรา้ งงานทัศนศิลป์


๑.๓ ความคิดรวบยอด


รปู ร่าง ลักษณะ และขนาดของส่งิ ต่าง ๆ รอบตวั ในธรรมชาตแิ ละสิ่งท่ีมนุษยส์ รา้ งขึ้น

มีความแตกต่างกัน ทำให้เกิดความรู้สึกต่างกัน สามารถถ่ายทอดเร่ืองราวความรู้สึกสู่งานศิลป

โดยรจู้ กั เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ได้อยา่ งเหมาะสม


202 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ พอ่ื พัฒนาทกั ษะการคดิ ระดับประถมศกึ ษา

กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ

๑.๔ สาระการเรียนรู

๑.๔.๑ รปู รา่ ง ลกั ษณะ และขนาดของสง่ิ ต่าง ๆ รอบตวั ในธรรมชาตแิ ละสิง่ ที่มนุษยส์ รา้ งขึ้น

๑.๔.๒ ความรู้สึกที่มีต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัว เช่น รู้สึกประทับใจใน
ความงามของบริเวณรอบอาคารเรียน หรือรู้สึกถึงความไม่เป็นระเบียบของสภาพภายในห้องเรียน
เปน็ ต้น

๑.๔.๓ การรู้จักเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เช่น ดินเหนียว ดินน้ำมัน ดินสอ พู่กัน
กระดาษ สีเทียน สนี ำ้ ดนิ สอสี สร้างงานทศั นศลิ ป์


๑.๕ ทกั ษะการคิด

๑.๕.๑ ทกั ษะการสงั เกต

๑.๕.๒ ทักษะการจำแนกประเภท

๑.๕.๓ ทกั ษะการนำความรู้ไปใช

๑.๕.๔ ทักษะการจดั กล่มุ


๑.๖ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค

๑.๖.๑ ใฝ่ร้ใู ฝ่เรยี น

๑.๖.๒ มุ่งม่ันในการทำงาน


๒. หลกั ฐานการเรยี นรู้


๒.๑ ชน้ิ งาน/ภาระงาน

๑) อภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปร่าง ลักษณะ และขนาดของส่ิงต่าง ๆ

รอบตวั ในธรรมชาตแิ ละส่ิงทม่ี นุษยส์ รา้ งข้นึ

๒) เขียนบรรยายความรู้สกึ ทีม่ ีตอ่ ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มรอบตัว

๓) การวาดภาพระบายสีหรืองานปน้ั


๒.๒ การวดั และประเมินผล

๒.๒.๑ การวดั และประเมนิ ผลระหวา่ งการจัดกจิ กรรมการเรียนร้

๑) การซักถามความคิดเห็นต่อรูปร่าง ลักษณะของสิ่งที่มองเห็นในธรรมชาต

และสง่ิ ทม่ี นษุ ย์สรา้ งขน้ึ

๒) การพดู แสดงความรูส้ กึ ทมี่ ีต่อธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมรอบตัว

๒.๒.๒ การวดั และประเมินผลเมือ่ ส้ินสดุ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

๑) อภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปร่าง ลักษณะ และขนาดของ

สง่ิ ต่าง ๆ รอบตัวในธรรมชาตแิ ละส่ิงท่มี นุษยส์ รา้ งข้ึน

๒) เขยี นบรรยายความรสู้ ึกท่ีมตี อ่ ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มรอบตวั

๓) การวาดภาพระบายสหี รอื งานป้นั


แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนร้เู พื่อพัฒนาทกั ษะการคิด ระดับประถมศกึ ษา
203
กลุม่ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ

๓. การจัดกจิ กรรมการเรยี นร
ู้
๓.๑ สงั เกตเก่ยี วกับรปู รา่ ง ลกั ษณะ และขนาดของสง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัวปรากฎการณ์ตา่ ง ๆ
ในธรรมชาติและส่ิงทม่ี นุษยส์ รา้ งขน้ึ

๓.๒ จำแนกจัดกลุม่ สง่ิ ตา่ ง ๆทีเ่ ป็นสง่ิ ท่เี กิดขนึ้ เองตามธรรมชาติและสิง่ ทม่ี นุษยส์ รา้ งข้ึน

๓.๓ จำแนกรูปร่าง ลักษณะ และขนาดโดยบอกความเหมือนความแตกต่างและเขียน
บรรยาย บอกความรูส้ กึ เก่ียวกับสงิ่ ตา่ ง ๆ ที่สังเกตและจำแนก

๓.๔ อภปิ รายแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกบั รปู ร่าง ลกั ษณะ และขนาดของส่งิ ต่าง ๆ รอบตวั

ว่าตา่ งกันหรือเหมอื นกันอยา่ งไร

๓.๕ อธิบายความรู้และซักถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงาน

ทศั นศลิ ป์

๓.๖ สรปุ ความรู้ร่วมกัน

๓.๗ นำความรู้เก่ียวกับการใช้วัสดุ อุปกรณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ เช่น

