The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตร การลดความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิประเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wrakchonnabot, 2020-02-03 10:32:46

รายงานโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร E - Learning

หลักสูตร การลดความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิประเทศ

2. ประเมินขีดความสามารถของบคุ ลากร โดยการตรวจสอบตามประเด็นต่อไปน้ี
• บุคลากรปจั จุบนั มีประสบการณ์ในการฝกึ ซอ้ มหรือไม่
• มรี ะยะเวลาในการเตรียมการฝึกซ้อมเทา่ ใด
• สิ่งอำนวยความสะดวกทางกายภาพใดท่ีต้องใช้ในการปฏิบัติการฉุกเฉินจริงและมีพร้อมสำหรับ
การฝกึ ซอ้ มหรือไม่
• สิง่ อำนวยความสะดวกดา้ นการสอื่ สารและระบบใดทตี่ ้องใชแ้ ละมีสำหรบั การฝกึ ซ้อม

3. ประเมินความต้องการหรือความจำเป็นในการฝึกอบรมเพ่ิมเติมเพ่ือเตรียมสำหรับการซ้อมแผน เช่น
ครู บุคลากรและนักเรียนมีเวลาในการทำความเข้ าใจกับแผนและฝึกฝนทักษะที่จำเป็น
เทา่ ใด บคุ ลากรท่ีทำหน้าท่จี ดั ซ้อมแผนจำเปน็ ตอ้ งเรยี นรู้เพมิ่ เตมิ มากน้อยเพียงใด

4. กำหนดขอบเขตการฝึกซ้อม หมายถึงการกำหนดขอบเขต เช่น เป็นการฝึกซ้อมแผนเฉพาะภายใน
สถานศึกษา หรือฝึกซ้อมร่วมกับหน่วยงานอ่ืน หรือฝึกซ้อมร่วมกับชุมชน กำหนดขอบเขตการฝึกซ้อม
เชงิ ภารกจิ หน้าท่ี (Function) เป็นตน้

5. กำหนดรปู แบบการฝกึ ซอ้ มในการซอ้ มแผนแบบปฏิบัติการจริงสถานศึกษาสามารถทำได้ 2 รปู แบบคอื
1. การซ้อมแบบแจ้งให้ทราบล่วงหน้า มีการกำหนดวัน เวลา ในการซ้อม วัตถุประสงค์ของการ
ซ้อมแบบนี้คือ เพื่อให้แน่ใจว่าทุกคนได้อ่ านและทำความเข้าใจกับขั้นต อนการ
ปฏิบัติ ทดสอบทักษะและความสามารถในการตอบสนองเหตกุ ารณ์ รวมถึงทดสอบปฏกิ ริยา
ตอบสนองกับสถานการณ์ท่ไี มค่ าดคิด (เชน่ จดั ให้มีอุปสรรคกดี ขวางเสน้ ทางหนภี ยั )
2. การซ้อมแบบไม่แจ้งให้ทราบล่วงหน้า เป็นการทดสอบปฏิกริยาตอบสนองต่อสถานการณ์
ในทันที การซ้อมแบบนี้สามารถทำได้หากครู นักเรียน บุคลากรทุกคนมีความเข้าใจใน
ข้ันตอนปฏิบัติและมีพัฒนาการดา้ นทักษะในการเผชิญเหตุแล้วในระดับหนึ่ง การซอ้ มแบบน้ี
จะช่วยทดสอบระบบเตือนภัย ว่าครอบคลุมทุกพื้นที่และทุกคนหรือไม่ ช่วยระบุช่องว่างใน
การประสานงาน และช่วยให้ประเมินระยะเวลาที่ใช้ในการอพยพได้ใกล้เคียงกับความเป็น
จริง ชว่ ยให้เห็นประสิทธิภาพของการเคลื่อนย้ายอพยพ เปน็ ต้น อย่างไรก็ตาม การซอ้ มเช่นนี้
มีข้อควรระวังบางประการ เช่น เรื่องของอุบัติเหตุ หรืออาจจะมีนักเรียนที่เป็นเด็กเล็กไม่
สามารถแยกแยะสถานการณ์และต่ืนตระหนก จึงต้องมีแผนบริหารจัดการสิ่งไม่คาดคิดท่ี
อาจจะเกดิ ข้ึนด้วย

6. การออกแบบการฝึกซอ้ ม โดยคณะทำงานจะต้องดำเนินการต่อไปน้ี
• กำหนดวัตถุประสงค์ของการฝกึ ซอ้ ม
• จดั ทำสถานการณ์สมมติท่ีสมจริงและต่อเนื่อง โดยพัฒนาลำดบั เหตุการณ์และความเช่ือมโยงของ
สถานการณ์สมมติ และอาจจะมีการผูกปมปญั หาไว้ให้มีการแกป้ ัญหา
• จดั ทำและแจกจา่ ยเอกสาร วสั ดอุปกุ รณท์ ่ีจำเปน็ กอ่ นการฝึกซอ้ ม
• จัดการฝกึ อบรมทักษะทจี่ ำเป็นให้แก่ครู บุคลากรและนักเรียนกอ่ นการฝึกซ้อม
• ซักซอ้ มบทบาทหนา้ ที่ของคณะทำงานที่จดั การฝกึ ซ้อม
• ให้ครูประจำชั้นอธิบายแผนและข้ันตอนการฝึกซอ้ มใหน้ ักเรียนทุกคนเข้าใจ

2.3.2 การประเมนิ ผลการซ้อม
หลังจากซ้อมแผนแล้ว ควรมีการสรุปผลและประเมินการฝึกซ้อม เช่น ประเมินว่าการซ้อมนั้นบรรลุ

วัตถุประสงค์มากน้อยเพียงใด นักเรียนมีพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์หรือไม่ มีประเด็นใดบ้างที่ต้องนำมาใช้ในการ
ปรับปรุงแผน และ/หรอื ระบบการบริหารจัดการฉุกเฉินที่มีอยู่ ควรมีการฝึกอบรมบคุ ลากรเพ่ิมเติม หรอื ควรมี
การเปล่ียนแปลงบุคลากรและอุปกรณ์การทำงานหรือไม่ เป็นต้น การประเมินผลการฝึกซ้อมจะช่วยกำหนด
จุดอ่อน จดุ แข็ง เพื่อสร้างประสิทธภิ าพในการฝกึ ซ้อมคร้ังตอ่ ไป

2.4 การใชส้ ถานศึกษาเป็นศนู ยพ์ ักพิงชว่ั คราว
เม่ือเกิดภัยพิบัติ มักมีการกำหนดให้ใช้สถานศึกษาเป็นจุดปลอดภัยหรือศูนย์อพยพ เพราะส่วนใหญ่

สถานศึกษาเป็นอาคารท่ีแข็งแรงที่สุดในชมุ ชน มขี นาดใหญก่ วา่ สิง่ ก่อสรา้ งอื่น ๆ และเป็นสถานทท่ี ่ีคนในชุมชน
คุ้นเคย โดยไม่คำนึงว่าสถานศึกษาน้ันอาจตั้งอยู่ในพ้ืนที่เส่ียงจากภัยพิบัติหรือมีโครงสร้างท่ีปลอดภัยในการ
รองรับผ้คู นจำนวนมากหรือไม่ เพราะแตล่ ะพื้นท่ีย่อมมีความเส่ียงต่อภัยที่แตกตา่ งกัน สถานศกึ ษาที่อยบู่ นพ้ืนท่ี
สูงอาจปลอดภัยจากภัยน้ำท่วมและคล่ืนสึนามิ แต่อาจมีความเสี่ยงมากจากภัยแผ่นดินไหว น้ำป่าไหลหลาก
หรือดินโคลนถล่ม ดังนั้น จึงต้องทำการประเมินความเส่ียงสำหรับสถานศึกษา เพ่ือให้มีความเข้าใจถึงความ
เส่ียงในพน้ื ท่ีเป็นอย่างดีก่อนการตัดสินใจสร้างสถานศกึ ษาและใช้เป็นศูนย์อพยพ อยา่ งไรก็ตาม หากเป็นไปได้
ควรหลีกเล่ยี งการกำหนดให้ใช้โรงเรยี นเป็นศูนย์พกั พิงชั่วคราวแต่จัดทำแผนจดั การความเส่ียงภยั พิบัติในชุมชน
และโรงเรยี นแทน

หากจำเป็นต้องใช้สถานศึกษาเป็นศูนย์พักพิงช่ัวคราว ควรออกการใช้พ้ืนที่แบบตามมาตรฐานสากล
จดั หาวัสดอุ ุปกรณ์ท่ีจำเป็นให้เหมาะสมกับการเป็นศูนย์พักพิงโดยไม่เบยี ดบังงบประมาณสำหรับการศึกษาเด็ก
และต้องวางแผนการใชพ้ ้ืนที่สำหรบั การเรียนการสอนไปพร้อมกัน สถานศกึ ษาที่มอี าคารสถานท่ีพร้อมสำหรับ
การปรบั เป็นศนู ย์พกั พงิ ช่วั คราวควรปรับปรงุ อาคารสถานท่ีตามมาตรฐานการออกแบบเพอ่ื มวลชน (Universal
design) เพื่อเอื้อให้คนพิการ คนชรา ใช้ประโยชน์จากสถานที่ได้โดยปลอดภัย ควรมีอุปกรณ์ช่วยเหลือคน
พิการไว้สำรอง เช่น อุปกรณ์ชว่ ยการเคล่อื นไหว รถเข็นนง่ั แว่นตา แวน่ ขยาย และจัดทำป้ายบอกทางให้เข้าถึง
สำหรบั เดก็ พกิ ารทุกประเภท
ข้อควรพิจารณาเบื้องตน้ ในการใช้สถานศกึ ษาเปน็ ศูนย์พักพิงชัว่ คราว

• อาคารสถานทีป่ ลอดภัยสำหรบั ประชาชนในชมุ ชน
• การคมนาคมสะดวก
• มคี วามพร้อมด้านสาธารณปู โภค เช่น ไฟฟ้าและนำ้ ประปา
• มีขนาดพน้ื ทท่ี ีเ่ หมาะสมกับจำนวนประชากรที่จะต้องอพยพมาพักพิง
• มีแหลง่ ทรัพยากรสำหรับการยงั ชพี เบื้องต้นในช่วงระยะเวลาหนง่ึ
• มีสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อ้ือต่อสุขภาพอนามัยทัง้ ทางร่างกายและจิตใจ

การบรหิ ารจัดการศูนย์พักพิงชั่วคราวจึงจำเป็นต้องมีการตั้งคณะกรรมการรับผดิ ชอบและประสานงาน
ประกอบดว้ ยผู้จัดการศูนยฯ์ และคณะกรรมการฝา่ ยตา่ งๆ มีหน้าท่ีตดั สินใจดำเนนิ การ ประสานงาน บุคลากร
ในสถานศึกษาร่วมกับอาสาสมัครประชาชนหรือผู้ประสบภัยควรมีส่วนร่ว มในการเป็นกรรมการดูแลสถานที่

และผู้ประสบภัย ในการแต่งต้ังคณะกรรมการบริหารจัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราวและคณะทำงานฝ่ายต่าง ๆ
ไม่จำเป็นต้องเป็นบุคลากรในสถานศึกษาทัง้ หมด ควรใชห้ ลักการมสี ่วนร่วม เช่น เชญิ ผ้ปู กครอง คณะกรรมการ
ชุมชน ศษิ ย์เกา่ อาสาสมคั รในชุมชน ผปู้ ระสบภัย และเด็กเข้ามามีบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบเพื่อให้มีการ
ดูแล และเรียนรู้การอยู่ร่วมกันในสถานการณ์ภัยพิบัติ อย่างไรก็ตาม ผู้บริหารสถานศึกษาหรือบุคลากรทาง
การศกึ ษาจะต้องมบี ทบาทในฐานะเจ้าของพ้นื ทแี่ ละเป็นผู้กำหนดการใช้พ้ืนที่ให้แก่ผู้ประสบภัย สำหรบั จำนวน
คณะทำงานหรือผู้รับผิดชอบควรมีอัตราส่วนตามความจำเป็น ยกตัวอย่าง เช่น หากมีกลุ่มเปราะบางเป็น
จำนวนมากก็จำเป็นต้องมีคนดูแลเพิ่มข้ึน หากมีหญิงต้ังครรภ์และเด็กอ่อนเป็นจำนวนมากก็ต้องเพ่ิมจำนวน
คณะกรรมการฝา่ ยพยาบาลและสาธารณสุข เป็นตน้ นอกจากน้ี ยังต้องมีการอบรมให้ความรู้คณะกรรมการใน
เร่ืองสำคัญต่าง ๆ เช่น การคุ้มครองเด็ก คนพิการ คนชรา วิธีการช่วยเหลือ ยก เคลื่อนย้ายคนพิการ
กฎระเบียบการตา่ ง ๆ

องค์ประกอบของคณะกรรมการจัดการศูนยพ์ ักพิงชว่ั คราว ได้แก่

คณะกรรมการฝา่ ย บทบาทหนา้ ที่
หวั หนา้ ศูนย์พักพิงช่วั คราว • ควบคุมกำกับดแู ลการทำงานงานของฝ่ายตา่ ง ๆ
ฝ่ายอำนวยการและสือ่ สาร • ประสานงานการดำเนินงานทุกเรอื่ งทง้ั ภายในและภายนอก
• รบั เร่ืองราวร้องทุกข์ ตรวจสอบและตัดสนิ ใจแก้ไขปญั หาตา่ ง ๆ
ฝ่ายการประกอบอาหาร • การลงทะเบยี น เก็บข้อมลู จัดทำข้อมลู ผปู้ ระสบภยั
• จัดระบบและวธิ ีการสื่อสารทง้ั ภายในและภายนอก
ฝ่ายประสานงานผปู้ ระสบภัย • จดั ทำบัญชีรายการคา่ ใช้จา่ ย
ฝา่ ยบรรเทาทุกข์ • รบั รายงานและทำรายงานการปฏบิ ัตงิ าน
ฝ่ายรักษาพยาบาลและสุขอนามยั • ประเมินสถานการณด์ ้านอาหารและน้ำด่ืม
• จัดหาภาชนะ อุปกรณ์และวตั ถดุ ิบในการประกอบการ
• ประกอบอาหารตามหลกั โภชนาการ
• กำหนดตารางเวลาการแจกจ่ายอาหารประจำวนั
• กำหนดจุดรบั อาหารในแตล่ ะวนั
• ประสานงาน สื่อสารกับผูป้ ระสบภยั ใหท้ ราบถงึ ความตอ้ งการ

ความช่วยเหลอื และแลกเปลี่ยนขอ้ มูลข่าวสารที่จำเป็น
• ประสานงานด้านการรับและส่งกลบั ผู้ประสบภัย
• ดแู ลจัดหาสิ่งของบรรเทาทุกข์โดยเฉพาะปัจจัยส่ี
• การรับบรจิ าค และจดั ทำบญั ชสี ่ิงของบริจาค
• ดูแลปอ้ งกนั การเจบ็ ป่วยเบ้ืองตน้ ก่อนพิจารณาสง่ ตอ่ ให้

หน่วยงานทางการแพทย์ท่มี คี วามพรอ้ ม
• ดแู ลด้านจิตวิทยา สขุ อนามยั

คณะกรรมการฝ่าย บทบาทหน้าท่ี

ฝา่ ยดแู ลสถานทแ่ี ละรกั ษาความ • วางผัง จัดสรรพน้ื ท่ี ดูแลซ่อมแซมทัง้ ในช่วงเตรียมการจดั ต้ัง

ปลอดภยั ศนู ยฯ์ ระหวา่ งใชพ้ นื้ ท่แี ละหลังจากการใช้พ้นื ที่

• ออกระเบียบความปลอดภัย เช่น ระเบียบการใช้พื้นที่

ฝา่ ยขนส่ง • การลำเลียงสิง่ ของ บคุ ลากรและการใช้ยานพาหนะเพ่ือการ

อพยพ ส่งตอ่ และส่งกลับ

ฝา่ ยนนั ทนาการ • จดั พน้ื ทแ่ี ละกิจกรรมเพ่ือสร้างบรรยากาศร่นื เริง คลายความตงึ

เครียด เชน่ การจดั สนั ทนาการให้เด็ก การจัดฝึกอาชีพให้

ครอบครวั จัดกิจกรรมสำหรับผ้สู ูงอายุ

• จดั มาตรการในการเฝ้าระวงั และคมุ้ ครองเด็กปกติ เด็กพกิ ารใน

ศูนยพ์ กั พงิ ชัว่ คราว

การจดั พน้ื ที่ใช้สอยในศูนย์พักพิงชั่วคราว

ความต้องการพ้ืนท่ีใช้สอยของแต่ละศูนย์พักพิงแตกต่างกันตามลกั ษณะของสังคมและระยะเวลาที่พัก

