The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Panumat Sonbalee, 2022-07-31 02:22:33

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

Keywords: การวิจัยในชั้นเรียนเพื่อการเรียนการสอน

ความรู้เบื้องต้น

เกี่ยวกับการวิจัย

นางสาวภาณุมาศ สอนบาลี631171032 AS



คำนำ

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้ เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน
การสอน (Research For Teaching Development) โดยภายในหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เล่มนี้ประกอบไปด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับบทที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

ทางผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ บทที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้น
เกี่ยวกับการวิจัยเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมและทางผู้จัดทำ
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผู้ศึกษาทุกท่านจะได้รับประโยชน์และความรู้จากการศึกษาหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้ไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใด ทางผู้จัดทำต้องขออภัย
มา ณ ทีนี้

ภาณุมาศ สอนบาลี

สารบัญ ข

คำนำ ก
สารบัญ ข
ความหมายของทฤษฎีวิทยาการวิจัย 1
ความสำคัญของทฤษฎีการวิจัย 2
ความหมายของการวิจัย 4
ความหมายของกระบวนการวิจัย 5
ความสำคัญของกระบวนการวิจัย 6
ขั้นตอนการวิจัย 7
ประโยชน์ของการวิจัย 8
ประโยชน์ของการวิจัย 9
จรรยาบรรณของนักวิจัย 11
สรุป 12
บรรณานุกรม ค

1

01 ความหมายของทฤษฎีวิทยาการวิจัย
(Research Theory)

หมายถึง ศาสตร์ที่ว่าด้วยระเบียบวิธีการวิจัยที่ได้รับการ
ตรวจสอบและทดลองหลายๆครั้งจนที่เป็ นที่ยอมรับได้ว่า
เป็นกระบวนการที่จะทำให้ได้มาซึ่งคำตอบที่ถูกต้อง ก่อให้
เกิดองค์ความรู้ใหม่หรือทฤษฎีใหม่ๆ

ความสำคัญของทฤษฎีการวิจัย 2

1. เป้ าหมายของการวิจัยมุ่งที่จะหาคำตอบต่างๆ เพื่อจะนำมาใช้แก้ปัญหาที่มีอยู่โดย
พยายามที่จะศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ในลักษณะของความเป็นเหตุเป็นผลซึ่ง

กันและกัน

2. การวิจัยเน้นถึงการพัฒนาข้อสรุป หลักเกณฑ์หรือทฤษฎีต่างๆ เพื่อที่จะเป็นประโยชน์ใน

การทำนายเหตุการณ์ ต่างๆที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เป้ าหมายของการวิจัยนั้นมิได้หยุดอยู่
เฉพาะกลุ่มตัวอย่างนำมาศึกษาเท่านั้นแต่ข้อสรุปที่ได้มุ่งที่จะอ้างอิงไปสู่กลุ่มประชากรเป้ า
หมาย

3. การวิจัยจะอาศัยข้อมูล หรือเหตุการณ์ ต่างๆ ที่สามารถสังเกต รวบรวมได้ คำถามที่น่า

สนใจบางคำถามไม่สามารถทำการวิจัยได้เพราะไม่สามารถรวบรวมข้อมูลมาศึกษาได้

4. การวิจัยต้องอาศัยเครื่องมือและการรวบรวมข้อมูลที่แม่นยำเที่ยงตรง

5. การวิจัยจะเกี่ยวข้องกับการรวบรวมข้อมูลใหม่ๆ จากแหล่งปฐมภูมิหรือ

ใช้ข้อมูลที่มีอยู่เดิมเพื่อหาคำตอบของวัตถุประสงค์ใหม่ 02
6. กิจกรรมที่ใช้ในการวิจัย เป็นกิจกรรมที่กำหนดไว้อย่างมีระบบแบบแผน

3

ความสำคัญของทฤษฎีการวิจัย

7. การวิจัยต้องการผู้รู้จริงในเนื้อหาที่จะทำการวิจัย
8. การวิจัยเป็นกระบวนการที่มีเหตุผล และมีความเป็นปรนัย สามารถที่จะทำการตรวจ