วาดภาพ หรอื งานปั้นอย่างเหมาะสม




204 แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ พ่ือพฒั นาทักษะการคิด ระดับประถมศึกษา

กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ

เกณฑก์ ารประเมนิ ผลงานวาดภาพระบายสี หรืองานปนั้ ดินเหนยี วหรอื ดนิ น้ำมนั


ประเดน็ ระดับคะแนน

นำ้ หนัก


ก ารประเมิน ๔
๓ ๒

การเลอื กใชว้ สั ด ุ
เลือกใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ เลอื กใชว้ ัสดุ อปุ กรณ ์
เลอื กใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ เลือกใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์


อุปกรณ
์ ได้ถูกต้องเหมาะสม
ได้ถกู ตอ้ งเหมาะสมกบั ได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ยังไม่ถกู ต้องกบั งาน




กบั งานท่ีทำและดูแล งานทท่ี ำและดแู ล
และดูแลเก็บรักษายงั ท่ีทำและไมเ่ กบ็ รกั ษา


เกบ็ รักษาได้ถูกต้อง
เกบ็ รักษายงั ไมถ่ กู ต้อง
ไมถ่ กู ตอ้ ง
ให้ถูกต้อง





ผลงานวาดภาพ







วาดภาพระบายสีหรือ วาดภาพระบายสีหรอื
วาดภาพระบายสีหรอื วาดภาพระบายสหี รือ

ระบายสี หรืองานปน้ั
งานป้ัน สามารถ งานปน้ั สามารถ งานปน้ั สามารถ
งานปนั้ สามารถ




ถ่ายทอดเรอื่ งราวความ ถ่ายทอดเร่ืองราว
ถ่ายทอดเรอื่ งราวความ ถา่ ยทอดเร่อื งราว



รสู้ กึ ส่ิงท่ีอยรู่ อบตัวตาม ความรูส้ กึ สิง่ ที่อย่รู อบ ร้สู ึกสิ่งทีอ่ ยู่รอบตวั ตาม ความรู้สกึ สิ่งท่ีอย ่



ธรรมชาตหิ รอื สง่ิ ท่ี ตวั ตามธรรมชาต ิ
ธรรมชาต
ิ รอบตัวตามธรรมชาต
ิ ๒



มนษุ ย์สรา้ งขึ้นได้ หรอื สิ่งท่ีมนุษย์สร้างข้นึ หรอื สิ่งท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน หรือสิง่ ท่มี นุษย์สรา้ ง



เหมาะสมเหมือนสภาพ ไดเ้ หมาะสมเหมอื น ไดเ้ หมาะสมเหมอื น ข้ึนได้ยังไม่เหมาะสม



จรงิ ท้งั หมด
สภาพจรงิ
สภาพจรงิ เป็นบางส่วน
เหมือนสภาพจริงเปน็




เป็นส่วนใหญ่

สว่ นน้อย










บุคลกิ ท่าทาง
อธบิ ายเสียงเบา ส่อื


การนำเสนอผลงาน
อธบิ ายโดยสือ่
อธิบายโดยสอ่ื
อธิบายโดยสอื่
ความหมายไม่ชดั เจน



และขาดความเช่ือมน่ั



ความหมายไดเ้ ข้าใจ ความหมายได้เขา้ ใจ ความหมายได้พอ
ในตนเอง



ชัดเจน เสยี งดัง และมี ชัดเจน เสยี งดัง และมี เขา้ ใจ แตท่ า่ ทางยัง


ความเชอื่ ม่นั
ความเช่ือม่ัน
ไม่มั่นใจในตนเอง



ในตนเอง
ในตนเอง













ความรบั ผิดชอบ
ปฏิบัติตามหนา้ ท
ี่ ปฏิบตั ิตามหน้าท ่ี
ปฏิบตั ิตามหนา้ ท
ี่ ไมป่ ฏิบตั ติ ามหนา้ ท ี


ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายตั้งใจ ท่ไี ด้รับมอบหมายตง้ั ใจ ทไี่ ด้รบั มอบหมายตั้งใจ
ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย


ทำงานเสร็จทนั เวลา
ทำงานเสรจ็ ชา้ กว่าเวลา ทำงานเสร็จช้ากวา่ เวลา และงานไม่เสรจ็


ทกี่ ำหนด
ที่กำหนดเลก็ นอ้ ย
ที่กำหนดมาก





สรุปผลการประเมิน


คะแนน ๑๖ - ๒๐ หมายถงึ ดีมาก คะแนน ๑๑ - ๑๕ หมายถงึ ด


คะแนน ๖ - ๑๐ หมายถงึ พอใช้ คะแนน ๑ - ๕ หมายถงึ ปรบั ปรงุ


เกณฑก์ ารผ่าน ตัง้ แตร่ ะดับพอใช้ขึ้นไป


แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรเู้ พือ่ พัฒนาทกั ษะการคดิ ระดบั ประถมศกึ ษา
205
กล่มุ สาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ

แบบสังเกตพฤตกิ รรมระหวา่ งเรียนรายบคุ คล

คำช้แี จง กาเคร่อื งหมาย / ลงในชอ่ งรายการพฤตกิ รรมที่ผเู้ รียนปฏิบัตไิ ด้


เลขท
ี่ ชอ่ื - ชอื่ สกลุ
บอก ัลกษณะ ิ่สงต่าง ๆ ตามธรรมชาติ
รวม
สรปุ ผล

และ ่ิสงม ุนษ ์ยส ้ราง ึข้นไ ้ด

จำแนกสิ่ง ่ตาง ๆ รอบตัวในธรรมชาติ

และ ิส่งที่มนุษย์ส ้รางขึ้นไ ้ด

เปรียบเทียบขนาด ูรป ่รางสิ่งต่าง ๆ

ตามธรรมชา ิตและ ิ่สงม ุนษ ์ยส ้ราง ้ึขนไ ้ด

การอ ิธบายความ ูร้ ึสกใ ้หเห ุตผล ชัดเจน





















206 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เพอ่ื พัฒนาทักษะการคิด ระดบั ประถมศกึ ษา

กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ

ภาคผนวก


ทักษะการคิดทน่ี ำมาใช้ในการพัฒนาผเู้ รยี น

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

ทักษะการคิดที่นำมาใช้ในการพฒั นาผู้เรยี น


ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑


ทักษะการคิดท่ีนำมาพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ได้ใช้กรอบดา้ นกระบวนการในการคดิ ประกอบดว้ ย

๑. ทักษะการคิดขั้นพ้ืนฐาน ซึ่งเป็นทักษะท่ีสำคัญและจำเป็นต่อการคิดทั่ว ๆ ไปใน

ชีวิตประจำวัน และเป็นทักษะที่เป็นพื้นฐานของการคิดขั้นสูงที่ซับซ้อนขึ้น ทักษะการคิดขั้นพ้ืนฐาน
จัดเป็น ๒ กลมุ่ ได้แก่ กลมุ่ ทกั ษะการคดิ ทใ่ี ช้ในการสื่อสาร และกลมุ่ ทักษะการคดิ ท่ีเป็นแกน

๒. ทักษะการคิดขั้นสูง จัดเป็น ๓ กลุ่ม ได้แก่ ทักษะการคิดท่ีซับซ้อน ทักษะพัฒนา

ทักษะการคดิ และทกั ษะกระบวนการคดิ

สำหรับแนวทางการพัฒนาทักษะการคิด มุ่งเน้นการนำกระบวนการท่ีใช้ในการคิดบูรณาการ

เข้ากับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และเพอื่ ใหค้ รูผู้สอนไดม้ ีความชดั เจน

ต่อการนำทักษะการคิดสู่การปฏิบัติ ได้นำเสนอความหมายของทักษะการคิดที่นำมาใช้ในการพัฒนา

ผู้เรียนไว้ดังนี้


208 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ พ่ือพฒั นาทกั ษะการคดิ ระดบั ประถมศึกษา

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ

ทกั ษะการคดิ ข้ันพืน้ ฐาน


ทักษะการคดิ ท่ีใช้ในการสอ่ื สาร


ทกั ษะการคิด
ความหมาย


๑. การฟัง
การรับรู้ความหมายจากเสยี งทไ่ี ดย้ ิน การไดย้ ินเป็นความสามารถ ทจี่ ะได้รับรู้

สิ่งที่ไดย้ นิ ตคี วาม และจบั ใจความสง่ิ ทร่ี ับรู้น้ันเขา้ ใจและจดจำไว


๒. การพดู
การใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง รวมทัง้ กริ ยิ าอาการถา่ ยทอดความรู้ ความคิด

และความรู้สึกของผู้พูดใหผ้ ฟู้ งั ได้รบั ร้แู ละเกดิ การตอบสนอง


๓. การอา่ น
การรบั ร้ขู อ้ ความในการเขยี นของตนเองหรอื ของผู้อน่ื รวมถึงการรบั ร
ู้
ความหมายจากเคร่ืองหมายและสัญลักษณต์ ่าง ๆ เชน่ สัญลกั ษณจ์ ราจร


๔. การเขียน
การถ่ายทอดความรู้ ความคดิ ความรู้สึก และความต้องการของบุคคล

ออกมาเปน็ ลายลักษณ์อกั ษร เพอื่ ส่ือความหมายให้ผอู้ น่ื เขา้ ใจ



ทกั ษะการคิดท่เี ปน็ แกน


ทักษะการคดิ
ความหมาย


๑. การสังเกต
การรบั รู้และรวบรวมขอ้ มูลเกย่ี วกับส่ิงใดสิง่ หน่งึ โดยใชป้ ระสาทสมั ผสั ท้งั ห้า

เพอ่ื ใหไ้ ด้รายละเอยี ดเกย่ี วกบั สิ่งน้ัน ๆ ซง่ึ เปน็ ข้อมลู เชิงประจักษ์ ท่ไี ม่มีการใชป้ ระสบการณ์
และความคดิ เห็นของผู้สังเกตในการเสนอขอ้ มลู ขอ้ มูลจากการสังเกต