พิงอยู่ในศนู ย์นั้น ๆ การจัดพ้ืนทคี่ วรคำนงึ ถึงการใชง้ าน หลกั การคุ้มครองเด็ก หลักการมสี ่วนรว่ มและความเป็น

สว่ นตัว หากพจิ ารณาจากมาตรฐานข้ันต่ำ กล่าวคอื อยา่ งนอ้ ยท่ีสุดศูนย์พกั พิงต้องมีพ้ืนท่ีตอ่ ไปน้ี

• พน้ื ท่ีสำหรับการทำงานคณะกรรมการศูนย์ฯซ่ึงเปน็ พ้ืนท่ีท่ีต้องจัดให้เป็นสัดส่วน มอี ุปกรณ์การทำงาน

และตอ้ งมรี ะบบความปลอดภัยเพอ่ื เก็บรักษาข้อมลู โดยเฉพาะข้อมลู เกี่ยวกับเด็ก

• พ้ืนท่ีส่วนตัวเพ่ือการนอนพักผ่อน และในกรณีที่ผู้ประสบภัยไม่ได้มาเป็นครอบครัว ควรแยกพ้ืนท่ี

ส่วนตัวระหว่างชายและหญิง หากมแี นวโนม้ ว่าจะต้องใช้ศนู ยพ์ ักพงิ เกนิ กวา่ 3 วนั ตอ้ งพจิ ารณาพื้นท่ี

สำหรบั ซกั ล้าง ตากผ้า หงุ หาอาหาร ทงิ้ ส่งิ ปฏิกลู ของเสียดว้ ย

• พื้นที่สำหรับปฐมพยาบาลจะต้องมีการก้ันห้องหรือมีฉากกั้น มีการแยกพ้ืนที่นอนพักระหว่างเด็กและ

ผู้ใหญ่ ผชู้ ายและผหู้ ญิง

• พ้ืนที่ที่เป็นสัดส่วนสำหรับการดูแลผู้ประสบภัยที่มีความต้องการเป็นพิเศษ เช่น คนชราหรือคนพิการ

ติดเตียง หญิงพิการท่ีต้องการความช่วยเหลือในการผลัดเปล่ียนเสื้อผ้าและการดูแลสุขอนามัย พ้ืนที่

สำหรับแม่ใหน้ มบตุ ร พืน้ ท่ดี ูแลเดก็ ออ่ น เป็นตน้

มาตรฐานการจดั พ้นื ทส่ี ำหรับผู้ประสบภยั

พ้นื ที่ใชอ้ าศยั ประเภทของพ้ืนทใ่ี ชส้ อย ปรมิ าณ/คน
พน้ื ทใี่ ช้สอย พ้ืนที่สว่ นตัว/ทน่ี อน 3.5 ตารางเมตรต่อคน
พนื้ ท่รี ะหวา่ งเตน็ ท์นอน เวน้ 2 เมตร เพอ่ื เปน็ แนวกนั ไฟ
ห้องสว้ ม (ห่างจากพื้นที่อาศยั 6 เมตร 1 ห้อง ตอ่ ผหู้ ญิง 20 คน
และจากแหล่งน้ำอย่างนอ้ ย 30 เมตร) 1 ห้องพร้อมโถปสั สาวะต่อผ้ชู าย 35 คน
จดุ ให้บรกิ ารน้ำใช้ 1 จุดนำ้ ประปาต่อผ้ปู ระสบภัยอยา่ งน้อย 80 คน
ขึน้ อยู่กับการไหลของน้ำ
ทซ่ี ักล้าง ซักผา้ ตากผา้ 1 จุด ต่อ ผู้ประสบภยั อย่างน้อย 100 คน
ที่ทิ้งขยะ (ห่าง 100 เมตรจากที่พัก) 2 จดุ ตอ่ ผู้ประสบภยั 80 คน
โรงครวั 1 จดุ ตามกำลงั การผลติ และจำนวนคน
พน้ื ท่ปี ฐมพยาบาล ตามความเหมาะสม อยา่ งน้อย 1 จดุ
พื้นทป่ี ระกอบกิจกรรมทางศาสนา 1 จดุ ตามความเหมาะสม

การปิดศนู ยพ์ ักพงิ ชว่ั คราว
สถานศึกษาควรใชเ้ ป็นศูนย์พักพิงชั่วคราวในเวลาส้ัน ๆ เท่าน้ัน เพื่อให้สามารถกลบั ไปทำหน้าที่ในการ

ให้การศึกษาโดยเร็วท่ีสุด การปิดการดำเนินการของศูนย์พักพิงชั่วคราว จะต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของ
กลุ่มเปราะบาง การคุ้มครองเด็ก และการดูแลคนพิการด้วย ในการปิดศูนย์พักพิงช่ัวคราว คณะกรรมการรี
ควรดำเนินการดังตอ่ ไปน้ี

• บันทึกข้อมูลของผู้ประสบภัยว่าจะเดินทางต่อไปไหน หรือส่งกลับบ้านอย่างไร หากเป็นเด็กต้องมีการ
บนั ทกึ ช่ือ ท่ีอยู่ หมายเลขติดตอ่ ของผู้ปกครองทีพ่ าเด็กไปด้วย

• ประสานงานกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเพ่ือจัดหาพาหนะสำหรับส่ง
ผปู้ ระสบภัยกลบั บ้าน โดยเฉพาะกลุม่ เปราะบาง หญิงมีครรภ์ คนพิการ คนชรา

• ระดมอาสาสมัครจากชมุ ชนและนกั เรียนในการทำความสะอาด
• ทำการสำรวจอาคารสถานทแ่ี ละวัสดุอุปกรณเ์ พื่อตรวจสอบว่ายังอย่ใู นสภาพดหี รือครบถว้ นหรือไม่
• จัดทำรายการอาคารสถานท่ีและวัสดุอุปกรณ์ท่ีต้องซ่อมแซมหรือจัดหาใหม่เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับ

การเปดิ เรยี น
• จัดทำงบประมาณในการซอ่ มแซมอาคาร ในบางกรณอี าจจะขอบรจิ าคอปุ กรณ์การเรยี นการสอน
• รายการตรวจสอบอาคารสถานท่ีและสง่ิ อำนวยความสะดวกสำหรบั การปรับสถานศึกษาให้เป็นศนู ย์

พกั พงิ ชัว่ คราวสำหรับผู้ประสบภยั

2.5 การจัดการเรยี นการสอนต่อเน่อื งในสถานการณภัยพบิ ตั ิ
เด็กมีสิทธิที่จะได้รบั การศึกษาในสถานท่ีทปี่ ลอดภัย มีการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนท่เี หมาะสมกับ

เด็ก เพื่อช่วยฟื้นฟูสภาพจิตใจเด็กให้กลับสู่ภาวะปกติ และจัดให้มีระบบการศึกษาท่ีต่อเน่ืองสำหรับเด็กให้เร็ว
ท่ีสุดการช่วยเหลือให้เด็กสามารถกลับมาใช้ชีวิตให้เหมือนเดิมให้เร็วที่สุด จะช่วยรักษาภาวะความเครียดของ
เดก็ ไดด้ ีท่ีสดุ สามารถทำได้ดังน้ี

• จดั ใหม้ สี ถานทีท่ ี่ปลอดภัยสำหรบั การเรียนรแู้ ละการเลน่ ของเด็ก เพ่ือใหใ้ ช้ชีวิตคลา้ ยกับชวี ติ ปกติ
• จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ การอ่านเขียนตามวยั
• จัดการเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขอนามัย ภัยที่เกิดขึ้น ความเสี่ยง การป้องกันและการดูแลตัวเองให้

ปลอดภัย
• จัดกิจกรรมการเล่นสนุกสนานให้เด็ก นอกเหนือจากเวลาเรียน เพื่อฟ้ืนฟูสภาพจิตใจเด็ก ท้ังกีฬา

ดนตรี ศิลปะ ของเล่น หุ่นมือ และการเล่นรูปแบบอื่นๆ สามารถใช้ศิลปะกับเด็กเล็ก เพื่อให้เขาแสดง
ความรู้สึกตา่ งๆออกมาได้ และปรบั ตัวให้เข้ากับสถานการณ์ท่เี กิดข้นึ
ในช่วงเกิดเหตุภัยพิบัติจนทำให้การเรียนการสอนหยุดชะงัก ผู้บริหารสถานศึกษาและครูจะต้องวางแผน
ทางเลือกในการจัดการเรียนการสอน เช่น การเปล่ียนเวลาเรียน เปลี่ยนวิธีการเรียน หรือเปล่ียนสถานท่ีเรยี น
เพ่ือใหเ้ ดก็ สามารถเรยี นได้ทันตามทีห่ ลักสูตรกำหนด อาจทำได้ดังนี้
• จดั การเรียนการสอนในวนั หยุดราชการชดเชย
• ใช้วธิ ีการเรียนการสอนอืน่ แทนการเขา้ ชน้ั เรยี น เชน่

o การเรียนทบี่ า้ น (home-schooling)
o การเรียนด้วยตนเอง และทำการบ้านทดแทน
o เพอ่ื นสอนเพื่อน หรอื กลมุ่ การเรียนการสอนทจี่ ดั ร่วมกันโดยผู้ปกครอง ครูและชมุ ชน
o เร่งระยะเวลาการเรยี น
o การเรยี นผา่ นสอ่ื วิทยุ สื่ออินเทอร์เนต็ หรอื สื่ออนื่ ๆ
วธิ ีการเหล่านตี้ อ้ งมีการติดตามวจิ ัยและประเมนิ ผลอยา่ งระมัดระวัง เพ่ือดูว่าเกิดผลกระทบตอ่ นักเรยี นอย่างไร
2.6 การค้มุ ครองเด็กในสถานการณ์ภัยพิบัติ
เด็กทั้งชายและหญิงจำเป็นต้องได้รับการคุ้มครองเม่ือเกิดภัยพิบัติหรือสถานการณ์ฉุกเฉิน เนื่องจาก
ภาวะฉุกเฉินทำให้มีคนจำนวนมากมาอยู่รวมกัน เกิดความตึงเครียด สับสน ประกอบกับระบบความปลอดภัย
ในศูนย์พักพิงช่ัวคราวอาจมีความหละหลวมและทำให้อาจจะเกิดความรุนแรงได้ เช่น การทำร้ายร่างกาย การ
บาดเจ็บเนื่องจากต้องแย่งทรัพยากรท่ีจำกัด การละเมิดทางเพศ การลักพาตัว เป็นต้น กลไกคุ้มครองเด็กที่
สำคญั คือ ครอบครวั และชมุ ชน โดยอาจดำเนนิ มาตรการดังนี้
• ค้นหาเด็กที่มีความเส่ียงสูง ได้แก่ เด็กท่ีมีความเครียดสูง เด็กที่มีการสูญเสียผู้ปกครอง เด็กพิการออ
ทิสติค หรอื เดก็ ที่ตอ้ งการความชว่ ยเหลือเพ่ือฟน้ื ฟูจิตใจ
• วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเด็กกับครอบครัว ช่วยเหลือ และแก้ไขปัญหาของผู้ปกครองเพ่ือลดความ
เสี่ยงต่อการเล้ยี งดูท่ไี มเ่ หมาะสม เมอ่ื ผปู้ กครองประสบปัญหาในการใช้ชวี ิต

• สนับสนุนให้เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการจัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราว ทั้งการวิเคราะห์ปัญหาและ
การแสดงความเห็นในการแก้ไขปัญหา เพื่อสร้างความรสู้ ึกท่ีดีต่อการแก้ไขปัญหา ไม่ท้อถอยต่อปัญหา
ท่เี กดิ ข้นึ รวมทั้งความภูมใิ จในบทบาทของตน
ครูท่ีทำงานกับเด็กท่ีประสบภัย ควรได้รับการสนับสนุนและอบรมให้เข้าใจและสามารถตอบสนองต่อ

ประสบการณ์ การสูญเสีย และความรู้สึกต่าง ๆ ของเด็กและของตนเองได้ ครูควรทราบวิธีท่ีจะให้การ
สนับสนนุ ด้านจิตใจให้แก่เดก็ และสอนใหค้ รอบครวั ทำดว้ ย
ตัวอยา่ งกรณีศึกษา 1 พื้นทส่ี รา้ งสรรค์สำหรบั เด็กในภาวะน้ำทว่ ม

• ในช่วงท่ีประเทศไทยถูกน้ำท่วมขังในหลายพ้นื ที่ มลู นิธิเพอ่ื การพัฒนาเด็ก (มพด.) Save the
children (UK) หรือองคก์ รชว่ ยเหลือเดก็ และ สำนักงานกองทุนสนับสนนุ การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ
(สสส.) จึงร่วมกนั ทำโมเดลการคุ้มครองเด็กในภาวะนำ้ ท่วม ผา่ นรูปแบบพน้ื ท่สี ร้างสรรค์สำหรับ
เด็ก ภายใต้โมเดล “พน้ื ท่ีปลอดภัย สขุ สนุก เรียนรู”้ โดยจดั ทำกิจกรรมทศ่ี ูนย์พักพิง
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศนู ย์พักพิง จ.พระนครศรีอยธุ ยา และศนู ย์พกั พิงวดั ไร่ขงิ จ.นครปฐม

• ทีมงานจะทำการสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับเด็ก จัดทำระบบโครงสร้างต่าง ๆ เพ่ือให้มีความปลอดภัย
สำหรับเด็ก เช่น ห้องน้ำเด็กอ่อน ห้องอาบน้ำแยกหญิง-ชาย และเปิดรับสมัครอาสาสมัครในพื้นท่ี
ซ่ึงอาจเป็นผู้ปกครองหรือนักศึกษาเข้าร่วมอบรมการคุ้มครองเด็กผ่านพ้ืนท่ีสร้างสรรค์ในสภาวะภัย
พิบัติ (น้ำทว่ ม)

• มูลนิธิเพ่ือการพัฒนาเด็กพบว่า กิจกรรมพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับเด็ก ช่วยผ่อนคลายความเครียดให้
ผู้ปกครอง และเด็ก ๆ ทไ่ี ด้ร่วมทำกจิ กรรมจดจำความรทู้ ่ีได้นำไปใช้ดว้ ย

• อาสาสมัครผู้มาเข้าร่วมกิจกรรม กล่าวว่า หลังจากได้อพยพครอบครัวมาอยู่ที่ศูนย์พักพิง สภาพจิตใจ
เกิดความเครยี ดมากเนื่องจากห่วงบา้ นและทรัพย์สนิ เมอ่ื ได้มาเปน็ อาสาสมัครดแู ลการอาบน้ำให้เดก็ ๆ
ทำตนมีความสุขขึ้น และกิจกรรมแบบนี้ช่วยให้เด็กได้ไม่ต้องไปเล่นซุกซนหรือไปเล่นน้ำซ่ึงจะเป็น
อันตรายมาก

2.7. การปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาล หมายถึง การให้ความช่วยเหลือขั้นต้นที่กระทำในทันทีทันใดในสถานท่ีเกิดเหตุ

โด ย ใช้ เค รื่ อ งมื อ เท่ า ที่ ห าได้ เพื่ อ ล ด อั น ต ร าย แ ล ะป้ อง กั น ค ว าม พิ ก า ร ข อ ง ผู้ บ าด เจ็ บ ก่ อ น จ ะส่ งต่ อ ไป ยั ง
สถานพยาบาลเพือ่ รบั การรกั ษาตอ่ ไป