สอบความตรงของวิธีการที่ใช้ข้อมูลที่รวบรวมมา และข้อสรุปที่ได้

9. สามารถที่จะทำซ้ำได้โดยใช้วิธีเดียวกัน หรือวิธีการที่คล้ายคลึงกันถ้ามีการ

เปลี่ยนแปลงกลุ่มประชากรสถานการณ์ หรือ ระยะเวลา
10. การทำวิจัยต้องมีความอดทน นักวิจัยควรจะเตรียมใจไว้ด้วยว่าอาจจะมีความลำบาก

ในบางเรื่อง ในบางกรณีที่จะเเสวงหาคำตอบของคำถามที่ยากๆ

11. การเขียนรา่ยงานการวิจัยควรทำอย่างละเอียดรอบคอบ ศัพท์เทคนิคที่ใช้ควรบัญญัติ

ความหมายไว้อธิบายวิธีการวิจัยอย่างละเอียด รายงานผลการวิจัยอย่างตรงไปตรงมา โดย

ไม่ใช้ความคิดเห็นส่วนตัว ไม่บิดเบือนผลการวิจัย

12. การวิจัยต้องการความซื่อสัตย์เเละกล้าหาญในการรายงานผลการวิจัย

เเม้ว่าจะขัดกับความีรู้สึกหรือผลการวิจัยผู้อื่น 02

4

03 ความหมายของการวิจัย
(Research)

หมายถึง การเเสวงหาความรู้ ความจริง เพื่อตอบข้อสงสัย
จากเเหล่งที่เชื่อถือได้อย่างเป็นระบบเเละมีเหตุผล โดยใช้
หลักการทางวิทยาศาสตร์ หรือเป็ นการเเสวงหาความรู้ที่เกิด
ขึ้นใหม่ๆเเละมีจุดประสงค์

5

ความหมายของกระบวนการวิจัย




กระบวนการวิจัย หมายถึง ขั้นตอนของการศึกษา

การวิจัย ตั้งแต่เริ่มต้นของการเลือกหัวข้อจนสู่การสรุป
ผลการวิจัยและนำไปเผยแพร่ จะช่วยให้เห็นภาพรวม
ของการวิจัยอย่างเห็นได้ชัดเจนและนำไปปฏิบัติตาม
ขั้นตอนที่ประสบความสำเร็จ เมื่อมีข้อสงสัยในขั้นตอน
ใดก็สามารถตรวจสอบและเพิ่มเติมแก้ไขได้

04

6

ความสำคัญของกระบวนการวิจัย

กระบวนการวิจัยที่ดีจะต้องวิเคราะห์ประเด็นปัญหา
และแนวทางแก้ไขปัญหาให้ชัดเจนตรงประเด็น บ่อย
ครั้งที่ผู้วิจัยจำนวนมากวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุไม่
ถูกต้องตรงประเด็น จึงส่งผลให้การออกแบบการวิจัย
ขาดความชัดเจน ทำให้การออกแบบกรอบแนวคิด
การวิจัยไม่สอดคล้องกับหลักแนวคิดการแก้ไข

05ปัญหาที่ถูกต้องเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

7

ขั้นตอนการวิจัย

1. กำหนดปัญหา 3. รวบรวมข้อมูล 5. สรุป

2. ตั้งสมมติฐาน 4. วิเคราะห์ข้อมูลเเละแปลผล

ประเภทของการวิจัย 8

แบ่งตามวิธีการวิจัย แบ่งตามระดับของข้อมูล

แบ่งตามความสามารถใน แบ่งตามช่วงระยะเวลาของ
การควบคุมตัวแปร เรื่องที่ศึกษา

แบ่งตามแหล่งที่มาของ แบ่งตามศาสตร์และสาขาวิชา
ข้อมูล
แบ่งตามประโยชน์ของการ
ใช้ผลการวิจัย

9

ประโยชน์ของ
การวิจัย

Step Step Step 10
01 02 03

ช่วยให้เกิดพัฒนาวิทยาการ ช่วยให้เลือกวิธี ระบบ กระบวนการ ช่วยในการกำหนดนโยบาย
หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ใหม่ รูปแบบที่ดีหรือเหมาะสมที่สุดใน กฎหมาย แนวทาง วางแผนการวิจัย
การดำเนินงานด้าน เชิงนโยบายโดยตรงและการวิจัยอื่นๆ
Step ต่างๆ
04 Step
Step 06
05