มีท้งั ข้อมูลเชงิ คุณภาพและขอ้ มลู เชิงปรมิ าณ


๒. การสำรวจ
การพิจารณาตรวจสอบส่งิ ท่ีสังเกตอย่างมจี ุดมุ่งหมายเพื่อให้ไดข้ อ้ เท็จจริง

และความคิดเหน็ เก่ยี วกับส่งิ นั้น


๓. การสำรวจคน้ หา
การคน้ หาสง่ิ ใดส่ิงหนึง่ ทีย่ ังไมร่ หู้ รอื ร้นู อ้ ยมากอยา่ งมจี ดุ หมายดว้ ยวิธกี ารต่าง ๆ

เพือ่ ใหไ้ ด้ขอ้ มลู มากท่ีสุด


๔. การต้งั คำถาม
การพูดหรือการเขียนสิ่งทสี่ งสยั หรอื สิ่งท่ตี อ้ งการร้


๕. การระบ
ุ การบ่งชี้ส่งิ ตา่ ง ๆ หรอื บอกสว่ นต่าง ๆ ท่เี ปน็ องค์ประกอบหรอื ลักษณะของสง่ิ ที่ศึกษา


๖. การรวบรวมขอ้ มลู
การใชว้ ธิ ีการต่าง ๆ เก็บข้อมูลทตี่ อ้ งการรู้


๗. การเปรียบเทียบ
การจำแนกระบสุ ่ิงของหรอื เหตกุ ารณ่ต์ า่ ง ๆ ในส่ิงท่ีเหมือนกนั และสงิ่ ทต่ี ่างกัน


๘. การคัดแยก
การแยกสิ่งทมี่ ีลักษณะตา่ งกนั ตง้ั แต่ ๑ อยา่ งข้นึ ไปออกจากกัน


๙. การจัดกลุ่ม
การนำสงิ่ ตา่ ง ๆ ทม่ี คี ณุ สมบตั เิ หมอื นกนั ตามเกณฑม์ าจดั เปน็ กลมุ่ โดยแตล่ ะกลมุ่

มีเกณฑ์ต่างกนั


๑๐. การจำแนกประเภท
การนำสิง่ ต่าง ๆ มาแยกเป็นกลุม่ ตามเกณฑ์ทไี่ ดร้ ับการยอมรับทางวิชาการ

หรอื ยอมรับโดยทั่วไป


แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรเู้ พือ่ พัฒนาทกั ษะการคิด ระดับประถมศกึ ษา
209
กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ิลปะ

ทักษะการคดิ
ความหมาย

๑๑. การเรียงลำดบั

๑๒. การแปลความ
การนำสิง่ ต่าง ๆ มาจดั เรยี งไปในทศิ ทางเดียวกัน โดยใช้เกณฑก์ ารจัดเกณฑ์ใดเกณฑ์หนึง่


๑๓. การตีความ
การเรียบเรียงและถา่ ยทอดข้อมูลในรูปแบบ/วธิ ีการใหม่ทแี่ ตกต่างไปจากเดิม

แต่ยงั คงสาระเดมิ

๑๔. การเชื่อมโยง

๑๕. การสรปุ ย่อ
การบอกความหมายหรือความสัมพนั ธ์ของข้อมลู หรอื สาระท่แี ฝงอยู่ไม่ปรากฏ

๑๖. การสรุปอา้ งองิ
ใหเ้ ห็นอยา่ งชดั เจน โดยการเชอื่ มโยงกับบริบทความรู้/ประสบการณ์เดิม

๑๗. การให้เหตผุ ล
หรือข้อมูลอื่น ๆ


๑๘. การนำความรไู้ ปใช
้ การบอกความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งข้อมลู อย่างมคี วามหมาย


การจับเฉพาะใจความสำคัญของเร่ืองท่ีต้องการสรปุ และนำมาเรยี บเรยี งใหก้ ระชับ


การนำความรู้หรอื ประสบการณเ์ ดมิ มาใชใ้ นการสรุปลงความเห็นเกีย่ วกับข้อมลู


การอธิบายเหตกุ ารณห์ รอื การกระทำต่าง ๆ โดยเช่อื มโยงให้เหน็ ถึงสาเหตแุ ละผล

ทเ่ี กดิ ข้ึนในเหตกุ ารณห์ รือการกระทำนนั้ ๆ


การนำความรู้ทเ่ี กิดจากความเขา้ ใจไปใช้เพ่ือให้เกดิ ความชำนาญ





ทกั ษะการคดิ ข้ันสงู


ทักษะการคิดซับซอ้ น


ทกั ษะการคิด
ความหมาย


๑. การทำใหก้ ระจา่ ง
การใหร้ ายละเอยี ดหรือคำอธิบายเพิม่ เติมเกย่ี วกับส่ิงทีส่ งสัยหรอื คลุมเครือ

เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความชัดเจน


๒. การสรปุ ลงความเหน็
การให้ความคดิ เห็นเกี่ยวกบั ข้อมูล/เร่ืองท่ศี กึ ษา โดยการเช่อื มโยง และอ้างอิงจากความรู้
หรอื ประสบการณ์เดิม หรือจากข้อมลู อื่น ๆ รวมทงั้ เหตุผล


๓. การใหค้ ำกำจดั ความ
การระบลุ ักษณะเฉพาะทสี่ ำคญั ของส่ิงใดส่ิงหนึง่ ท่ีตอ้ งการนิยาม


๔. การวเิ คราะห
์ การจำแนกแยกแยะสิง่ ใดส่งิ หน่งึ /เรอื่ งใดเรือ่ งหนงึ่ เพือ่ ค้นหาองค์ประกอบ

และความสัมพันธ์ระหวา่ งองค์ประกอบเหล่าน้นั เพอื่ ชว่ ยใหเ้ กดิ ความเข้าใจในเร่อื งนั้น


๕. การสงั เคราะห
์ การนำความรูท้ ี่ผา่ นการวเิ คราะห์มาผสมผสานสร้างสงิ่ ใหมท่ ี่มลี ักษณะต่างจากเดมิ


๖. การประยุกตใ์ ชค้ วามร้
ู การนำความร้ทู ี่มีไปใช้ในสถานการณใ์ หมท่ ีม่ ีลกั ษณะแตกตา่ งไปจากเดิม


๗. การจัดระเบยี บ
การนำขอ้ มูลหรอื สงิ่ ต่าง ๆ มาจดั ใหเ้ ป็นระเบียบในลกั ษณะใดลักษณะหนึ่ง

เพ่อื ให้สะดวกแกก่ ารดำเนินการ


๘. การสรา้ งความรู้
การสรา้ งความรูข้ องตนเองจากการทำความเข้าใจเชื่อมโยงขอ้ มูลใหม่กับข้อมลู เดิม


๙. การจดั โครงสร้าง
การนำความรูม้ าจกั ใหเ้ ปน็ โครงสร้างที่แสดงความสมั พนั ธ์ของข้อมูล/ข้อความรู้

ซึ่งเป็นองค์ประกอบของโครงสรา้ งน้นั ๆ



210 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรูเ้ พื่อพฒั นาทกั ษะการคดิ ระดบั ประถมศึกษา

กลุม่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ

ทักษะการคิด
ความหมาย

๑๐. การปรบั โครงสรา้ ง
การนำขอ้ มูลมาปรับ/เปลีย่ น/ขยายโครงสรา้ งความรูเ้ ดิม

๑๑. การหาแบบแผน
การหาชดุ ความสมั พันธข์ องลกั ษณะหรือองค์ประกอบในสิง่ ใดส่ิงหนึ่ง

๑๒. การพยากรณ์
การคาดคะเนสงิ่ ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ลว่ งหน้า โดยอาศัยการสงั เกต ปรากฏการณท์ ่เี กิดขน้ึ ซ้ำ ๆ หรอื
ใช้ความรูท้ ี่เป็นหลัการ กฎ หรือทฤษฎี ในเรื่องน้ันมาช่วยในการทำนาย

๑๓. การหาความเชอื่
การใช้หลกั เหตุผลคน้ หาความเชอื่ ทกี่ ำหนดการกระทำของบคุ คลน้ัน

พ้ืนฐาน

๑๔. การตง้ั สมมติฐาน
การคาดคะเนคำตอบทยี่ ังไม่ไดพ้ ิสจู น์ บนฐานข้อมลู จากการสังเกตปรากฏการณ

ความรู้ และประสบการณ์เดิม

๑๕. การพสิ จู นค์ วามจรงิ
การหาขอ้ มูลที่เช่ือถอื ได้มาสนับสนนุ ข้อสรปุ หรือคำตอบว่าเป็นจริง

๑๖. การทดสอบ การหาข้อมูลทีเ่ ปน็ ความร้เู ชงิ ประจกั ษเ์ พ่ือใชส้ นับสนนุ หรอื คดั ค้านคำตอบล่วงหนา้

สมมติฐาน
ท่คี าดคะเนไว้ หรือเพอ่ื ยอมรับหรือปฏิเสธคำตอบทค่ี าดคะเนไว้

๑๗. การตง้ั เกณฑ์
การบอกประเด็น/หัวขอ้ ทใ่ี ช้เปน็ แนวทางในการประเมนิ

๑๘. การประเมนิ
การตัดสนิ คณุ ค่าหรอื คุณภาพของส่งิ ใดสงิ่ หน่ึงโดยการนำผลจากการวดั ไปเทียบกบั ระดบั
คุณภาพทกี่ ำหนด