ชุดปฐมพยาบาล (first aid kit) คืออุปกรณ์เบื้องต้นสำหรับช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ ควรเก็บไว้ในกล่อง
พลาสติกทมี่ ฝี าปิดหรืออปุ กรณ์ท่ีกนั น้ำ ตดิ หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉินของหน่วยงานต่าง ๆ ไว้
ตัวอย่าง ชดุ ปฐมพยาบาลเบื้องตน้
ชดุ ปฐมพยาบาล(First aid kit) ควรประกอบดว้ ย ชุดอุปกรณ์ทำแผล และยารักษาโรคเบอ้ื งตน้ เช่น

• ถงุ มอื - สำหรบั ผู้ชว่ ยเหลือ เพอ่ื ป้องกันมิใหผ้ ู้ช่วยเหลือสมั ผสั ถูกเลือด อาเจยี น สารคดั หล่ังตา่ ง ๆ
• ยาล้างแผล เช่น แอลกอฮอล์ ยาฆ่าเชอื้
• ผา้ ทำแผล (ผ้าก๊อซ) ขนาดตา่ ง ๆ โดยหากแผลมเี ลือดออกมากใหป้ ดิ ทบั หลายๆแผ่นเพ่อื หา้ มเลอื ด
• พลาสเตอรเ์ ทปปิดแผลขนาดตา่ ง ๆ ใชส้ ำหรบั ปิดแผลหลงั จากล้างทำความสะอาดแลว้

• กรรไกร ใชต้ ดั ผ้าก็อซหรือตัดผา้ หรือขากางเกงเช่น เกิดอุบตั เิ หตุบนทอ้ งถนน

• ผ้าปิดตา ใชส้ ำหรับการบาดเจ็บทน่ี ัยน์ตา เช่น กระจกตาถกู บาด ฝนุ่ ละอองเข้าตา เปน็ ต้น

• เข็มกลัด ใชต้ ดิ ผ้าสามเหลยี่ ม ผา้ คล้องคอ ผา้ ยดื

• สำลี ไมพ้ นั สำลี ใช้สำหรับทายาลา้ งแผลรอบ ๆ แผล

• ผ้ายืด(อีลาสติกแบนเอด) ใช้สำหรับพันเม่ือเกิดการบาดเจ็บกล้ามเน้ือ ข้อ เพื่อลดการบวม ลดการ

เคล่ือนไหว หรือใช้พันยึดกับอุปกรณ์อื่น ๆ เพื่อดามกระดูก ผ้ายืดยังสามารถนำมาพันทับผ้าก๊อซ

หรือพลาสเตอร์ติดแผลเพ่ือห้ามเลือด แต่ห้ามพันแน่นจนเกินไปเพราะทำให้อวัยวะส่วนปลายเกิดการ

บวมและขาดเลือดมาเล้ียงได้

• ผ้าสามเหล่ียมคลอ้ งแขน ปจั จุบนั ใช้ผา้ คล้องแขนแทนเพราะสะดวกและงา่ ยต่อการใชง้ าน

• ถุงพลาสตกิ 1 ใบ สำหรบั ใส่เศษขยะ เช่น ผา้ เปอื้ นเลือด เป็นตน้

ยาฉกุ เฉินสำหรบั รับประทาน โดยกล่องบรรจุยานี้ต้องปดิ มิดชิดและมีข้อความระบุขา้ งกล่องชัดเจนว่า

เป็นยาสำหรับรับประทาน ควรมียาเฉพาะที่จำเป็นเท่านั้น อาทิ ยาลดไข้แก้ปวด ผงเกลือแร่สำหรับการ

บาดเจ็บที่มีการเสียเลือดมาก หรือบาดแผลพุพองจากความร้อนที่มีบริเวณกว้าง หรือผู้ท่ีมีอาการอาเจียนและ

ทอ้ งเสยี

วิธีช่วยเหลอื ปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นในกรณตี า่ ง ๆ ผู้ทีร่ บั ผิดชอบฝา่ ยน้ี ควรเปน็ บุคลากรที่มคี วาม

เชย่ี วชาญ และได้รบั การฝกึ อบรมให้สามารถรับมือกบั สถานการณ์การบาดเจบ็ ต่อไปนี้ได้

- การเขา้ เฝือกชวั่ คราว - การห้ามเลือด

- การนวดหวั ใจ - การจมน้ำ

2.8 การประเมินผลตามแผนบรหิ ารจัดการภยั พิบตั ิ

ทุก ๆ ปี สถานศึกษาควรทบทวนและปรับปรุงแผนบริหารจัดการภัยพิบัติในสถานศึกษา และติดตาม

ความกา้ วหน้าในการดำเนนิ งานในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี

• ทบทวนและประเมินสถานการณค์ วามเสย่ี งของสถานศกึ ษา

• ปรับปรุงแผนท่ีความเสี่ยงและภยั หากจำเป็น

• ทบทวนมาตรการลดความเสี่ยงและความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ วเิ คราะห์ปัญหาอุปสรรคที่ไม่สามารถ

ดำเนินการตามมาตรการได้

• ทบทวนแผนเตือนภัยและอพยพ ตรวจสอบสถานที่ปลอดภัย ตรวจสอบป้ายบอกเส้นทางหนีภัย ป้าย

จุดรวมพล ไฟฉกุ เฉิน เส้นทางหนภี ัย ประตหู นีภัย เปน็ ต้น

• ตรวจสอบปรับปรุงหมายเลขโทรศพั ท์ฉกุ เฉินและผู้ประสานงานหน่วยงานภายนอกใหเ้ ป็นปัจจบุ นั

• ตรวจสอบอุปกรณ์เตือนภัย อุปกรณ์กู้ภัย ช่วยชวี ิตและชดุ ปฐมพยาบาล (เช่น วิทยุสื่อสาร เครอ่ื งขยาย

เสยี ง ไฟฉาย แบตเตอรี่ เชอื ก เสื้อชูชีพ เรือ ชดุ ปฐมพยาบาล ตลอดจนอปุ กรณ์ดบั เพลงิ )

• ทบทวนและประเมนิ ผลการจัดซ้อมหนีภยั และปรับปรงุ ข้ันตอนการปฏิบัตทิ จี่ ำเปน็

• ทบทวนว่าแผนการจัดการศึกษาต่อเน่ือง (Education Continuity Plan) ตรวจสอบสถานท่ีเลือกเป็น

ห้องเรียนช่ัวคราวยังเปน็ สถานที่ปลอดภัยอยู่หรือไมส่ ำรวจความเสียหาย จัดทำเรื่องขอความช่วยเหลือ

และงบประมาณเพ่ือรายงานไปยงั ตน้ สงั กัด

หวั ข้อ : มาตรฐานการปฏิบัติเม่ือเกิดภยั ตา่ งๆ

3.1 มาตรฐานการปฏิบัตกิ รณีอทุ กภัย (Flood/Flash flood)

ลกั ษณะภัย มีสายนำ้ ไหลมาอยา่ งรวดเร็วรนุ แรง มีน้ำท่วมฉับพลนั อาจมีดินโคลนและท่อนซงุ ไหลมา

พรอ้ มกบั สายน้ำ

ข้อควรจำ น้ำมาให้ขึน้ ท่สี ูง ตดั ไฟฟ้าเพ่ือป้องกนั ไฟฟ้าดูด

กอ่ นเกดิ น้ำทว่ ม ขณะเกดิ นำ้ ท่วม หลงั เกดิ น้ำท่วม

ตรวจสอบกับชมุ ชนรอบสถานศกึ ษาดวู ่า หากจำเป็น ใหอ้ พยพไปอยูท่ ส่ี ูงท่ี ตรวจสอบพน้ื ผนัง และหลงั คา ว่าอยใู่ นสภาพ
เคยเกิดนำ้ ทว่ มสงู ท่ีสดุ แคไ่ หน เพื่อหาพื้นทท่ี ่ี ปลอดภัยใหเ้ รว็ สุด ทปี่ ลอดภยั หากไม่แน่ใจใหต้ ามช่างมา
ปลอดภัย ตรวจสอบก่อน

ตรวจสอบว่ามวี ิธีการเตือนภัยจากท่ไี หน และ ให้ปดิ ทอ่ น้ำทง้ิ ในหอ้ งนำ้ ทอ่ โถส้วมท่ี กำจดั น้ำและโคลนออกจากอาคาร

อยา่ งไรบ้าง เช่นการแจง้ จากชมุ ชน น้ำสามารถไหลเขา้ อาคารทัง้ หมด ทำความสะอาดห้องเรียนท่ีน้ำทว่ ม

ย้ายสวทิ ซ์ ปลั๊กไฟ อุปกรณ์ไฟฟ้า และ ปิดสะพานไฟฟ้า (คทั เอาท์) และแกซ๊ ไมจ่ บั หรือเสยี บปลั๊กเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้า และไมเ่ ปิด

สะพานไฟใหอ้ ยสู่ งู กว่าระดับท่ีคาดวา่ นำ้ จะ ไฟ

ทว่ มถงึ จนกวา่ จะม่ันใจวา่ ปลอดภยั

ลอกทอ่ ระบายนำ้ ตรวจสอบรางนำ้ ไมใ่ หม้ สี ง่ิ ระมัดระวังเศษวสั ดุ ซากก่ิงไม้ ประเมินความเสียหายและของบประมาณ

อดุ ตันทที่ ำใหน้ ำ้ ไหลไมส่ ะดวก เตรยี ม ของมีคม หรอื สารเคมตี า่ งๆทอี่ าจจะ ซ่อมแซม

กระสอบทรายไวก้ ั้นน้ำ ไหลหรอื ปนเป้ือนมากบั กระแสน้ำ

จัดพืน้ ทเี พอ่ื ป้องกนั ความเสยี หาย เชน่ ควร เคลื่อนย้ายอุปกรณ์ที่อาจจะเสียหาย
ยา้ ยเอกสาร สมุด หนังสอื ไปไวช้ ้ันสอง จากนำ้ ท่วมข้ึนช้ันบน

สอนนักเรยี นใหร้ ู้จักทกั ษะในการปอ้ งกันตวั ติดตามข่าวหรอื ประกาศเพอื่ ปฏบิ ตั ิ

เมอื่ เกดิ เหตุ ตามคำแนะนำ

ทำแผนและซ้อมแผนพื่อใหท้ ุกคนรูจ้ ัก
สญั ญาณเตอื นภัย เสน้ ทางอพยพ ทปี่ ลอดภัย

ตดิ ตามการประกาศเตอื นภยั จากสถานวี ทิ ยุ
ท้องถิ่น โทรทศั น์

3.2 มาตรฐานการปฏบิ ัตกิ รณีวาตภัย

ลกั ษณะภัย ลมแรง ฝนตกหนัก นำ้ ท่วมฉบั พลัน มีคลนื่ สูง และนำ้ ทว่ มชายฝัง่

ขอ้ ควรจำ

• เมอื่ มีการแจง้ เฝ้าระวงั หมายถึงพายจุ ะมาถึง ภายใน 36 ชั่วโมง

• เมอ่ื มีการแจง้ เตือนภยั หมายถึง พายจุ ะมาถึง ภายใน 24 ชัว่ โมง

• เมอื่ เกดิ พายุ จะมีฝนตกหนกั และอาจเกดิ น้ำท่วมฉับพลนั

• เมอ่ื เกดิ พายุแล้วแต่มลี มสงบฉับพลนั หมายถึงเราอยใู่ นศูนย์กลางของพายุและจะมีพายุตามมาอีกครง้ั

กอ่ นเกิดพายุ ขณะเกิดพายุ หลงั เกิดพายุ

ซ่อมแซมอาคารให้แขง็ แรง ตดิ ตั้ง ปิดประตูหนา้ ต่างให้แนน่ หนา พรอ้ มปดิ ตรวจสอบสง่ิ ท่ไี ดร้ บั ความเสียหายและ

อุปกรณ์เสรมิ ความแขง็ แรงของประตู เทปตามแนวประตูหนา้ ต่าง อาจจะหกั โค่นลงมาได้ เชน่ หลังคาบ้าน

หน้าตา่ ง เชน่ ขอสบั เพื่อปอ้ งกนั ไมใ่ ห้ลมพดั ตน้ ไม้ ปา้ ยโฆษณา เสาไฟฟา้ และ

กระแทกปิด ดำเนินการซอ่ มแซม

ยึดส่วนประกอบอาคาร เช่น หลังคา ราง หลีกเล่ียงการอยูน่ อกอาคารหรอื ทโี่ ล่ง ตรวจสอบอาคารและสว่ นประกอบ

น้ำ สายไฟให้แน่นหนา เพราะอาจจะมีเศษวัสดุ กงิ่ ไมห้ ักปลิวมา อาคารว่ายงั อยใู่ นสภาพที่แขง็ แรงและ

ตามแรงลม ปลอดภัย

ประตูหนา้ ต่างทเ่ี ป็นบานกระจกควรมกี าร ออกหา่ งหนา้ ต่าง ประตูทีม่ บี านกระจกเพอ่ื

ตดิ ฟลิ ม์ หรอื มีการป้องกนั ไมใ่ หก้ ระจกแตก ป้องกันไม่ใหเ้ กดิ อนั ตรายหากกระจกแตก

กระจายจากแรงลม เพราะแรงลม

ปอ้ งกันระบบนำ้ ระบบไฟ ตดิ ตง้ั ระบบตัด งดใชอ้ ุปกรณ์ไฟฟ้า คอมพวิ เตอร์ และ

ไฟ อปุ กรณ์ปอ้ งกันฟา้ ผา่ โทรศัพท์ หรือถอดปลก๊ั ออก

ตัดตน้ ไมส้ งู ไม่ใหล้ ม้ ทับอาคาร หลกี เลยี่ งทตี่ ่ำทเี่ กิดน้ำทว่ มฉบั พลนั ได้

สอนนกั เรียนใหร้ ูจ้ ักทักษะในการปอ้ งกัน ออกหา่ งจากวัตถุท่ีเปน็ สอ่ื ไฟฟา้ ทกุ ชนิด
ตวั เม่อื เกิดเหตุ และเสน้ ทางอพยพ จดุ รวม

พล
ติดตามขา่ วสาร การพยากรณ์และคำเตือน อย่ารีบออกจากท่ีกำบังจนกว่าจะ แนใ่ จ

จากทางราชการอยา่ งใกลช้ ิด หรอื ไดร้ บั ขอ้ มูลสถานการณ์ ปลอดภยั

3.3 มาตรฐานการปฏบิ ตั กิ รณีแผน่ ดนิ ไหว

ลักษณะภยั แผ่นดินเกิดการสั่นสะเทอื นอยา่ งรุนแรง โดยไมม่ ีส่ิงบอกเหตลุ ว่ งหน้า

ข้อควรจำ เมือ่ เกดิ แผ่นดนิ ไหวอยา่ งรุนแรง มกั มีแผ่นดนิ ไหว ตามมาอีกหลายคร้ัง อาจเกิดแผ่นดิน

แยก แผ่นดนิ ถลม่ และอาคารอาจไมพ่ ังทลายในทันทีแต่อาจะพงั ทลายภายหลงั

กอ่ นเกดิ แผ่นดินไหว ขณะเกดิ แผน่ ดนิ ไหว หลงั เกดิ แผ่นดนิ ไหว

ตรวจสอบอาคารเรยี น อาคารประกอบ อย่าตน่ื ตกใจ พยายามควบคุมสติ ตรวจสอบตัวเองและคนขา้ งเคยี ง

ระบบสาธารณูปโภค ให้อยู่ในสภาพ หาที่หลบกำบังในบรเิ วณทปี่ ลอดภยั เช่น ว่าได้รับบาดเจ็บหรอื ไม่

มั่นคงแขง็ แรง บริเวณอาคารที่มโี ครงสร้างแข็งแรง แลว้ ทำการปฐมพยาบาลขั้นตน้

ตรวจสอบเครื่องมอื ดบั เพลงิ ให้พรอ้ มใช้ หมอบบริเวณใต้โตะ๊ ทใ่ี ช้มือกำบงั ศีรษะและ เมื่อแผน่ ดนิ ไหวหยดุ ลง ใหร้ ีบออกจาก

งานอย่เู สมอ ลำคอ อาคาร ห้ามใช้ลฟิ ต์ และบนั ไดหนไี ฟ

ตรจสอบใหร้ ้ตู ำแหนง่ ของวาล์วปดิ นำ้ หากอย่ใู นทโ่ี ลง่ แจ้ง ใหอ้ ยหู่ า่ งจากเสาไฟฟ้า ปิดวาล์วถงั แกส๊ ยกสะพานไฟ (สบั คัท