ช่วยให้เกิดพัฒนาวิทยาการ ช่วยในการประเมินและ ช่วยให้ทราบสาเหตุและการ
หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ใหม่ แก้ไขปัญหา
ปรับปรุงพัฒนา

Step ช่วยฝึ กฝนและพัฒนาบุคคลบุคลากรจากการทำ
07 วิทยานิพนธ์หรือทำวิจัย

จรรยาบรรณของนักวิจัยนักวิจัยต้องมีจรรยาบรรณเช่นเดียวกับอาชีพ 11

ในศาสตร์อื่นๆ ด้วยสาเหตุนี้สภาวิจัยแห่งชาติจึง
กำหนดจรรยาบรรณนักวิจัยขึ้น เมื่อวันที่ 8
เมษายน 2541 เพื่อเป็นแนวทางสำหรับนักวิจัย 1. นักวิจัยต้องมีความซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการและ
การจัดการ
ยึดถือปฏิบัติเพื่อให้การดำเนินงานวิจัยตั้งอยู่บน 2. นักวิจัยต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการทำงานวิจัยตามข้อ
พื้นฐานของจริยธรรมและหลักวิชาการที่เหมาะ ตกลง

สม ตลอดจนประกันมาตรฐานของการศึกษา 3. นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการที่จะทำวิจัย
ค้นคว้าให้เป็ นไปอย่างสมศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิ 4. นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่วิจัยทั้งสิ่งที่มีชีวิตและสิ่ง
ของนักวิจัยไว้ 9 ประการ ดังนี้
ที่ไม่มีชีวิต
5. นักวิจัยต้องเคารพศักดิ์ศรีและสิทธิมนุษย์ที่เป็นตัวอย่างการ

วิจัย

6. นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิดโดยปราศจากอคติทุกขั้นตอน

การวิจัย

7. นักวิจัยพึ่งนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ

8. นักวิจัยพึ่งเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น
9. นักวิจัยพึ่งมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ

12

สรุป

ทฤษฎีวิทยาการวิจัย (Research Theory) หมายถึง 13

ศาสตร์ที่ว่าด้วยระเบียบวิธีการวิจัยที่ได้รับการตรวจสอบ
01 และทดลองหลายๆครั้งจนที่เป็นที่ยอมรับได้ว่า เป็นกระ

บวนการที่จะทำให้ได้มาซึ่งคำตอบที่ถูกต้อง ก่อให้เกิด

องค์ความรู้ใหม่หรือทฤษฎีใหม่ๆ




กระบวนการวิจัย เป็นขั้นตอนของการศึกษาการวิจัย

ตั้งแต่เริ่มต้นของการเลือกหัวข้อจนสู่การสรุปผลการ

02 วิจัยและนำไปเผยแพร่ จะช่วยให้เห็นภาพรวมของการ
วิจัยอย่างเห็นได้ชัดเจนและนำไปปฏิบัติตามขั้นตอนที่

ประสบความสำเร็จ เมื่อมีข้อสงสัยในขั้นตอนใดก็

สามารถตรวจสอบและเพิ่มเติมแก้ไขได้

รูปแบบการวิจัย สามารถจัดได้หลายแบบ ขึ้นอยู่กับ
03 เกณฑ์ที่ใช้ในการจัดแบ่ง ซึ่งในที่นี้จะนำเสนอการจัด

ประเภทของการวิจัยตามเกณฑ์ 7 ประการ คือ

14

1. วิธีการวิจัย 4. ระดับของข้อมูล

2. บทบาทของผู้วิจัย 5. ช่วงระยะเวลาของ
เรื่องที่ศึกษา

3. แหล่งที่มาของข้อมูล 6. ศาสตร์และสาขาวิชา

7. ประโยชน์ของการใช้
ผลการวิจัย



บรรณานุกรม

ประเวช เวชชะ. การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน.
(พิมพ์ครั้งที่ 7). เชียงราย: ร้านปี้ เเอนด์น้อง, 2563.

THANK YOU

ความรู้เบื้องต้น

เกี่ยวกับการวิจัย

THANK YOU


Click to View FlipBook Version