ทักษะพัฒนาลกั ษณะการคิด


ลกั ษณะการคิด
ความหมาย


๑. คิดคล่อง
การใหไ้ ดข้ ้อมูลจำนวนมากอยา่ งรวดเรว็


๒. คดิ หลากหลาย
การให้ไดข้ ้อมลู หลายประเภท


๓. คิดละเอียด
การใหไ้ ด้ขอ้ มลู ท่เี ปน็ รายละเอยี ดของสงิ่ ท่ีตอ้ งการคดิ


๔. คิดชัดเจน
การคดิ ท่ผี คู้ ิดรู้ว่าตนรแู้ ตไ่ ม่ร้อู ะไร เข้าใจและไมเ่ ข้าใจอะไร และสงสยั อะไรในเรื่องทีค่ ิด


๕. คดิ อยา่ งมเี หตุผล
การใชห้ ลักเหตุผลในการคดิ พิจารณาเรื่องใดเร่อื งหนง่ึ


๖. คิดถูกทาง
การคดิ ทท่ี ำให้ได้ความคดิ ท่ีเป็นประโยชนต์ อ่ สว่ นรวมและเปน็ ประโยชน์ระยะยาว


๗. คดิ กวา้ ง
การคิดพิจารณาถึงองคป์ ระกอบ/แง่มุมตา่ ง ๆ ของเรอื่ งทค่ี ดิ อยา่ งครอบคลมุ


๘. คิดไกล
การคิดทที่ ำให้สามารถอธิบายเหตกุ ารณใ์ นอนาคตได้


๙. คดิ ลึกซง้ึ
การคดิ ที่ทำใหเ้ ข้าใจความซบั ซอ้ นของโครงสร้างและระบบความสัมพนั ธเ์ ชงิ สาเหต


ในโครงสร้างของเรอ่ื งที่คดิ





แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เพอ่ื พฒั นาทักษะการคิด ระดบั ประถมศกึ ษา
211
กลมุ่ สาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ

ทกั ษะกระบวนการคดิ
ความหมาย


ทักษะกระบวนการคดิ


๑. กระบวนการคดิ
การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณเป็นกระบวนการคิดเพือ่ ใหไ้ ด้ความคดิ ที่รอบคอบ

อยา่ งมวี ิจารณญาณ
สาเหตทุ จ่ี ะเชื่อหรือจะทำโดยผา่ นการพจิ ารณาปจั จยั รอบด้านอย่างกวา้ งไกล ลึกซึง้ และผ่าน
การพิจารณากล่นั กรอง ไตรต่ รอง ทง้ั ทางด้านคุณ-โทษ และคุณคา่ ท่ีแทจ้ ริงของส่ิงน้นั มาแล้ว


๒. การะบวนการคดิ
การตัดสินใจเป็นกระบวนการทใ่ี ช้ในการพิจารณาเลอื กตวั เลอื กทีม่ ีตั้งแต่

ตดั สินใจ
๒ ตวั เลอื กข้นึ ไป ทางเลือกนนั้ อาจจะเปน็ วตั ถุสงิ่ ของ หรอื แนวปฏบิ ตั ติ ่าง ๆ

ที่ใชใ้ นการแก้ปญั หา หรือดำเนินการเพอ่ื ใหบ้ รรลุตามวัตถุประสงคท์ ตี่ ัง้ ไว้


๓. กระบวนการคดิ
กระบวนการแก้ปัญหาท่ัวไป

แก้ปัญหา
● การแกป้ ัญหาเป็นข้ันตอนการเผชญิ ฝา่ ฟันอปุ สรรค และแกไ้ ขสถานการณ ์


เพ่อื ให้ปญั หานัน้ หมดไป

กระบวนการแกป้ ญั หา (เฉพาะโจทยป์ ัญหาตวั เลข)

● การแกป้ ญั หาทางคณิตศาสตร์ หมายถงึ ขน้ั ตอนในการหาคำตอบของโจทย์ปญั หา


๔. กระบวนการวิจัย
การวิจยั หมายถงึ ขน้ั ตอนที่ใช้หาคำตอบของปัญหาเปน็ ผลให้พบองค์ความรใู้ หม่

ขั้นตอนทใี่ ชแ้ กป้ ญั หานน้ั มีความเป็นลำดบั ขัน้ ตอนอย่างเป็นระบบ


๕. กระบวนการคิด ความคิดทีแ่ ปลกใหม่ที่จะนำไปสู่สิง่ ตา่ ง ๆ ผลผลิตใหม่ ๆ ทางเทคโนโลยี


สรา้ งสรรค์
และความสามารถในการประดิษฐค์ ิดคน้ ส่ิงแปลกใหม่


๖. กระบวนการคิด
การคิดค้นหาปัญหาอย่างแทจ้ ริง ชดั เจน เปิดรับขอ้ มูล ความคิด พิสูจน์ แยกแยะ

แกป้ ญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค
์ ให้ได้ความคิดเหน็ ท่ดี ีทสี่ ดุ และแปลงความคิดไปส่กู ารปฏบิ ตั ิอยา่ งสร้างสรรค




ท่มี าของข้อมูล


เอกสาร

ทศิ นา แขมมณี และคณะ ๒๕๔๙ : การนำเสนอรปู แบบเสรมิ สรา้ งทกั ษะการคดิ ขน้ั สงู ของนสิ ติ นกั ศกึ ษา คร