วาล์วปิดก๊าซ สะพานไฟ (คัทเอาท)์ และสง่ิ หอ้ ยแขวนตา่ งๆ เอาท)์ อย่าจดุ ไม้ขดี ไฟหรือกอ่ ไฟจนกว่าจะ

แน่ใจ ว่าไมม่ ีแกส๊ รัว่

ไมว่ างสง่ิ ของหนักบนช้ันหรือหงิ้ สูงๆ อยหู่ ่างจากประตูหน้าตา่ งท่ีเป็นกระจก ออกจากบรเิ วณทสี่ ายไฟขาด

ยึดตดิ อุปกรณแ์ ละเฟอร์นเิ จอรต์ ่างๆ กบั เม่ือออกจากอาคารแล้ว ไมใ่ หก้ ลับเขา้ ไปอกี ใสร่ องเทา้ หุ้มส้นเสมอ เพราะอาจมเี ศษแกว้

พน้ื หรอื ผนังอย่างแน่นหนา เพราะอาจเกิดอาฟเตอรช์ ็อคและอาคารถล่ม หรอื วัสดุแหลมคมอ่นื ๆ

ทีห่ ักพงั อาจท่มิ แทงได้

เตรียมกระเป๋าฉุกเฉินที่มยี า ถา่ นไฟฉาย หากกำลังขบั รถ ให้หยดุ รถในทโ่ี ลง่ ห้ามหยดุ สำรวจดูความเสยี หายของอาคารเรยี น

อปุ กรณ์ปฐมพยาบาล และรายชอื่ รถใตส้ ะพาน ทางด่วน ป้ายโฆษณา และ อาคารประกอบและระบบสาธารณูปโภค

นักเรียนไว้ในห้องเรียน ตน้ ไม้ขนาดใหญ่

สอนนักเรียนใหร้ จู้ กั ทักษะในการป้องกัน อพยพไปยังจุดปลอดภยั และตรวจสอบ จดั พนื้ ที่สำหรับเป็นหอ้ งเรยี นชัว่ คราวใน

ตวั เมอ่ื เกิดเหตุ และเส้นทางอพยพ จดุ รายชอ่ื นักเรยี นท่บี าดเจบ็ สูญหาย และแจ้ง กรณที ี่ไมแ่ นใ่ จในความปลอดภยั ของอาคาร

รวมพล เจา้ หน้าท่กี ู้ภยั ค้นหา เรยี น

3.4 มาตรฐานการปฏบิ ัตกิ รณสี นึ ามิ
ลักษณะภัย กลมุ่ ของคล่นื ขนาดใหญ่ท่สี ร้างความเสียหายรุนแรงต่อพ้ืนที่ บรเิ วณ

ชายฝ่ัง และอาจเกดิ ขน้ึ ไดโ้ ดยไมม่ ีส่งิ บอกเหตุลว่ งหน้า
ข้อควรจำ

• คลนื่ สึนามจิ ะไมเ่ กิดเพยี งระลอกเดยี ว เกดิ ขึ้นไดห้ ลายระลอก และคลนื่ ลกู หลังอาจใหญ่กวา่ คลน่ื ลูก
แรก

• เมื่อน้ำทะเลลดลงหรอื เพ่มิ ขึ้นอย่างรวดเร็วผิดปกตใิ ห้คาดว่าอาจเกดิ สึนามิ
• สนึ ามิมกั เกิดหลังแผ่นดนิ ไหวขนาดใหญใ่ นทะเล และหากอยู่บริเวณชายฝัง่ จะเป็นอันตราย

ก่อนเกิดสนึ ามิ ขณะเกดิ สึนามิ หลงั เกดิ สนึ ามิ

ตรวจสอบดวู ่าทอี่ าคารเรยี น ตดิ ตามข้อมลู ทางวทิ ยุ โทรทศั น์ ถา้ กลบั สสู่ ถานศกึ ษา หรอื ส่งนักเรยี น

อยใู่ นเขตพนื้ ที่เส่ียงภยั สึนามิหรอื ไม่ มีประกาศเกดิ สนึ ามิใหอ้ พยพทนั ที กลับบ้านเมอื่ มปี ระกาศจากทาง

ราชการวา่ ปลอดภยั เทา่ นั้น

จัดทำแผนเตือนภยั อพยพหนภี ยั ตรวจสอบขอ้ มลู เพื่อระบพุ ้นื ท่ี อพยพตามแผนท่วี างไว้ และหาก สำรวจดูความเสยี หายของอาคาร

ปลอดภัยทใ่ี กล้ที่สุด ต้องหนีภัยไปนอกสถานศกึ ษา ควร เรียน อาคารประกอบและระบบ

เดินเท้าเพือ่ หลีกเล่ยี ง จราจรติดขดั สาธารณูปโภค

ซอ้ มแผนและตรวจสอบความสามารถในการอพยพนกั เรียนไปยังที่ ดำเนินการซอ่ มแซมอาคาร สง่ิ ของ

ปลอดภัย เครอ่ื งมือเคร่ืองใชแ้ ละอปุ กรณ์

สอนนกั เรียนใหท้ ำความค้นุ เคยกบั

สญั ญาณเตอื นภัยสึนามิและปา้ ย

สอนทักษะในการสงั เกตสถานการณ์ การเอาตัวรอดเมือ่ เกดิ เหตุ

เตรยี มกระเป๋าฉกุ เฉนิ ไว้ในห้องเรยี น
แจ้งผูป้ กครองให้ทราบถึงแผนของสถานศกึ ษาและจดุ ปลอดภยั ท่ีจะ

ไปรับบตุ รหลาน

3.5 มาตรฐานการปฏิบัตกิ รณดี นิ ถล่ม

ลักษณะภยั หิน ดนิ ทราย โคลน ซึ่งอย่บู นทลี่ าดชันสูงเล่อื นไถลมายงั ที่ต่ำ

ขอ้ ควรจำ เม่ือเกิดฝนตกหนัก หรอื เกดิ แผ่นดินไหว มักเกดิ ดินถล่มตามม

ก่อนเกิดดินถล่ม ขณะเกดิ ดินถลม่ หลังเกดิ ดนิ ถล่ม

ศกึ ษาดูประวตั ิ สภาพดนิ และรอ่ งนำ้ เมือ่ ไดร้ บั คำสง่ั ให้อพยพ อยา่ ลงั เล ติดตามฟังข่าวพยากรณ์อากาศ เพื่อ

รอบพื้นทร่ี อบสถานศกึ ษา ให้พานักเรียนไปยังจุดปลอดภัย ทราบสภาพสถานการณข์ องภาวะ

วา่ เคยเกิดเหตดุ ินถล่มหรือไม่ ฝนตกหนักหรอื น้ำป่าไหลหลาก

หลีกเลีย่ งการสร้างอาคารในบริเวณท่ี หากไม่สามารถอพยพไดท้ ัน ให้หา กลับสสู่ ถานศกึ ษา หรอื ส่งนักเรยี น

เคยมเี หตกุ ารณด์ นิ ถล่ม พื้นทีแ่ ขง็ แรงปลอดภยั เพื่อหลบภยั กลับบา้ นเมื่อมปี ระกาศจากทาง

ในอาคาร ราชการว่าปลอดภยั เทา่ น้ัน

เตรยี มแผนอพยพ เส้นทางหนีภยั หากพลดั ตกไปในกระแสนำ้ ห้าม สำรวจดคู วามเสียหายของอาคาร

และซอ้ มอพยพ ว่ายน้ำหนเี ป็นอันขาด เพราะอาจ เรยี น อาคารประกอบและระบบ

โดนซากต้นไม้ และก้อนหนิ ท่ีไหลมา สาธารณูปโภค

ปลูกพชื ยึดหนา้ ดนิ บริเวณเชงิ เขา กับโคลนกระแทก จนเปน็ อัตรายถงึ ดำเนนิ การซ่อมแซมอาคาร สิ่งของ

และพ้ืนทล่ี าดชนั เพ่ือลดความเส่ียง ตายได้ เคร่ืองมอื เคร่อื งใชแ้ ละอปุ กรณ์

ดินถล่ม

ก่อนเกิดดนิ ถล่ม ขณะเกิดดินถล่ม หลังเกิดดนิ ถล่ม

เข้าร่วมเครือขา่ ยเฝา้ ระวังหรือ
ประสานงานกับชุมชนใกล้เคยี งทม่ี ี

ระบบการเฝา้ ระวังเพ่ือตดิ ตาม
สถานการณ์

สอนนักเรียนให้รูจ้ ักการสังเกต
กระแสนำ้ ดนิ โคลนถล่มและการเอา

ตัวรอดในสถานการณว์ กิ ฤติ
เตรยี มกระเป๋าฉกุ เฉนิ และอปุ กรณย์ ัง

ชีพให้พร้อมอพยพ

3.6 มาตรฐานการปฏบิ ตั ิในกรณเี กดิ ภยั แลง้

ลกั ษณะภัย สภาวะความแหง้ แล้งผิดปกติของอากาศเปน็ เหตใุ หค้ วามช้นื ในอากาศ และในดนิ น้อยลง

ข้อควรจำ ภัยแลง้ มผี ลต่อปริมาณนำ้ เพื่ออุปโภค บรโิ ภค และการเกษตรขาดแคลน ภยั แล้งมโี อกาส

เกดิ ไฟปา่

กอ่ นเกิดภัยแลง้ ขณะเกดิ ภัยแล้ง หลงั เกิดภยั แลง้

เตรียมกกั เก็บนำ้ สะอาดเพ่ือบริโภค ตรวจสอบและแกไ้ ขท่อน้ำเพ่ือลดการสูญเสีย ตรวจสอบและประเมนิ ความ

ให้เพยี งพอ โดยเปลา่ ประโยชน์ เสียหาย และความต้องการ

ในเบือ้ งตน้

สำรวจระบบนำ้ ท่อนำ้ ระบบกักเก็บน้ำ ให้ ลดการใช้นำ้ ทไี่ มส่ มควรและไม่จำเป็น เตรียมหลกั ฐานเพื่อขอรบั

อยู่ในสภาพดี พร้อมใช้งาน ความ ชว่ ยเหลอื และฟื้นฟู

วางแผนใชน้ ้ำอยา่ งประหยดั นำน้ำท่ีใชช้ ำระรา่ งกายไปใชต้ ่อทาง

เพื่อให้มนี ้ำใช้ตลอดชว่ งหนา้ แล้ง การเกษตร

สอนใหน้ กั เรยี นรูจ้ กั การดูแลสุขภาวะ กำจัดวัสดเุ ชื้อเพลิงรอบสถานศกึ ษาและนอก

ในช่วงฤดูแลง้ เพ่ือป้องกนั โรคระบาดที่ ร้ัวสถานศกึ ษาเพ่ือปอ้ งกันการเกิดไฟปา่ และ

อาจจะมากับภาวะน้ำแลง้ และนำ้ ปนเปื้อน การลกุ ลาม

เตรียมหมายเลขโทรศัพท์ฉกุ เฉิน เมอื่ พบเห็นไฟปา่ ให้แจ้งหน่วยรับผิดชอบ

เพื่อการขอน้ำบริโภค และการดับไฟป่า ดำเนินการดบั ไฟทนั ที

แบบทดสอบหลังเรียน บทท่ี 3

1. ข้อใดคือบทบาทของคณะกรรมการจดั การภัยพิบตั ิในสถานศึกษา
ก.ประเมนิ ความเส่ยี งภยั ของโรงเรียน ติดตง้ั ระบบเตือนภยั จดั ทำแผนเผชิญเหตุ
ข.ตดิ ตอ่ ประสานงานกบั เทศบาลและชมุ ชนให้มาช่วยดำเนินการตามแผน
ค.ส่งเสริมการมสี ว่ นรว่ มของนกั เรียนในการต้ังศูนย์พักพิงช่ัวคราว
ง.พยากรณ์อากาศ ประกาศเขตภัยพิบตั ิ จัดฝกึ อบรมกูภ้ ยั สงเคราะห์ผ้ปู ระสบภัย

2. ในกระบวนการจดั ทำแผนการจดั การภัยพบิ ัตใิ นสถานศึกษา จะต้องใหค้ วามสำคัญกับสิ่งใดเปน็ อันดับแรก
ก.นโยบาย งบประมาณ บุคลากร และองค์ความรู้
ข.เครอื ขา่ ยโรงเรียนปลอดภยั ความชว่ ยเหลอื จากหน่วยงานภายนอก
ค.การประเมินความเสีย่ งภยั ความลอ่ แหลม ความเปราะบางและศักยภาพ
ง.สำนักงานเขตการศกึ ษา ผู้อำนวยการ ผู้ปกครอง

3. ข้อใดเปน็ การประเมินความเปราะบางเชิงโครงสรา้ ง
ก.จำนวนครตู อ่ จำนวนนักเรียนที่ต้องการความชว่ ยเหลือ
ข.โครงสรา้ งความสมั พันธ์ของสถานศกึ ษา ผปู้ กครองและชุมชน
ค.การเขา้ ถึงสถานศึกษา เช่น ประตูทางเข้า ถนน อาคารเรียน รั้ว โครงหลังคา กำแพง
ง.การประสานงานกับหน่วยงานภายนอกเพอ่ื ขอความช่วยเหลือในการจัดการภัยพบิ ัติ

4. ขอ้ ใดกลา่ วถูกต้อง
ก.การแจง้ เตือนภัยทม่ี ีประสทิ ธิภาพจะต้องมีอปุ กรณ์ทด่ี ีและเสน้ ทางอพยพท่ีไม่มีอุปสรรค
ข.แผนเผชิญเหตุ คือแผนปฏิบตั ิการของครูในสถานการณ์วิกฤติเพื่อใหน้ ักเรียนปลอดภัย
ค.การแจง้ เตือนภัยสามารถทำได้หลายรูปแบบขึน้ อยู่กับบริบทของภัยและระยะเวลาในการเตรียมตวั
ง.เมอ่ื ผู้อำนวยการสถานศึกษาไดร้ ับข้อมูลเตือนภยั จากเทศบาล ให้รีบประกาศคำส่งั อพยพทนั ที

5. ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้องเกี่ยวกับการอพยพนักเรียน
ก.เมือ่ ได้รบั คำสงั่ อพยพ ใหป้ ลอ่ ยนกั เรียนวิ่งไปยังท่ปี ลอดภัยให้เรว็ ทสี่ ดุ
ข.นักเรยี นตาบอดมกั จะใส่รองเทา้ ชา้ จงึ ตอ้ งแก้ปญั หาใหน้ ักเรียนถอื รองเทา้ วิ่งไปกบั เพ่ือนทม่ี อบหมายให้

เป็นผู้ดแู ลก่อน
ค.ทันทที ่ีรู้สกึ ถึงแรงสนั่ สะเทือนจากเหตุแผ่นดนิ ไหว ใหค้ รูประจำชน้ั พานักเรียนออกจากหอ้ งเรียนไปยงั ที่

ปลอดภัยโดยเร็ว
ง.ระหวา่ งอพยพไปทป่ี ลอดภัย นกั เรยี นตอ้ งไมว่ ่งิ ไม่พูดคุย ไม่ผลักดนั ไมย่ ้อื แย่ง และต้องตง้ั ใจฟังคำสัง่

อย่างเคร่งครดั

6. ข้อใดไมถ่ ูกต้องในการจัดซ้อมเตือนภยั และอพยพในสถานศึกษา
ก.เปน็ การเตรียมความพร้อมดา้ นบคุ ลากร ทรัพยากร และระบบการปฏบิ ตั ิการตามบทบาทหน้าท่ี ที่ได้

กำหนดไวใ้ นแผนการจัดการสาธารณภัยในโรงเรียน
ข.การซอ้ มแผนจะช่วยประเมินความต้องการหรือความจำเป็นในการฝกึ อบรมทักษะเพม่ิ เติม
ค.การจัดซ้อมแผนเป็นชอ่ งทางในการสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนในการจัดการสาธารณภยั ใน

สถานศกึ ษา
ง.สถานศึกษาไม่สามารถซ้อมแผนเองได้ จำเป็นต้องให้หนว่ ยงานท่เี ชยี่ วชาญด้านการป้องกันภัยมาจัด

