The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Joob Nicha, 2020-06-02 10:58:08

JRP Sketch to Speak

JRP Sketch to Speak

การขจดั ความต่ืนเตนแบบองคร วม

อยากจะรองดงั ดงั

รอ งแบบไมม เี สยี ง



วตั ถุประสงคของการเรียน

1. วางระบบความคิดใหเปนภาพเพื่อออกแบบ
เนือ้ หาในการสื่อสารอยางไรใหปง

2. พูดจาไดน า ฟง ดเู ปน มืออาชีพ
3. มเี ทคนคิ การใชน้ําเสยี งใหน า ติดตาม
4. มีลีลาทาทางประกอบการพูดทด่ี งึ ดดู ผูฟง

ประโยชนทีจ่ ะไดรับจากการเรียน

การสรางความมั่นใจใหตวั เอง
เมื่อตองพูดตอ หนากลมุ คน
ถอื เปนทักษะสาํ คญั ท่ีจะอยูก ับตัวเรา

ไปถึง 50-60 ป

การพูด

What you What you What you

SEE HEAR GET

ทา ทาง นํ้าเสียง ระดบั เสียง ขอมลู เนอ้ื หา สาระ
จงั หวะ

“พูดอยางใจคิด
พชิ ติ ใจคนฟง ”

หลัก 3 สบาย

“ฟง สบายหู
ดูสบายตา
พาสบายใจ”

เน้ือหาการเรียน

1. องคป ระกอบของนักพูดมอื อาชีพ
- ลลี าในการนาํ เสนอ
- การใชมอื 4 ทาเพ่ือสะกดผูฟง
- การสื่อสารอารมณไปยังผูฟง

- การสบตาผฟู ง 3 โซน
- การใชนา้ํ เสียงที่มีประสิทธภิ าพ
- การรูจกั เลือกใชคําพดู ใหโ ดนใจ

2. กระบวนการสอ่ื สาร

3. หลกั ในการนาํ เสนอ

ควบคมุ ตนเอง
ควบคมุ ผูฟง
ควบคมุ โครงเรอ่ื ง

หลักในการนําเสนอ

ควบคมุ ตนเอง

- แตง กายใหเหมาะสมกับ โอกาส สถานท่ี และถกู กาลเทศะ
- การเดนิ ขึน้ ลงจากเวที ทา นง่ั หลงั ตรง วางขอ มือบนโตะ
- วางเทา เปนรปู ตวั วพี รอมที่จะเคลือ่ นไหว
- การเตรียมความพรอ มของการใชโสตทัศนูปกรณต า งๆ

หลักในการนําเสนอ

ควบคมุ ผูฟง

- ใหเกยี รติผฟู ง
- สบตาผฟู ง
- ใชภ าษาท่เี ขาใจงาย
- วเิ คราะหผฟู ง

(ดา นคณุ ลักษณะทางประชากรศาสตร, จติ วทิ ยา และรูปแบบการใชช วี ติ )

หลกั ในการนาํ เสนอ

ควบคมุ โครงเร่อื ง
Introduction (10-15%)
Body (70-80%)
Conclusion (10-15%)





4. การออกแบบการนาํ เสนอ
อยางมอื อาชีพ

ใชเ ทคนคิ ABC

Audience คอื การวิเคราะหผูฟง
Benefit คอื ประโยชนส าํ หรับผฟู ง
Consequence คอื สิ่งที่ตอ งการให
เกิดหลังจากจบการนําเสนอ

โดยใชห ลกั KAP

5. องคป ระกอบหลกั ในการใชเ สยี ง

การหายใจ ใหถูกวธิ ี
การวางรปู ปาก&การวอรม เสยี ง เพอื่ ความชัดเจนในการออกเสยี ง
จังหวะ ท่เี หมาะสม
การสรางเสียงใหมีประสิทธิภาพ อยา งสมบรู ณ

องคป ระกอบหลกั ในการใชเสียง

การหายใจ





ยืนตวั ตรงสูดลมหายใจเขาทางจมูกอยา งชา ๆ
ปลอ ยลมหายใจออกมาพรอมกับเปลง คาํ วา

เขา ชา ออก ชา
เขา ชา ออก เรว็

ยนื ตวั ตรงสูดลมหายใจเขา ทางจมูกอยา งชาๆ
ปลอยลมหายใจออกมา

Lip Roll / Bubble

Tongue Trills

องคป ระกอบหลักในการใชเ สียง

การวางรูปปาก
& การวอรม เสยี ง

การวางรปู ปาก

อี เอ อา โอ อู (ทลี ะคาํ แบบยาวๆ)
อี เอ อา (ยาวๆ สลับกนั )
อู โอ อา (ยาวๆ สลบั กนั )