ระดบั ปรญิ าตรสี ำหรับหลักสูตรครุศึกษา : รายงานวิจัย. คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
(เอกสารเย็บเล่ม)

เวบ็ ไซต

http://th.wikipedia.org/wiki

http://www.wangnoi-nfe/index.file/Page1181.html

http://home.kku.ac.th/thai416102/SubjectWeb/Critical-Reading_meaning/htm

http://www.e-learning.mfu.ac.th/mflu/1001/chapter31.htm




212 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรเู้ พือ่ พฒั นาทกั ษะการคิด ระดบั ประถมศกึ ษา

กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ

คณะทำงาน


ท่ีปรกึ ษา
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

๑. นายชนิ ภัทร ภูมิรตั น รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

๒. นางเบญจลกั ษณ์ น้ำฟ้า ผอู้ ำนวยการสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

๓. นางสาววณี า อัครธรรม

ผทู้ รงคุณวฒุ ิ

๑. รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี

๒. ดร.เพ็ญนี หล่อวฒั นพงษา


ผู้กำหนดกรอบแนวคดิ
รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

๑. นางเบญจลักษณ์ นำ้ ฟ้า รองผอู้ ำนวยการสำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา

๒. นางสาวกัญนิกา พราหมณพ์ ทิ ักษ์

ผ้รู ับผิดชอบโครงการ

กลุ่มพฒั นากระบวนการเรียนรู้ สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา


๑. นางสาวกญั นกิ า พราหมณ์พทิ กั ษ ์ รองผ้อู ำนวยการสำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา

๒. นางสาวศรินทร เศรษฐการณุ ย์ นกั วชิ าการศึกษา

๓. นางสาววรณนั ขนุ ศรี นกั วิชาการศึกษา

๔. นางผาณติ ทวศี กั ดิ์ นักวชิ าการศกึ ษา

๕. นางบุษริน ประเสริฐรัตน ์ นักวชิ าการศึกษา

๖. นางสาวเปรมวดี ศรธี นพล นักวชิ าการศกึ ษา

๗. นางสาวภทั รา สุวรรณบตั ร นกั วิชาการศกึ ษา

๘. นางสาวจรูญศรี แจบไธสง นักวชิ าการศกึ ษา








แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้เพ่อื พฒั นาทกั ษะการคดิ ระดับประถมศึกษา
213
กลุม่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ

คณะทำงาน คร้ังท่ี ๑

บรรณาธกิ ารเอกสารจัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ พือ่ พัฒนาทกั ษะการคิด


๑. นายสทุ ธิ รกู้ ารนา สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต ๑


๒. นายมงคล จันทรง์ าม สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๓


๓. นางนิตยา กนษิ ฐ์ สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต ๕


๔. นางสาวนภา สุขพิทกั ษ ์ สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒


๕. นางปรชั ญา พรหมวงษ์ สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑


๖. นายวริ ัตน์ คมุ้ คำ โรงเรียนวดั สสี กุ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร


๗. นายจีรพนั ธ์ สมประสงค์ โรงเรียนคณะราษฎรบ์ ำรุง


สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต ๑


๘. นายธำรงศักด์ิ ธำรงเลศิ ฤทธ ์ิ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา


๙. นางสาวกง่ิ กาญจน์ สิรสุคนธ ์ สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา


๑๐. นางจิตรา สิรภิ บู าล สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา


๑๑. นางบุษรนิ ประเสรฐิ รัตน์ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา


คณะทำงาน ครั้งท่ี ๒


บรรณาธิการเอกสารจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพฒั นาทักษะคดิ


๑. นายสุทธิ รกู้ ารนา สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต ๑


๒. นายมงคล จันทร์งาม สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๓

๓. นางปรัชญา พรหมวงษ์ สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต ๑


๔. นายวริ ตั น์ คุม้ คำ โรงเรียนวัดสีสกุ เขตจอมทอง กรงุ เทพมหานคร


๕. นายจรี พันธ์ สมประสงค์ โรงเรยี นคณะราษฎร์บำรงุ


สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑

๖. นายวิจติ ร ชูช่วย โรงเรยี นประภัสสรรังสติ


สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑


๗. นายชื่นใจ นวลยงั โรงเรยี นอนุบาลควนขนนุ


สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต ๑


๘. นางสภุ าพ โอภธิ ากรณ์ โรงเรยี นวัดดอนศาลา


สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต ๑


214 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้เู พ่อื พัฒนาทักษะการคิด ระดับประถมศกึ ษา

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ

๙. นางพรรษา บวั มะลิ โรงเรยี นบ้านลองเหนือ


สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต ๑

๑๐. นายจเร จันทรเ์ ปรม โรงเรียนบา้ นทรงธรรม


สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต ๑

๑๑. นางอมร พันชนะ โรงเรยี นสำโรงทาบวิทยาคม


สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต ๑

๑๒. นางณัชตา ธรรมธนาคม โรงเรียนศนู ย์รวมนำ้ ใจ

เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร

๑๓. นายธำรงศักดิ์ ธำรงเลิศฤทธ์ิ สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา

๑๔. นางบุษริน ประเสรฐิ รัตน ์ สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา


คณะทำงาน คร้งั ที่ ๓

บรรณาธกิ ารเอกสารการจัดกจิ กรรมการเรียนรเู้ พอ่ื พัฒนาทักษะการคดิ


๑. นางนติ ยา กนษิ ฐ สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต ๕


๒. นายมงคล จนั ทร์งาม สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๓

๓. นายจีรพนั ธ์ สมประสงค์ โรงเรียนคณะราษฎรบ์ ำรงุ


สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต ๑

๔. นางอมร พนั ชนะ โรงเรียนสำโรงทาบวทิ ยาคม


สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต ๑


๕. นางศมาพร เจนจบ โรงเรียนเกศกาศร


สำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต ๑


๖. นางพรรษา บวั มะล ิ โรงเรียนบ้านลองเหนือ


สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต ๑

๗. นางสภุ าพ โอภิธากรณ์ โรงเรยี นวัดดอนศาลา


สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต ๑

๘. นายพิพฒั น์ กรแก้วสกลุ เดช โรงเรยี นศนู ย์รวมนำ้ ใจ

เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร


๙. นางณชั ตา ธรรมธนาคม โรงเรยี นศูนยร์ วมนำ้ ใจ

เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร

๑๐. นางบุษริน ประเสริฐรตั น ์ สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา


แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ พ่ือพัฒนาทักษะการคิด ระดับประถมศกึ ษา
215
กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ

คณะทำงาน ครั้งท่ี ๔


บรรณาธกิ ารเอกสารแนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนร้เู พ่ือพฒั นาทักษะการคิด


๑. นายสุทธิ รกู้ ารนา สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต ๑


๒. นางนติ ยา กนิษฐ สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต ๕


๓. นายมงคล จนั ทรง์ าม สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๓


๔. นายพพิ ัฒน์ กรแก้วสกลุ เดช โรงเรียนศูนยร์ วมน้ำใจ


เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร


๕. นางณชั ตา ธรรมธนาคม โรงเรียนศูนย์รวมนำ้ ใจ


เขตคลองเตย กรงุ เทพมหานคร


๖. นายประเทศ สุขสถติ ย ์ ข้าราชการบำนาญ


๗. นางบุษริน ประเสริฐรตั น ์ สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา


คณะทำงาน คร้ังท่ี ๕

บรรณาธกิ ารหลังการทดลองใช้เอกสารแนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรูเ้ พ่อื พัฒนาทักษะการคิด


๑. นายสุทธิ รู้การนา สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต ๑

๒. นางนติ ยา กนิษฐ สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต ๕

๓. นางมงคล จันทรง์ าม สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๓

๔. นายปัญญา แกลว้ กล้า สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

๕. นางรตั นาพร จุทานนั ท์ สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๔

๖. นางปาริชาติ เข่งแกว้ สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต ๓

๗. นายไพบูลย์ อมรประภา โรงเรยี นพุทธชินราชพิทยา จ.พษิ ณโุ ลก

๘. นางณัชตา ธรรมธนาคม โรงเรียนศนู ย์รวมน้ำใจ กรงุ เทพมหานคร

๙. นายนิคม นันทโช โรงเรยี นพิชยั รตั นาคาร จ.ระนอง

๑๐. นายสมชยั สุวรรณไตร โรงเรยี นบ้านดุงวทิ ยา จ.อดุ รธาน

๑๑. นางเกวลนิ มธรุ สาทสิ โรงเรยี นวัดแมแ่ กด้ น้อย จ.เชียงใหม่

๑๒. นางพรรษา บัวมะลิ ขา้ ราชการบำนาญ






216 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เพ่อื พฒั นาทักษะการคดิ ระดับประถมศกึ ษา

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ

ผู้เรียบเรียง และจัดทำฉบบั สมบูรณ


นางบุษรนิ ประเสริฐรัตน ์ นักวชิ าการศกึ ษา กลมุ่ พฒั นากระบวนการเรยี นรู้

สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา


ผบู้ รรณาธิการข้ันสุดทา้ ย


๑. นางสาววณี า อัครธรรม ผอู้ ำนวยการสำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา

๒. นางสาวกัญนกิ า พราหมณพ์ ิทักษ์ รองผูอ้ ำนวยการสำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา


ผอู้ อกแบบปกและรปู เลม่
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาสระบุรี เขต ๑

๑. นายดสุ ิต จันทร์ศรี โรงเรยี นเฉลิมขวัญสตรี จ.พษิ ณุโลก

๒. นายวเิ ชยี ร เซี่ยงวอ่ ง





แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นร้เู พ่ือพัฒนาทักษะการคดิ ระดบั ประถมศึกษา
217
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ


Click to View FlipBook Version