กระบวนการซ้อมให้
7. สงิ่ ท่ีจำเปน็ ต้องประเมนิ หลังการซ้อมแผนเตือนภยั และอพยพในสถานศึกษา

ก.อุปสรรคในการสั่งการ
ข.การปฏบิ ัติหน้าทแี่ ละการประสานงานระหว่างคณะกรรมการฝ่ายตา่ งๆ
ค.พฤตกิ รรมความปลอดภัยทพี่ งึ ประสงค์ของนักเรยี น
ง.ถกู ทุกขอ้
8. ในสถานการณ์ฝนตกหนักและเริ่มมนี ้ำปา่ ไหลหลากตามถนนหนทาง ครูไมส่ ามารถปล่อยนกั เรียนกลบั บ้าน
ได้ คณะกรรมการจดั การภยั พิบัติในสถานศึกษาควรตดั สินใจอย่างไร
ก.โทรแจ้งผู้ปกครองให้มารับนักเรยี น (Safe family reunification)
ข.ให้หลบภยั และพกั พิงในอาคารเรยี น (Shelter-in-place)
ค.ใหอ้ พยพออกจากอาคาร ((Building evacuation)
ง.การปดิ การเข้าออกเพือ่ ปอ้ งกันเหตุรา้ ย (Lockdown)
9. หน่วยงานใดทส่ี ถานศึกษาจะขอความช่วยเหลอื ในการเผชิญเหตฉุ กุ เฉินเป็นอนั ดับแรก
ก.หนว่ ยแพทย์ฉุกเฉนิ ในฐานะผู้เชยี่ วชาญด้านการช่วยชวี ติ
ข.องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น ในฐานะผอู้ ำนวยการกองป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั
ค.ศนู ยป์ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยเขต ในฐานะหน่วยงานหลกั ในการป้องกันภยั
ง.สภากาชาดไทย ในฐานะหน่วยงานหลักในการบรรเทาทุกข์
10. แนวทางในการจดั ต้ังศนู ย์พักพงิ ชว่ั คราวในสถานศึกษา ไดแ้ ก่
ก.กระทรวงศึกษาธิการไมอ่ นุญาตให้ใชส้ ถานศึกษาเป็นศนู ย์พกั พิงชว่ั คราวแต่จัดทำแผนจดั การความเสย่ี ง
ภัยพบิ ัตใิ นชมุ ชนและโรงเรียนแทน
ข.หากชุมชนจำเปน็ ต้องใช้สถานศกึ ษาเป็นศูนย์พกั พิงชั่วคราว ควรออกแบบการใชพ้ นื้ ท่ตี าม
มาตรฐานสากลและจัดหาวัสดุอุปกรณท์ ่จี ำเปน็ โดยไม่เบียดบังงบประมาณสำหรับการศึกษา
ค.การจัดตงั้ ศนู ย์พกั พงิ ชั่วคราวจำเป็นจะตอ้ งมีผอู้ ำนวยการสถานศึกษา ครูและบุคลากรของสถานศกึ ษา
เปน็ คณะกรรมการบริหารจดั การศูนย์เพราะเปน็ เจา้ ของสถานที่
ง.เมอื่ ใชส้ ถานศึกษาเปน็ ศูนย์พกั พงิ ชั่วคราว จะตอ้ งงดการเรียนการสอนเพ่ือความปลอดภัยของนกั เรียน

11. ขอ้ ใดกลา่ วถกู ต้องเก่ียวกับการจดั พื้นทใี่ ชส้ อยของศูนย์พกั พงิ ชว่ั คราวในสถานศึกษา
ก. พนื้ ทสี่ ำหรับปฐมพยาบาลในศูนย์พักพิงชัว่ คราวจะตอ้ งมีการก้นั ห้องหรือมีฉากก้ัน และมีการแยกพ้ืนท่ี

นอนพักระหว่างเด็กและผูใ้ หญ่ ผู้ชายและผู้หญงิ
ข. มาตรฐานสำหรับพืน้ ทน่ี อนพกั ผ่อนต่อคนคือ 4*3.5 เมตร
ค. ควรจดั พน้ื ทีใ่ ห้คนชราและคนพกิ ารอยูร่ วมกันเพือ่ ความสะดวกในการดแู ลของแพทยแ์ ละพยาบาล
ง. ควรจดั สรรพ้ืนทใ่ี ห้ผปู้ ระสบภยั ตามลำดบั การลงทะเบยี น

12. ขอ้ ใดเป็นการดำเนนิ การตามมาตรการคุ้มครองเด็กในสถานการณภ์ ยั พิบตั ิ
ก. แมว้ า่ จะเกดิ น้ำท่วมในชุมชน คณุ ครูสมชายก็จัดการเรียนการสอนอย่างต่อเน่ืองเพ่ือป้องกนั ไม่ให้เด็ก

ตอ้ งตกอยใู่ นสภาวะอนั ตราย เชน่ ถกู ลอ่ ลวง ถกู เอาเปรียบ ถูกใชแ้ รงงาน
ข. คุณครูสมศรสี นับสนุนให้เดก็ นกั เรยี นชัน้ ป. 6 มีส่วนร่วมในการจัดการศนู ย์อพยพ ท้งั การวิเคราะห์

ปัญหาและการแสดงความเห็นในการแกไ้ ขปญั หา เพ่ือสรา้ งความรสู้ ึกท่ดี ีและความภูมใิ จในบทบาทของตน
ค. คณุ ครูสมหญิงสอนนักเรยี นเรือ่ งการดูแลสุขอนามัย ความเสีย่ งภยั ท่ีเกดิ ขึน้ การดูแลตัวเองให้ปลอดภยั

จากภัยสงั คม
ง. ถกู ทุกข้อ

13. แนวทางแก้ไขความเครียดของเด็กในภาวะฉุกเฉินท่ีครูสามารถทำได้ คือ
ก. ใหผ้ ู้ปกครองดูแลเดก็ อยา่ งใกลช้ ิด ไม่ให้ออกนอกบ้าน
ข. ใหเ้ ดก็ ระบายอารมณห์ รอื แสดงออกกับเพื่อนนักเรียน
ค. รับฟงั ความรู้สกึ และการแสดงออกของเด็กอยา่ งตั้งใจ ไม่ตัดสินหรอื บังคบั
ง. ใหเ้ ด็กพักการเรียนช่ัวคราวเพ่ือสงบสติอารมณ์

14. วธิ ีการใดเปน็ การจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเน่ืองในสถานการณ์ภยั พบิ ตั ิ
ก. เปลี่ยนวธิ กี ารเรียน เปลย่ี นปฏทิ ินการศกึ ษา เปลย่ี นสถานที่เรียน
ข. ใช้วธิ ีการเรยี นการสอนอนื่ แทนการเข้าชน้ั เรยี น เชน่ ให้เรยี นท่ีบา้ น การเรยี นด้วยตนเอง และทำ

การบ้านทดแทน
ค. ถูกทกุ ขอ้
ง. ผดิ ทกุ ขอ้

15. ข้อใดเป็นทกั ษะในการเอาตัวรอดจากวาตภัย
ก. หมอบ ปอ้ ง เกาะ
ข. ออกหา่ งหนา้ ต่างประตูท่ีมีบานกระจก
ค. นงั่ ยองๆ ก้มหัว เอามือปิดหู
ง. กม้ ต่ำ เอาผ้าอดุ จมูกแล้วคลานออกมาตามทางเดิน

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น บทท่ี 3

1. ข้อใดคือบทบาทของคณะกรรมการจดั การภัยพิบตั ิในสถานศึกษา

• ง.พยากรณ์อากาศ ประกาศเขตภัยพบิ ัติ จัดฝกึ อบรมกูภ้ ยั สงเคราะห์ผปู้ ระสบภยั
2. ในกระบวนการจดั ทำแผนการจัดการภัยพบิ ัตใิ นสถานศึกษา จะต้องให้ความสำคัญกับสง่ิ ใดเป็นอันดับแรก

• ค.การประเมินความเส่ียงภัย ความลอ่ แหลม ความเปราะบางและศักยภาพ
3. ข้อใดเป็นการประเมินความเปราะบางเชงิ โครงสรา้ ง

• ค.การเข้าถงึ สถานศกึ ษา เชน่ ประตทู างเข้า ถนน อาคารเรียน ร้ัว โครงหลงั คา กำแพง
4. ขอ้ ใดกล่าวถูกต้อง

• ก.การแจง้ เตือนภยั สามารถทำไดห้ ลายรปู แบบข้ึนอยู่กับบริบทของภยั และระยะเวลาในการเตรียม
ตวั

5. ข้อใดกล่าวถูกต้องเก่ยี วกับการอพยพนักเรียน

• ง.ระหวา่ งอพยพไปท่ีปลอดภัย นักเรยี นต้องไม่วิ่ง ไม่พดู คยุ ไม่ผลักดัน ไมย่ ื้อแยง่ และต้องตั้งใจฟงั
คำสัง่ อย่างเคร่งครัด

6. ข้อใดไมถ่ ูกต้องในการจดั ซ้อมเตือนภยั และอพยพในสถานศึกษา

• ง.สถานศึกษาไม่สามารถซ้อมแผนเองได้ จำเป็นตอ้ งใหห้ น่วยงานที่เชยี่ วชาญดา้ นการป้องกนั ภัยมา
จัดกระบวนการซ้อมให้

7. ส่ิงที่จำเปน็ ต้องประเมินหลังการซ้อมแผนเตือนภัยและอพยพในสถานศึกษา

• ง.ถกู ทุกข้อ
8. ในสถานการณฝ์ นตกหนกั และเร่ิมมนี ำ้ ปา่ ไหลหลากตามถนนหนทาง ครูไมส่ ามารถปล่อยนกั เรยี นกลับบา้ น
ได้ คณะกรรมการจดั การภัยพิบัตใิ นสถานศึกษาควรตดั สินใจอย่างไร

• ข.ให้หลบภัยและพักพงิ ในอาคารเรียน (Shelter-in-place)
9. หน่วยงานใดทีส่ ถานศึกษาจะขอความชว่ ยเหลอื ในการเผชิญเหตฉุ กุ เฉนิ เป็นอันดับแรก

• ข.องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในฐานะผอู้ ำนวยการกองปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย
10. แนวทางในการจัดตัง้ ศนู ย์พักพิงช่วั คราวในสถานศึกษา ได้แก่

• ข.หากชมุ ชนจำเปน็ ตอ้ งใช้สถานศึกษาเป็นศูนย์พักพิงชวั่ คราว ควรออกแบบการใชพ้ ืน้ ท่ตี าม
มาตรฐานสากลและจัดหาวสั ดุอุปกรณ์ท่ีจำเปน็ โดยไม่เบยี ดบังงบประมาณสำหรับการศึกษา

11. ข้อใดกลา่ วถูกต้องเกยี่ วกับการจดั พืน้ ทใ่ี ชส้ อยของศูนย์พักพิงช่ัวคราวในสถานศึกษา

• ก.พ้ืนท่สี ำหรับปฐมพยาบาลในศูนยพ์ กั พิงชั่วคราวจะต้องมีการกน้ั ห้องหรือมฉี ากก้ัน และมีการแยก
พน้ื ที่นอนพักระหวา่ งเด็กและผใู้ หญ่ ผูช้ ายและผ้หู ญิง

12. ขอ้ ใดเป็นการดำเนินการตามมาตรการคมุ้ ครองเด็กในสถานการณ์ภัยพิบัติ

• ง. ถกู ทกุ ข้อ

13. แนวทางแก้ไขความเครียดของเด็กในภาวะฉกุ เฉินที่ครูสามารถทำได้ คือ
• ค. รับฟังความรูส้ กึ และการแสดงออกของเด็กอย่างตงั้ ใจ ไม่ตดั สินหรือบงั คับ

14. วิธกี ารใดเปน็ การจัดการเรยี นการสอนอยา่ งต่อเน่อื งในสถานการณภ์ ยั พบิ ัติ
• ค. ถกู ทุกข้อ

15. ขอ้ ใดเป็นทกั ษะในการเอาตวั รอดจากวาตภยั
• ข. ออกห่างหน้าต่างประตทู ่ีมีบานกระจก

บทที่ 4 การจดั เรียนการสอน

1.วตั ถุประสงค์
1.เพื่อใหเ้ ขา้ ใจเนื้อหาการจัดการเรยี นรตู้ ามหลักสูตรการลดความเส่ยี งภัยพิบัตแิ ละการปรับตวั เข้ากบั

สภาพอากาศเปลยี่ นแปลง
2.เพ่ือให้ครผู ูส้ อนและครูผู้ช่วยสามารถจัดกจิ กรรมเสริมหลักสูตรและพัฒนานักเรยี น
3.เพื่อใหเ้ ขา้ ใจกระบวนการพัฒนาสือ่ การเรียนการสอนและส่อื รณรงค์

2.หวั ข้อการเรยี นรู้
1. หลักการจัดการเรียนรเู้ รื่องการลดความเสย่ี งภัยพบิ ัติ
2. การจดั การเรียนการสอนเร่ืองจดั การภัยพบิ ตั ใิ นหลักสตู รแกนกลางฯ
2.1 ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3
2.2 ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 4-6
2.3 ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1-3
2.4 ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4-6
2.5 แหลง่ ขอ้ มูลและเน้ือหาเก่ียวกบั ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติ
2.6 การประเมินและวดั ผลการจัดการเรยี นการสอน
3. การจดั กิจกรรมเสริมสตู รและพัฒนาผู้เรียน
3.1 ทกั ษะชวี ติ life skill good practice
3.2 แนวทางจดั กิจกรรมเสรมิ หลกั สูตร
3.3 ตัวอย่างกจิ กรรมเสริมหลักสตู ร
4. บทบาทอาสาสมัครในสถานการณ์ภยั พิบัติ
5. แนวทางการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนและสือ่ รณรงค์

หวั ข้อ : หลกั การจดั การเรียนรเู้ รอ่ื งการลดความเส่ียงภัยพิบตั ิ
หลักการจัดการเรียนรู้เรื่องการลดความเสยี่ งภัยพิบตั ิ
หลกั การจดั การเรยี นรเู้ รื่องการลดความเสย่ี งภยั พบิ ตั ติ ้องมีองค์ประกอบ 5 มิติ ไดแ้ ก่
1. ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์และกลไกการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ ทั้งการศึกษาจากตำรา วิชาการและ
การศึกษาจากสภาพแวดล้อมจรงิ นอกห้องเรยี น
2. การเรียนรู้และฝึกฝนทกั ษะและข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิเพอ่ื ความปลอดภยั ในบรบิ ทของภัยต่าง ๆ
3. ความเขา้ ใจปจั จัยผลกั ดนั ท่ที ำให้เกิดความเสีย่ งและกลไกท่ที ำใหภ้ ัยธรรมชาติกลายเปน็ ภยั พิบัติ
4. สรา้ งศักยภาพในการลดความเสีย่ ง ไม่ว่าจะเป็นสถานศึกษา ชมุ ชน และกล่มุ สังคมตา่ ง ๆ
5. สรา้ งวฒั นธรรมแห่งความปลอดภยั (culture of safety) และการรู้รบั ปรบั ตัว (resilience) ในสถานศึกษา

หัวข้อ : การจัดการเรยี นการสอนเรือ่ งจดั การภัยพิบัติในหลักสูตรแกนกลางฯ
การจดั การเรียนการสอนเรอ่ื งจดั การภยั พบิ ตั ใิ นหลักสูตรแกนกลางฯ

เพ่ือให้สถานศึกษามีการจัดการเรียนการสอนเรื่องการลดความเส่ียงภัยพิบัติและการปรับตัวได้อย่าง
เหมาะสม ท้ังในและนอกหลักสูตร จึงได้มีการบรรจเุ นื้อหาเร่ืองการจดั การภัยพิบัติไว้ในหลักสตู รแกนกลางขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงได้มีการปรับเนื้อหาตลอดจนบริบทให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ
ของชุมชนและภูมิปัญญาท้องถ่ิน โดยจัดเป็นรายวิชาพื้นฐาน มีการสอดแทรกเนื้อหาด้านการลดความเสี่ยงภัย
พิบัติและการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศไว้ในกลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ สุขศึกษาและ
พลศึกษา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และสามารถบูรณาการข้ามกลุ่มสาระ และจัดเป็นรายวิชา
เพ่ิมเติม โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์และขอบเขตดังนี้
2.1 ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 – 3
วัตถุประสงค์การเรยี นรู้ ไดแ้ ก่