การวอรม เสยี ง
1. วอรมเสียง “รี และ ล”ี รถลาก รถเลอ่ื น ราํ ลกึ

ระลึก โรงเลอื่ ย เรยี นเลิศ เรยี นเลน รอ งล่ัน ราบลุม รปู หลอ

2. วอรมเสยี ง “ฮะ”
3. วอรม เสยี ง “โฮะ”
4. วอรมเสียง “โฮะ กับ โฮ”
5. วอรมเสยี ง “ฮะ กับ ฮา”

องคป ระกอบหลกั ในการใชเ สียง

จังหวะ

จังหวะในการพดู

ตอ งมกี ารเวน วรรคตอน เพ่อื ใหก ารฟงลื่นไหล
คาํ พูด “เออ ” “อา” ทาํ ใหจ ังหวะการพูดเสยี ไป
จังหวะในการพูด กับ น้ําเสยี ง เสียงสงู -กลาง-ตํา่
จงั หวะในการพูด กบั การใชอ ารมณ เศรา -ชา สนกุ -เรว็

องคป ระกอบหลกั ในการใชเ สียง

การสรางเสียง
ใหมปี ระสิทธิภาพ

การใชเ สยี ง

ระดับเสยี ง นํา้ เสยี ง

ระดบั เสยี ง

สงู
กลาง ดงั
ต่ํา เบา

ชา งตัว โต โต

ต๊กั แตนตัว แบน แบน

มดตัว นิด นึง

นาํ้ เสียงกลาง

นํา้ เสียงราบเรียบ
หายใจตอ เนื่อง
ไมมกี ารเลน เสยี ง สงู -ตํา่
ขอ มลู ความจรงิ ทตี่ องการความนาเชือ่ ถอื
เปน การบอกเลา นาํ เสนอขอมูล ใหร ับทราบ

สงิ่ ทเ่ี ราจะไดเ รียนรูในวันนี้
คือ เทคโนโลยใี หมลาสุด

น้ําเสียงนุมนวล

นํา้ เสียง แสดงออกถงึ อารมณตา งๆเปนหลกั
ผอ นลมหายใจยาว
เลนเสียง สงู -ต่าํ ดัง-เบา
เลนกบั จงั หวะ
เร่อื งราว ขอมูล ท่ีจินตนาการตามได
เพือ่ โนมนา วผูฟ ง ใหผูฟง มีอารมณรว ม

ขอใหเ ราทุกคนรวมแรงรว มใจกัน
เพ่อื ความสําเรจ็ ขององคก รของเรา

นาํ้ เสียงหนักแนน

นาํ้ เสียงจริงจัง หนกั แนน
เนนวรรคหายใจ
มกั ใชกบั เสียง ตํา่
ใชเม่ือตองการเนนคํา
ขอมูลท่ีเปน ทางการ
บอกใหผฟู งทาํ ตาม โดยผฟู ง ไมรูสกึ ตอตา น

เร่ืองของนโยบายความปลอดภยั
ถือเปนเรือ่ งที่สําคัญมาก

วธิ กี ารพัฒนาเสียงของตนเอง

สวนที่ 1 พฒั นานสิ ัยการพดู ที่ดใี หต นเอง
พดู ใหด งั ขน้ึ ไมไดหมายความวาให ตะโกน แตใ หว ิเคราะห

ขนาดของกลุมผฟู ง
พูดใหช า ลง ปกติ 120-160 คาํ / นาที

และสามารถเนนย้าํ ประเดน็ ได

วธิ กี ารพฒั นาเสยี งของตนเอง

สวนท่ี 1 พฒั นานิสยั การพดู ท่ีดใี หตนเอง
เปลง เสียงออกมาใหชดั เจน

ออกเสียงใหเ ตม็ ปดตัวสะกด และ ถูกตองตามอักขระ
ภาษาไทย ร ล คาํ ควบกลํา้

วธิ กี ารพัฒนาเสียงของตนเอง

สวนท่ี 2 ฝกการพูดของตัวเองตอหนากระจก
เพราะจะไดเ หน็ ตนเอง พยายามอยาเกร็งปาก
ขยบั ขากรรไกรเวลาพดู

วิธีการพัฒนาเสียงของตนเอง

สว นท่ี 2 ฝกการพูดของตัวเองตอหนากระจก
ลองฝกอานออกเสยี งสัมผัสอกั ษร
“เชาฟาดผัดฟก เยน็ ฟาดฝก ผัด”
“ระนอง ระยอง ยะลา”
“ชามเขยี วควาํ่ เชา ชามขาวควา่ํ คํ่า”
“ทหารแบกปน แบกปูน ไปโบกตึก”

วิธกี ารพฒั นาเสยี งของตนเอง

สวนท่ี 2 ฝกการพูดของตัวเองตอหนากระจก
ควรหม่นั ย้ิมเวลาพดู เพราะจะทําใหโ ทนเสียง
ดกู วาง ดูเปนมติ ร เสรมิ กาํ ลังใจ
ซ่งึ ตรงกนั ขาม หากดดุ ัน ประชดประชัน
หรอื โทนเสยี งแบบไรอารมณ


Click to View FlipBook Version