• ใหน้ กั เรียนมีความรู้ และความเขา้ ใจถึงอันตรายของภัยพบิ ัติและการรักษาชีวิตของตนเอง
• ให้นกั เรียนเรียนรู้วิธกี ารแจ้งเหตใุ ห้ครหู รือผปู้ กครองทราบ
• ใหน้ กั เรยี นรจู้ ักการสงั เกตการเปลีย่ นแปลงของสภาพอากาศ
• ใหน้ กั เรียนมีสว่ นรว่ มในการปรับสภาพแวดลอ้ มในทอ้ งถน่ิ

กลุม่ สาระการ ขอบเขตการเรยี นรู้ มาตรฐาน / ตัวชี้วดั
เรียนรู้

สขุ ศกึ ษา • พืน้ ฐานการป้องกนั และการหลีกเล่ียงจาก • ปฏบิ ัติตนตามกฎ กติกา ข้อตกลงและตาม
ภัย คำแนะนำ (พ 3.2 ป.1/2)

• การตระหนักรูส้ ิง่ ท่ีปลอดภัยและไม่ • ระบสุ งิ่ ท่ที ำใหเ้ กดิ อันตรายที่บ้าน โรงเรยี น
ปลอดภยั และการป้องกนั (พ 5.1 ป.1/1)

• การระมัดระวังตนจากสง่ิ ที่เป็นอันตราย • ปฏบิ ตั ติ นในการป้องกันอุบตั เิ หตทุ ี่อาจ
และสถานท่ีอนั ตราย เกิดขนึ้ ทางนำ้ และทางบก(พ5.1 ป.2/1)

• การปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมทัง้ ในการ • ปฏิบตั ิตนตามสญั ลกั ษณ์และปา้ ยเตือน
ซ้อมอพยพ และเวลาเกิดเหตุการณ์ ของสงิ่ ของหรือสถานทีท่ ่เี ป็นอันตราย (พ
ฉกุ เฉนิ 5.1 ป.2/4)

• การขอความช่วยเหลือด้วยวิธกี ารต่างๆ • อธิบายสาเหตุอนั ตรายวธิ ปี ้องกัน อัคคีภยั
• การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ และแสดงการหนีไฟ (พ 5.1 ป.2/5)

• ปฏิบัติตนเพอ่ื ความปลอดภัยจากอบุ ัตเิ หตุ
ในบา้ นโรงเรยี นและการเดินทาง(พ 5.1ป.
3/1)

• แสดงวิธขี อความชว่ ยเหลือ จากบคุ คล
และแหลง่ ตา่ งๆเมื่อเกิดเหตุรา้ ยหรอื
อบุ ัติเหตุ (พ 5.1ป.3/2)

• แสดงวิธีปฐมพยาบาลเม่ือไดร้ ับบาดเจ็บ
(พ 5.1ป.3/3)

ภาษาไทย • การถ่ายทอดเรื่องราว • พูดแสดงความคดิ เห็นและความรู้สึกจาก
เรอ่ื งท่ีฟังหรอื ดู(ท3.1 ป.1/3, ป.2/5, ป.
แสดงความคดิ เหน็ และความรู้สึก 3/4)
ในเหตุการณ์ท่ีพบเห็น
• พูดสอ่ื สารไดช้ ัดเจนตามวตั ถุประสงค์ (ท
• การเรียนร้ปู า้ ยประกาศสญั ลักษณก์ าร 3.1ป.1/4,ป.2/6,ป.3/5)
เตอื นภยั อนั ตราย
• บอกความหมายของสญั ลักษณ์ทีพ่ บเหน็
ในชีวิตประจำวนั (ท 1.1ป.1/ 7)

กลมุ่ สาระการ ขอบเขตการเรยี นรู้ มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด
เรียนรู้

สงั คมศึกษา • ธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงของสภาพ • มีสว่ นร่วมในการจัดระเบยี บส่ิงแวดล้อมที่
ภมู อิ ากาศ บ้านและชั้นเรียน (ส 5.2ป.1/3)

• การวเิ คราะห์ปัญหาท่ีเป็นสาเหตุการเกิด • สงั เกตและบอกการเปลี่ยนแปลงของ
ภยั พิบัตธิ รรมชาตใิ นท้องถนิ่ สภาพอากาศในรอบวัน (ส 5.1ป.1/5)

• การทำกิจกรรมทำแผนท่เี สยี่ งภัย • แยกแยะสงิ่ ตา่ งๆรอบตวั ที่เกดิ ข้นึ เองตาม
• พน้ื ฐานการบำเพ็ญตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์ตอ่ ธรรมชาตแิ ละท่มี นุษย์สรา้ งขึ้น (ส 5.1 ป.
1/1)
สังคม
• ความเข้าใจและการปฏบิ ตั ติ นเปน็ • บอกส่งิ ตา่ งๆทีเ่ กดิ ตามธรรมชาติ ที่ส่งผล
ตอ่ ความเปน็ อย่ขู องมนษุ ย์ (ส 5.2
พลเมอื งดี ป.1/2)

• ตระหนักถึงการเปลีย่ นแปลงของ
สิ่งแวดลอ้ มในชุมชน (ส 5.2 ป.3/5)

• มีส่วนร่วมในการฟน้ื ฟูปรับปรุงสง่ิ แวดลอ้ ม
ในโรงเรียนและชุมชน ( ส 5.2 ป.2/4)

• ระบบุ ทบาทหน้าท่ขี องคนในชุมชนในการ
มสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมต่างๆ

(ส 2.2 ป.3/1)

• เขยี นแผนผงั งา่ ยๆ เพ่ือแสดงตำแหนง่ ท่ตี งั้
ของสถานท่ีสำคญั ในบริเวณโรงเรียนและ
ชุมชน (ส 5.2 ป.3/2)

วทิ ยาศาสตร์ • การรณรงค์เรื่องการใช้ทรัพยากรใน • ระบกุ ารใชท้ รัพยากรธรรมชาตทิ ่กี ่อให้เกิด
ทอ้ งถน่ิ ปัญหาสงิ่ แวดลอ้ มในท้องถนิ่ (ว 2.2 ป.
3/2)
• กระบวนการเปล่ียนแปลง สถานะของ
อุณหภมู ิโลกที่ก่อใหเ้ กดิ สภาวะโลกร้อน • ทดลองและอธบิ ายผลของการ
และปรากฏการณต์ า่ งๆ เชน่ การไหลของ เปลีย่ นแปลงทเ่ี กดิ ขึ้นกับวัสดุเมอื่ ถูกแรง
กระแสนำ้ และความเสี่ยงภัยพิบัติ กระทำหรือทำให้ร้อนข้ึนหรือเยน็ ลง (ว
3.2 ป.3/1)

2.2 ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4-6
วัตถุประสงค์การเรยี นรู้ ไดแ้ ก่

• ให้นกั เรยี นเรยี นมีการปฏบิ ัติตนได้อยา่ งเหมาะสม สามารถป้องกันตนเอง ดแู ลตนเองและผู้อืน่ ให้
ปลอดภยั ได้เม่ือเกดิ เหตุการณ์ฉุกเฉิน

• ให้นักเรยี นมีสว่ นร่วมรณรงค์ในการใช้ทรพั ยากรเพ่อื พทิ ักษ์สิ่งแวดลอ้ ม
• ให้นกั เรยี นศึกษาสาเหตุการเกิดภัยธรรมชาตแิ ละรู้จกั การเตรยี มพร้อม

กลุ่มสาระการ ขอบเขตการเรียนรู้ มาตรฐาน / ตวั ช้ีวดั
เรียนรู้
• อธบิ ายการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมใน
สงั คมศึกษา • การวเิ คราะห์การเปลย่ี นแปลง ทอ้ งถิ่นและผลจากการเปลย่ี นแปลง (ส 5.2
สภาพแวดลอ้ ม ผลกระทบของการ ป. 4/2)
เปลี่ยนแปลง และการนำเสนอแนวคดิ
การอนรุ ักษ์ • มสี ่วนรว่ มในการอนรุ ักษ์สิ่งแวดล้อมในจังหวดั
(ส 5.2 ป. 4/3)
• การมสี ่วนรว่ มในการอนุรกั ษ์
สง่ิ แวดล้อมในท้องถิ่น • นำเสนอตัวอยา่ งที่สะท้อนให้เหน็ ผลจากการ
รักษาและการทำลายสภาพแวดลอ้ มและเสนอ
• การวิเคราะหส์ าเหตุการเกิดภัยพิบตั ิ แนวคดิ ในการรักษาสภาพแวดลอ้ มในภมู ภิ าค
ธรรมชาติในทอ้ งถ่นิ (ส 5.2 ป. 5/3)

• การขอความช่วยเหลือในขณะเกิดภัย • อธิบายโครงสรา้ ง อำนาจ หน้าท่ี และ
หรอื ภายหลงั เกิดภยั ความสำคญั ของการปกครองส่วนทอ้ งถิ่นใน
การช่วยเหลอื และฟืน้ ฟสู ภาพภายภายหลังการ
• การทำแผนที่เสี่ยงภยั แสดงบริเวณท่ี เกดิ ภัย (ส 2.2 ป. 5/1)
ปลอดภัยและไม่ปลอดภยั
• ใช้เครือ่ งมือทางภมู ิศาสตร์ เช่น แผนท่ี ระบุ
• กจิ กรรมอาสาสมคั รในโรงเรียน ลกั ษณะสำคัญทางกายภาพและสังคมของ
ประเทศและอธิบายความสมั พนั ธ์ระหว่าง
ลักษณะทางกายภาพกบั ปรากฏการณ์ทาง
ธรรมชาตขิ องประเทศ (ส 5.1 ป. 6/1,2 )

กลมุ่ สาระการ ขอบเขตการเรียนรู้ มาตรฐาน / ตัวชี้วดั
เรียนรู้

วิทยาศาสตร์ • สาเหตกุ ารเกดิ ดนิ ถล่ม • อธิบายและจำแนกประเภทของหนิ โดยใช้
• กระบวนการเปลย่ี นแปลงของผิวโลก ลักษณะของหิน สมบตั ขิ องหินเป็นเกณฑ์และ
การเปลย่ี นแปลงของหนิ รวมท้ังนำความรู้ไปใช้
และภายในโลกทีเ่ ปน็ สาเหตุของธรณี ประโยชน์ (ว 6.1ป. 6/1)
พิบตั ิ
• กระบวนการไหลของกระแสน้ำและ • สบื ค้นและอธบิ ายธรณีพบิ ัติท่ีมีผลต่อมนษุ ย์
ความเสี่ยงในการเกดิ อทุ กภัย และสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น

(ว 6.1ป. 6/3)

• ทดลองและอธิบายการเกิดวัฏจักรน้ำ (ว 6./2
ป.5 /2)

สุขศกึ ษา • ทักษะในการปอ้ งกันตัวและเห็นคุณค่า • แสดงพฤตกิ รรมในการป้องกันและแก้ไข
ของความปลอดภยั ปญั หาสิง่ แวดล้อมทมี่ ผี ลตอ่ สุขภาพ (พ 4.1ป.
6/1)
• การหลีกเล่ยี งปัจจัยเส่ียงท่ีทำให้เกดิ
อนั ตราย • วเิ คราะหผ์ ลกระทบจากความรุนแรงของภัย
ธรรมชาตแิ ละระบวุ ธิ ีปฏิบัติตนใหป้ ลอดภยั
จากภยั ธรรมชาติ (พ5.1ป. 6/1,2)

2.3 ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1-3
ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ต้องเพ่ิมรายละเอียดเน้ือหามากยิ่งข้ึน และรูปแบบการเรียนการสอน

ต้องมีความเป็นรูปธรรมมากข้ึน ในระดับนี้ควรมีเป้าหมายท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการปฏิบัติตนในการช่วยเหลือ
สังคม เช่น กจิ กรรมอาสาสมคั ร กจิ กรรมพีส่ อนน้อง การสรา้ งแบบจำลองภยั พิบัติ การเตรยี มความพร้อมรับมือ
กับภัยอยา่ งเหมาะสม ทักษะการปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้

กลมุ่ สาระการ ขอบเขตการเรยี นรู้ มาตรฐาน / ตัวช้ีวดั
เรียนรู้

สงั คมศึกษา • การมีสว่ นรว่ มและบทบาท • เหน็ คณุ ค่าในการปฏบิ ัตติ นตามสถานภาพ บทบาทหน้าที่ใน
ในกจิ กรรมพฒั นาสังคม ฐานะพลเมืองดีตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย (ส 2.1 ม. 2 / 2)

• การวิเคราะห์และสรุป • วิเคราะหเ์ ช่ือมโยงสาเหตุแนวทางปอ้ งกันภัยธรรมชาติและการ
เหตกุ ารณภ์ ัยพบิ ัตโิ ดยใช้ ระวังภัยที่เกดิ ขึ้นในประเทศไทย ทวีปเอเชีย ฯลฯ (ส 5.1ม. 1
ขอ้ มลู สารสนเทศ / 3)

• ประวัตทิ างธรณีวิทยาและ • วเิ คราะหเ์ รื่องราวเหตุการณ์สำคัญทางประวตั ิศาสตร์ได้อยา่ ง
การเกิดภยั ในอดีต มเี หตผุ ลตามวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ (ส 4.1 ม. 3 /1)

วิทยาศาสตร์ • สาเหตกุ ารเกดิ การเกิดเปน็ • สงั เกต วิเคราะหแ์ ละอภิปรายการเกิดปรากฏการณ์ทางลมฟา้
ภยั พบิ ตั ิ ดนิ ถล่มหรือหินพงั อากาศทม่ี ผี ลต่อ มนษุ ย์การเกิดเปน็ ภยั พบิ ตั ิ (ว 6. ม. 1 / 3)

• ทักษะในการสืบค้น • ทดลองและอธิบายความสำพันธร์ ะหว่างอุณหภมู ิ ความชนื้
กระบวนการ และความกดอากาศทม่ี ีผลต่อปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ
(ว 6.1ม. 1 / 2)
ต่างๆ ทม่ี ผี ลตอ่ การเปลีย่ นแปลง
ภูมิอากาศและภูมิประเทศ • สบื คน้ สรา้ งแบบจำลองและอธบิ ายกระบวนการผุพัง การ
กร่อน การพัดพาและผลของกระบวนการดังกล่าว (ว 6.1ม. 2
• การสื่อสารสง่ิ ทเ่ี รียนรแู้ ละ / 9,10)
การจดั ทำสอ่ื การเรียนรู้

กล่มุ สาระการ ขอบเขตการเรียนรู้ มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
เรยี นรู้
• ทักษะในการลดความเสี่ยง • อธบิ ายวิธีการหลกี เลี่ยงพฤตกิ รรมเส่ยี งและสถานการณเ์ สยี่ ง
สุขศกึ ษา จากภยั พิบัติ (พ 5.1 ม. 2 / 2)

• ทกั ษะการปฐมพยาบาล • แสดงวิธปี ฐมพยาบาลและเคลื่อนย้ายผปู้ ว่ ยอยา่ งปลอดภัย (พ
เช่น วธิ ีหา้ มเลือด พนั แผล 5.1ม. 1 / 1)
และปม๊ั หวั ใจ
• ใช้ทกั ษะชีวติ ในการป้องกันตนเองและหลีกเลย่ี งสถานการณ์
• ทักษะในการเตรยี มความ คับขนั ท่ีอาจนำไปส่อู ันตราย (พ 5.1ม. 2 / 3)
พรอ้ มรบั มอื กบั ภัย

2.4 ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4-6
วัตถุประสงค์การเรยี นรู้ ได้แก่

• สง่ เสริมให้นกั เรียนมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมเตรียมความพร้อมรับมอื กับภัยพิบัตโิ ดยใช้ทักษะในเชิงเทคนคิ
เชน่ การกู้ภยั การแจง้ เตือน เป็นต้น

• การปฏบิ ตั ติ นเปน็ ส่วนหนงึ่ ของครอบครวั โรงเรยี นและชมุ ชนในการดูแลและเฝ้าระวังในความ
ปลอดภัย

กลุม่ สาระการ ขอบเขตการเรยี นรู้ มาตรฐาน / ตัวชีว้ ดั
เรยี นรู้
• วเิ คราะหอ์ ิทธิพลของสภาพภูมศิ าสตร์ทที่ ำใหเ้ กิด
สังคมศึกษา • ความรู้ด้านอุตนุ ิยมวทิ ยา ปญั หาทางกายภาพหรือภยั พิบตั ิทางธรรมชาตใิ น
• การวิเคราะหป์ ระวัติการเกดิ ภัย ประเทศไทยและภูมภิ าคต่างๆ (ส 5.1ม.4 - 6 /2)
• การรณรงค์แก้ไขปญั หา
• ประเมนิ การเปลย่ี นแปลงของโลกวา่ เป็นผลจากการ
สง่ิ แวดล้อม กระทำของมนษุ ยห์ รือธรรมชาติ (ส 5.1ม.4 - 6 /4)

• มสี ่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและดำเนินชวี ิตตามแนว
ทางการอนรุ ักษ์สง่ิ แวดลอ้ ม(ส 5.2ม.4 - 6 /5)

กลุ่มสาระการ ขอบเขตการเรียนรู้ มาตรฐาน / ตัวชว้ี ดั
เรียนรู้

วิทยาศาสตร์ • เพ่ือศึกษาสาเหตุการเกิดภัยพิบัติ • วิเคราะห์สาเหตขุ องปัญหาสง่ิ แวดล้อมและ
• มที กั ษะในการสบื ค้นและการทำ ทรพั ยากรธรรมชาติในระดับท้องถน่ิ ระดบั ประเทศ
และระดับโลก (ว 2.2 ม.4 - 6 /1)
โครงงานด้านการเปลย่ี นแปลงทาง
ธรณีวิทยา เพอ่ื ส่ือสารสงิ่ ทเ่ี รียนรู้ • อภปิ รายแนวทางในการป้องกันแกไ้ ขปญั หาปญั หา
ให้เห็นเป็นรูปธรรม ส่งิ แวดล้อม(ว 2.2 ม.4 - 6 /2)

• วางแผนและดำเนินการเฝ้าระวัง อนรุ กั ษ์และพัฒนา
สิ่งแวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาติ(ว 2.2 ม.4 - 6
/3)

• สืบคน้ ทดลอง เลยี นแบบ และอธบิ ายกระบวนการ
เปล่ยี นแปลงทางธรณภี าคของโลก (ว 6.1ม.4 - 6
/3,4)

สขุ ศกึ ษา • ทักษะในการจัดทำแผนลดความ • วางแผน กำหนดแนวทางลดอุบัตภิ ัยและการสรา้ ง
เสยี่ งจากภัยพบิ ัติ เสริมความปลอดภยั ในชมุ ชน (พ 5.1 ม.4 - 6 /4)

• ทกั ษะและความสามารถในการ • มีสว่ นร่วมในการสรา้ งเสรมิ ความปลอดภยั ในชมุ ชน (พ
เผชญิ กบั สถานการณภ์ ัยพบิ ัติ 5.1 ม.4 - 6 /5)

• ทกั ษะการปฐมพยาบาล เชน่ วิธี • ใช้ทักษะชวี ิตในการตัดสนิ ใจแกป้ ัญหาในสถานการณ์
ห้ามเลือด พันแผล และป๊มั หัวใจ เส่ยี งและความรนุ แรง (พ 5.1ม.4 - 6 /6)

• แสดงวธิ กี ารชว่ ยเหลือชวี ติ คนอย่างถูกวธิ (ี พ 5.1ม.4 -
6 /7)

2.5 แหล่งขอ้ มลู และส่อื การสอนเก่ียวกับภัยพิบัตธิ รรมชาติ
นอกเหนือจากเน้อื หาในหลกั สตู รแกนกลางแลว้ ครูผูส้ อนสามารถสืบค้นเนือ้ หาสาระเพ่ิมเติมได้จาก
แหลง่ ข้อมูลต่อไปนี้
หน่วยงาน

• กรมอุตนุ ยิ มวทิ ยา https://www.tmd.go.th/
• TK Park สื่อการเรยี นรู้อิเลก็ ทรอนิกส์ในรปู แบบ E-book Audio book และ Applica-

tion https://www.tkpark.or.th/tha/digital_content
• ศนู ยเ์ ตือนภัยพิบตั แิ ห่งชาติ คลังความรูเ้ พื่อการเตอื นภยั http://www.ndwc.go.th/

• กรมทรัพยากรธรณี สือ่ เผยแพรค่ วามรู้ธรณพี ิบตั ิ
ภัย http://www.dmr.go.th/ewt_news.php?nid=6816

• กองเผยแพรแ่ ละประชาสัมพันธ์ กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั หนงั สือชุดเรียนรู้สาธารณภัย
(http://122.155.1.141/inner.PRDPM-6.53/cms/menu_1762/603.1/)

หนังสืออา้ งอิง
• หนังสือแนวทางการจดั การเรียนร้เู ร่ืองการลดความเสยี่ งจากภัยพบิ ตั ิและการรับมือกับความ
เปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ (อ่านเพ่ิมเตมิ )
• หนงั สอื จากเวบไซตท์ ักษะชีวติ ของ สพฐ.เร่ืองภยั พบิ ัตธิ รรมชาติ
• สารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชน

ส่ือวิดีทัศน์
คลังส่ือการสอนของ สพฐ. (DLIT Resources) ซ่ึงเปน็ วดิ โี อการสอนหัวข้อท่ยี ากของ 5 กลุม่ สาระฯ ตอนละ
50 นาที สำหรับห้องเรียนที่ขาดครตู รงกลมุ่ สาระฯ และนกั เรยี นทต่ี อ้ งการทบทวน

• หอ้ งเรยี นแห่งคุณภาพ (DLIT Classroom)
• สื่อวิดที ัศนใ์ ห้ความร้เู ก่ียวกบั การรับมอื อทุ กภัยจากองค์กรช่วยเหลอื เดก็ เรอื่ งตุ่นน้อยต่ืนตัว จาก

องค์กรชว่ ยเหลอื เด็ก

2.6 การประเมนิ และวัดผลการจัดการเรียนการสอน
ตามคมู่ ือการจัดหลักสตู รการเรียนการสอนเรื่องภัยพบิ ตั แิ ละการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศของ สพฐ.

ได้กำหนดตัวช้วี ดั คณุ ภาพนกั เรียนไวด้ งั นี้
1. ด้านความรูค้ วามเขา้ ใจ ประเมนิ ผลจากการตอบคำถามและการทำงานกลมุ่
2. ด้านทักษะ ประเมินผลจากผลงาน กระบวนการหรือขั้นตอนการปฏิบัติ พฤติกรรมในการทำงานกลุ่ม
และการนำเสนอผลงาน โดยพิจารณาเนื้อหา ความถูกต้อง ความสอดคล้อง ความคิดสร้างสรรค์
ทักษะการนำเสนอ
3. ด้านเจตคติ ประเมินจากความรับผิดชอบ ความเสียสละ ความมีระเบียบ การตรงต่อเวลา การมีส่วน
รว่ มในกระบวนการกลุ่ม

ตัวชว้ี ัดคุณภาพครูท่ีจดั การเรียนการสอนเรื่องภยั พิบตั ิฯ มีดังน้ี
1. ครมู คี วามรู้เกีย่ วกบั การลดความเสยี่ งจากภยั พิบตั ิและการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ
2. ครใู ช้เทคนคิ ทหี่ ลากหลายในการจดั การเรยี นรู้ โดยเฉพาะวธิ กี ารที่ให้เด็กเป็นศูนยก์ ลางและมีสว่ นร่วม
3. ครูสามารถแลกเปลยี่ นประสบการณใ์ นการจดั การเรยี นรกู้ ับสถานศกึ ษาอ่ืน ๆ

ตัวช้ีวัดคณุ ภาพผบู้ ริหารในการบริหารจดั การความปลอดภัยรอบดา้ นในสถานศกึ ษา มีดงั นี้
1. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ในการจัดการศึกษาเรื่องการการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและการรับมือกับการ
เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
2. ผู้บรหิ ารมคี วามสามารถในการบริหารจัดการภยั พิบัติภายใตส้ ภาวการณก์ ดดันอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

3. ผู้บริหารมีความสามารถในการประสานภาคีเครือข่ายเพ่ือความร่วมมือในการจัดการเรียนรู้ (เช่น
สถานศกึ ษา องคก์ รเอกชน หน่วยงานราชการ ฯลฯ)

ผู้บรหิ ารมีความสามารถในการนเิ ทศตดิ ตามผลการดำเนนิ งาน

หวั ข้อ : การจัดกจิ กรรมเสริมสูตรและพัฒนาผู้เรียน
3.1 การสอนทักษะชีวิต (life skill)

การศึกษาในศตวรรษที่ 21 เป็นการศึกษาที่มีจุดเน้นอยู่ตรงการสร้างให้เยาวชนมีทักษะชีวิต ทักษะการ
เรียนรู้และทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อที่ว่าพวกเขาจะสามารถอยู่รอดปลอดภัยต่อไปได้ท่ามกลาง
วิกฤตการณ์ของโลก ทั้งที่เกิดจากปัญหาทางสังคมและภัยพิบัติทางธรรมชาติที่นับวันก็มีแต่จะทวีความรุนแรง
ยิ่งข้ึนทุกวัน การสร้างนวตกรรมการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมทักษะชีวิตจึงเป็นทางเลือกหน่ึงในการสร้างเด็กและ
เยาวชนที่รู้เท่าทันภัยและอยู่รอดปลอดภัย ปัจจัยแห่งความสำเร็จนำนวัตกรรมการเรียนรู้เก่ียวกับภัยพิบัติไป
ใชส้ ำคัญ 3 ประการ คือ

• ก่อนการนำไปใช้ ครูสอนต้องหาความรู้อย่างลึกซึ้งและละเอียด และหากเป็นไปได้ ผู้เรียนควรได้
เรยี นรปู้ ระสบการณ์ของผ้ปู ระสบภัยโดยตรง

• การออกแบบการเรียนรู้ต้องเป็นไปอย่างสนุกสนาน นักเรียนจะมีความยินดีในการเรียนรู้เร่ืองเดิมได้
บ่อยครัง้

• ส่อื ประกอบการเรียนรตู้ อ้ งออกแบบให้น่าสนใจและง่ายต่อการจดจำ
ตัวอย่างเช่น ผู้สอนสามารถสร้างการเรียนรู้ในหัวข้อผู้ประสบภัยใช้เทคนิคอะไรในการรับมือภัยพิบัติบ้าง
แล้วนำมาทำให้น่าสนใจโดยประมวลออกมาเป็นเกม ละครหรือกลายเป็นสื่อในการเรียนการสอนต่าง ๆ ที่จะ
ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการสั่งสมความรู้เรื่องการใช้ชีวิตระหว่างประสบภัยพิบัติก่อนที่จะได้เผชิญหน้ากับเหตุการณ์
จริง โดยโรงเรียนมีหน้าที่หลักในการเชื่อมโยงความรู้พื้นฐานเข้ากับความสามารถใน การจัดการเม่ือเกิด
เหตุการณ์ภัยพิบัติ เช่น การนับจำนวนผู้บาดเจ็บ การทำแผนท่ีเสี่ยงภัยของโรงเรียน การทำกราฟ การซ้อม
อพยพ เปน็ ต้น
3.2 แนวทางการจดั กจิ กรรมเสริมหลกั สูตร

ในการจัดกิจกรรมห ลักและกิ จก รรมเสริม เร่ืองการลด ความ เสี่ยงภั ยพิ บั ติแล ะการรับ มือกั บการ
เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศควรเน้นการมีส่วนร่วมและการใช้ความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนในการสร้าง
กิจกรรม เน้นการใช้ความคิดเชิงวิเคราะห์เพ่ือจะทำให้เด็กและเยาวชนเกิดความตระหนักในประเด็นปัญหา
คิดค้นการแก้ไขปัญหาท่ีถูกต้องเพ่ือให้เกิดการเปล่ียนแปลง และสร้างภาวะผู้นำ กิจกรรมเสริมหลักสูตร เช่น
กิจกรรมอาสาสมัครกส็ ามารถใช้เปน็ ส่วนหน่ึงในการช่วยสร้างเครือขา่ ย ระดมทรัพยากร ความรู้ จากชุมชน มา
ช่วยในการลดความเสย่ี งภัยพบิ ตั ิ

สำหรับวิธีการจดั กิจกรรมนั้น อาจจะเป็นการนำประเด็นเรอื่ งภัยพิบัติเข้าไปสอดแทรกในกิจกรรมเดิม
ทม่ี ีอยู่แลว้ เช่น ในงานกีฬาสี งานนิทรรศการ กจิ กรรมชมรม กล่มุ อาสาสมัคร การทำโครงการระยะสน้ั การจัด
เวทเี ผยแพรค่ วามรู้ในชว่ งพกั กลางวัน การสอดแทรกทกั ษะการเอาตวั รอดในวชิ าลูกเสือเนตรนารี เป็นตน้ โดย

ครมู ีหนา้ ท่ชี ว่ ยช้ใี ห้เห็นถงึ ความสอดคล้องของกิจกรรมนั้น ๆกับประเดน็ ด้านการลดความเส่ียงภยั พบิ ตั ิและการ
รับมือกบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ
ประเดน็ ทส่ี ามารถสอดแทรกไปในการเรียนการสอนและการทำกจิ กรรมเสริมหลกั สูตร ได้แก่

• การสำรวจชมุ ชนรอบสถานศึกษา เพ่ือความเขา้ ใจทางสังคมและการระบุประเดน็ ปญั หาความเสย่ี งภยั
• การช่วยกันสอดสอ่ งคน้ หาจุดเสย่ี งภัย เช่น บอ่ น้ำ ทางลาด ถนนท่ีมหี ลุมบ่อ ทางอับสายตา จุดท่ี

อาจจะเกิดเพลงิ ไหม้
• การทำโครงการขยะแลกส่ิงของ เชน่ ต้นไม้ ไข่ตม้ ทำโครงการธนาคารรีไซเคลิ วสั ดเุ หลือใช้
• การประหยัดน้ำ การช่วยกันสอดสอ่ งดูแลก๊อกน้ำ ท่อน้ำ ท่อประปา ถังเก็บน้ำ
• การใชค้ วามคิดประดิษฐส์ ่ิงของต่าง ๆเพื่อชว่ ยประหยดั พลังงาน
• การปลูกตน้ ไม้ พืชคลุมดิน เพื่อป้องกันการเสียหายพังทลายของหน้าดนิ
• การทำสวนครวั ลอยน้ำในพนื้ ทีน่ ้ำทว่ ม การปลูกพืชอาหารเพื่อใชเ้ ป็นแหลง่ อาหารเวลาเกิดอทุ กภัย
• การลดการใชส้ ารเคมี ถุงพลาสติค
• การฝกึ ให้ลา้ งมืออยา่ งถูกต้องและมนี ิสยั รกั ความสะอาด มสี ุขอนามยั ทด่ี ี
• การฝกึ ฝนข้นั ตอนการปฏบิ ัติเม่อื เกิดเหตฉุ ุกเฉินตามแผนจัดการภัยพบิ ัติของสถานศึกษา
• การส่งเสริมความสามัคคี ชว่ ยเหลอื ผอู้ ื่น เช่น วิธีการช่วยเหลือคนพิการ การนำทางคนตาบอด
• การฝกึ ปฐมพยาบาล การฝึกการเคลอ่ื นยา้ ยผู้บาดเจ็บ
• การจดั เตรียมกระเป๋าฉกุ เฉินสำรองสำหรับหอ้ งเรยี น
• การฝึกดบั เพลิง
• การสำรวจเส้นทางอพยพและเกบ็ สิ่งของให้เปน็ ระเบยี บตามเสน้ ทางทีใ่ ช้อพยพ
• การจราจรและการป้องกนั อบุ ัติเหตุ
• การจัดกจิ กรรมชว่ ยชีวติ การปรบั ตัวในวิชาลกู เสือ เนตรนารี
3.3 ตัวอย่างการจดั กจิ กรรมเสรมิ หลักสูตรการลดความส่ียงภยั พิบัติ

ในการจัดกิจกรรมหลักและกิจกรรมเสริมเรื่องการลดความเสี่ยงภัยพิบัติและการรับมือกั บการ
เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศควรเน้นการมีส่วนร่วมและการใช้ความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนในการสร้าง
กิจกรรม เน้นการใช้ความคิดเชิงวิเคราะห์เพ่ือจะทำให้เด็กและเยาวชนเกิดความตระหนักในประเด็นปัญหา
คดิ ค้นการแก้ไขปัญหาท่ีถูกต้องเพ่ือให้เกิดการเปลี่ยนแปลง และสร้างภาวะผู้นำ กิจกรรมเสริมหลักสูตร เช่น
กจิ กรรมอาสาสมัครกส็ ามารถใช้เป็นส่วนหน่ึงในการชว่ ยสร้างเครอื ขา่ ย ระดมทรพั ยากร ความรู้ จากชุมชน มา
ช่วยในการลดความเสี่ยงภยั พิบัติ

สำหรับวิธีการจดั กิจกรรมนั้น อาจจะเป็นการนำประเด็นเร่อื งภัยพิบัติเข้าไปสอดแทรกในกิจกรรมเดิม
ที่มอี ย่แู ลว้ เช่น ในงานกีฬาสี งานนิทรรศการ กิจกรรมชมรม กลมุ่ อาสาสมัคร การทำโครงการระยะส้นั การจัด
เวทีเผยแพร่ความรู้ในช่วงพักกลางวนั การสอดแทรกทกั ษะการเอาตวั รอดในวชิ าลกู เสือเนตรนารี เป็นตน้ โดย
ครูมีหนา้ ท่ีช่วยช้ีให้เหน็ ถึงความสอดคล้องของกิจกรรมน้ันๆกบั ประเด็นด้านการลดความเสี่ยงภัยพิบัติและการ
รบั มือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ
ประเดน็ ท่สี ามารถสอดแทรกไปในการเรียนการสอนและการทำกจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร ได้แก่

• การสำรวจชุมชนรอบสถานศึกษา เพ่ือความเข้าใจทางสังคมและการระบุประเดน็ ปัญหาความเส่ียงภยั
• การช่วยกนั สอดสอ่ งคน้ หาจุดเสีย่ งภัย เช่น บอ่ นำ้ ทางลาด ถนนทีม่ หี ลมุ บ่อ ทางอับสายตา จุดท่ี

อาจจะเกดิ เพลิงไหม้
• การทำโครงการขยะแลกสงิ่ ของ เช่น ตน้ ไม้ ไขต่ ้ม ทำโครงการธนาคารรีไซเคลิ วสั ดุเหลอื ใช้
• การประหยัดน้ำ การชว่ ยกนั สอดสอ่ งดูแลก๊อกน้ำ ท่อน้ำ ท่อประปา ถังเก็บน้ำ
• การใชค้ วามคิดประดิษฐ์สง่ิ ของต่าง ๆ เพื่อช่วยประหยัดพลังงาน
• การปลกู ตน้ ไม้ พชื คลุมดิน เพื่อป้องกนั การเสียหายพังทลายของหนา้ ดนิ
• การทำสวนครัวลอยนำ้ ในพ้นื ทีน่ ้ำทว่ ม การปลูกพชื อาหารเพื่อใช้เป็นแหลง่ อาหารเวลาเกิดอทุ กภัย
• การลดการใช้สารเคมี ถุงพลาสตคิ
• การฝกึ ให้ล้างมืออยา่ งถูกต้องและมนี ิสยั รกั ความสะอาด มีสุขอนามยั ทดี่ ี
• การฝกึ ฝนขนั้ ตอนการปฏิบตั ิเมื่อเกิดเหตุฉกุ เฉินตามแผนจดั การภัยพิบัตขิ องสถานศึกษา
• การสง่ เสริมความสามคั คี ชว่ ยเหลือผ้อู นื่ เช่น วธิ กี ารช่วยเหลอื คนพิการ การนำทางคนตาบอด
• การฝึกปฐมพยาบาล การฝกึ การเคล่ือนย้ายผบู้ าดเจบ็
• การจัดเตรียมกระเป๋าฉกุ เฉนิ สำรองสำหรบั ห้องเรยี น
• การฝึกดบั เพลงิ
• การสำรวจเส้นทางอพยพและเกบ็ สิง่ ของใหเ้ ปน็ ระเบียบตามเส้นทางทใ่ี ช้อพยพ
• การจราจรและการปอ้ งกนั อุบัติเหตุ
• การจดั กจิ กรรมช่วยชวี ิต การปรบั ตวั ในวชิ าลูกเสอื เนตรนารี
3.3.1 การจัดทำหลกั สูตรวิทยาศาสตร์สำหรบั เด็กปฐมวัย
มกี จิ กรรมการประกวดโครงการวิทยาศาสตร์ของระดบั ปฐมวัย และมีห้องเรียนวทิ ยาศาสตร์ เพ่ือจูงใจให้เด็ก
สนใจเรียนและสนกุ กับการเรียน ประกอบไปดว้ ย

ห้องดิน ให้ความรู้เกี่ยวกับภัยพิบัติท่ีเกิดข้ึนจากดิน เช่น ดินสไลด์ แผ่นดินไหว ประเภทและชนิดของ
ดิน ชั้นดินชนิดต่างๆ สาเหตุของภัยพิบัติที่เกิดจากดิน การตรวจสอบสภาพของดิน การอนุรักษ์ดิน และการ
ปอ้ งกนั ภัยพิบัติทเี่ กดิ จากดนิ เป็นตน้

หอ้ งนำ้ ใหค้ วามรู้เกยี่ วกบั ภยั พิบัติทเี่ กิดจากนำ้ เช่น น้ำท่วม น้ำป่าไหลหลาก ฝนตก นำ้ เน่าเสยี ทาง
น้ำไหล ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ แหล่งกำเนิดของน้ำ การเฝ้าระวังสังเกตระดับน้ำ และให้ความรู้เร่ืองการ
ป้องกันภัยพิบัติจากน้ำ เช่น การทำฝาย การไม่ตัดต้นไม้ การปลูกต้นไม้ทดแทน เป็นต้น รวมถึงวิธีการเอาตัว
รอดเม่ือเกดิ ภัยพบิ ัติทางน้ำดว้ ย

หอ้ งลม ให้ความรู้เก่ียวกับภัยพิบัติท่ีเกิดจากลม เช่นลมพายุ ลมประจำฤดู การสำรวจทิศทางของ
ลม ความเสยี หายท่ีเกดิ จากลม และการรับมอื เม่อื เกิดภยั พบิ ัตจิ ากลม

ห้องไฟ ให้ความรู้เกี่ยวกับภัยธรรมชาติท่ีเกิดจากไป เช่น ไฟป่า ไฟท่ีเกิดจากฝีมือมนุษย์
ผลกระทบของไฟ และวธิ ีการเอาตัวรอดเมอื่ เกิดไฟไหม้
3.3.2 กิจกรรมเพ่อื เสริมสรา้ งทักษะดา้ นความปลอดภัยในโรงเรยี น Red Bear Survival

เจแปนฟาวน์เดชั่น กรุงเทพฯ (The Japan Foundation, Bangkok) ร่วมกับกลุ่ม “รู้แล้วรอด” De-
sign for Disaster (D4D) และเอ็นพีโอ พลัส อาร์ต (NPO Plus Arts) ประเทศญี่ปุ่น จัดกิจกรรม “Red Bear
Survival Camp in Thailand” เพ่ือให้ครู นักเรียน และ อาสาสมคั รป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้เรยี นรู้
และสร้างเสริมประสบการณ์การเอาตัวรอดเม่ือเกิดภัยพิบัติแบบต่าง ๆ อาทิ น้ำท่วม แผ่นดินไหว ไฟไหม้ ดิน
โคลนถล่ม โดยมีกิจกรรมฐานการเรียนรู้ท้ังหมด 13 ฐาน ซ่ึงในแต่ละฐานจะมีกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ีแตกต่างกัน
ออกไป แต่ละกจิ กรรมจะเป็นการเสริมสรา้ งสตปิ ัญญาท่ีจะแก้ไขปญั หาในภาวะฉกุ เฉิน สร้างความสามัคคี และ
สามารถช่วยเหลอื ตนเองและผู้อืน่ ในสถานการณ์ภยั พิบัติต่าง ๆ ทอี่ าจเกิดขึน้ ได้

ทีม่ า: เจแปนฟาวนเ์ ดชนั่ กรงุ เทพฯ, 2557

3.3.3 การบูรณาการสามเสาหลักในสถานศกึ ษา
• กรณีศึกษา โรงเรียนวัดถนน ตำบลโผงเผง อำเภอปา่ โมก จังหวัดอ่างทอง

“เร่ืองภัยพิบัติถือว่าเป็นหน้าท่ีหลักของโรงเรยี นและครูอยู่แล้วในการดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ของนักเรียน อันหน่ึงถือว่าเป็นการปฏิบัติโดยหน้าที่ และสองถือว่าเป็นการปฏิบัติโดยสามัญสำนึกของความ
เปน็ ครูทจี่ ะต้องดแู ลเร่ืองเหล่าน้ี” (นายวทิ ยา รัตนธารากร ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดถนน จ. อา่ งทอง, 2560)

• กิจกรรมสอนว่ายน้ำ กิจกรรมสอนให้นักเรียนทุกคนว่ายน้ำ เม่ือปี 2538 มีเหตุการณ์น้ำท่วม
ใหญ่ เนื่องจากโรงเรียนและชุมชนเป็นพื้นท่ีท่ีอยู่ติดแม่น้ำเจ้าพระยาแต่เดิมเด็กทุกคนจะว่ายน้ำเป็น
เพราะบ้านอยู่ติดแม่น้ำ แต่เมื่อปี 2538 เหตุการณ์น้ำท่วมดังกล่าวทำให้มีเด็กจมน้ำเสียชีวิต ทำให้
ผู้ปกครองเด็กสว่ นใหญ่ไม่กล้าที่จะให้เด็กลงเล่นน้ำ ทำให้เด็กจำนวนมากว่ายน้ำไม่เป็นถึงแม้จะมีบ้าน
อยู่ติดริมแม่น้ำก็ตาม และเมื่อปี 2554 เกิดเหตุการณ์น้ำท่วมหนักอีกคร้ัง ทำให้ชาวบ้านจำนวนมาก
อพยพครอบครัวหนีน้ำโดยใช้เรือ ทำให้เกิดเหตุการณ์เรื่อล่มมีเด็กเสียชีวิต จึงทำให้เด็ก ๆ ในชุมชน
แห่งนี้ไม่กล้าท่ีจะลงเล่นน้ำส่งผลให้เด็กส่วนใหญ่มากถึง 70% ว่ายน้ำไม่เป็น ทางโรงเรียนจึงได้ทำ
กิจกรรมสอนให้เด็กนักเรียนว่ายน้ำเป็นโดยพาเด็กไปฝึกว่าน้ำท่ีสวนน้ำ จ. อยุธยา ทำให้เด็ก ๆ สนุก
และชอบกิจกรรมนี้มาก และยังเป็นประโยชน์ต่อตัวเด็กเวลาเกิดภัยพิบัติน้ำท่วมก็จะสามารถเอาตัว
รอดได้

• การบูรณาการหลกั สูตรการเรียนร้เู กย่ี วกับภัยพิบัติ

“ทางโรงเรียนได้บูรณาการการเรียนรู้เกี่ยวกับภัยพิบัติในรายวิชาที่เก่ียวข้องและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน”
(ดร. ทองระย้า นัยชิต, 2560) ความรู้เรื่องภัยพิบัติ มีการบูรณาการเข้ากับทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เช่น วิชา
คณิตศาสตร์ ภาษาไทย สังคม สุขศึกษา เป็นต้น วิชาคณิตศาสตร์ ครูสอนโดยกำหนดโจทย์ปัญหาเกีย่ วกับภัย
พิบัติ วิชาวิทยาศาสตร์จะเรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงของ โลกที่ส่งผลกระทบทำให้เกิด ดินโคลน
ถล่ม น้ำท่วม ฯลฯ วิชาสุขศึกษาจะให้ความรู้เก่ียวกับชีวิตปลอดภัย การเอาตัวรอด เม่ือเกิดภัยพิบัติ วิชา
ภาษาต่างประเทศ ครูจะสอนคำศัพท์ต่างๆ เก่ียวกับภัยพิบัติ วิชาการงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยีมีการ
สอนให้นกั เรียน ทาเสอ้ื ชูชีพจากขวดนำ้ พลาสติกที่เหลอื ใช้ รองเทา้ บทู ทำจากถุงดำ เปน็ ตน้

• การซ่อมแซมอาคารสถานที่และสร้างแนวคนั ดิน
เน่ืองจากทางโรงเรียนมีพื้นที่ตดิ กับแม่นำ้ เวลามีฝนตกหนักนำ้ ไหลหลากก็จะทำให้น้ำล้นตลงิ่ เข้ามาในโรงเรียน
ทางโรงเรียนได้งบประมาณมาช่วยเหลือจากองค์การบริหารส่วนตำบลเรื่องภัยพิบัติอุทกภัย แต่ทางโรงเรียน
ไม่ไดน้ ำเงนิ ไปสรา้ งอาคารสิ่งก่อสร้าง แต่ได้นำงบประมาณที่ได้มาสร้างคันดินเป็นแนวกันน้ำท่วมตลอดแนวฝั่ง
แม่นำ้ ทำให้มีการขยายผลสรา้ งคันดินกั้นนำ้ ริมแม่น้ำตลอดสายท้ังชุมชน ทำให้สามารถแกไ้ ขปัญหาน้ำท่วมของ
โรงเรยี นและชุมชนไดเ้ ปน็ อย่างดี

• เสียงสะท้อนจากนกั เรยี น

จากการสัมภาษณ์พบวา่ นกั เรียนมีความเข้าใจในแนวทางการเตรยี มความพร้อมกบั ภัยพิบตั ทิ อ่ี าจต้อง
เผชิญ ตวั อยา่ งความเหน็ ของนกั เรียนเม่อื ตอ้ งประสบภยั พิบัติ ดงั น้ี
“ถา้ เกิดนำ้ ทว่ ม ใหเ้ ก็บของข้ึนที่สูง จบั ราวบันไดอยา่ งชา้ ๆ ไมว่ ่ิง เช็คเพื่อนในห้องวา่ ครบมย้ั แล้วไปท่จี ุดรวม
พล ครโู ทรแจ้งผปู้ กครอง”
“หากมีคนจมน้ำ ใหค้ นเหน็ คนตกนำ้ ตะโกน “ชว่ ยด้วยๆ! มีคนจมนำ้ ไม่ต้องตกใจ ตีขาไว้ เตะขาไว้ มีคนมา
ชว่ ยแล้ว” แลว้ ชว่ ยเหลือปฐมพยาบาลเบื้องตน้ เชน่ mount to mount โดยยกคางข้ึนเลก็ น้อยใหห้ ายใจ
สะดวกข้นึ เรียกช่ือเรอ่ื ย ๆ จนกว่าจะฟ้ืน และรีบพาไปโรงพยาบาล ”
“ถ้าเกดิ ไฟไหม้ ใหห้ ้ิวน้ำเป็นทอดๆแลว้ คนสดุ ทา้ ยกเ็ อานำ้ มาสาดเพื่อดับไฟ”

3.3.4 โรงเรียนต้นแบบด้านการจดั การภยั พบิ ตั ิสำหรบั เด็กชาวเขา
โรงเรียนบา้ นผาเดอื่ ตำบลแมส่ ลองใน อำเภอแม่ฟา้ หลวง จงั หวัดเชียงราย

โรงเรียนบ้านผาเด่ือ ต้ังอยู่เลขที่ 111 หมู่ 6 ตำบลแม่สลองใน อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย มี
เน้ือที่ประมาณ 15 ไร่ พ้ืนที่ตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ เป็นป่าอนุรักษ์ต้นน้ำ ลุ่มแม่น้ำจัน แต่เดิมเป็นศูนย์
พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน ของศูนย์พัฒนาชาวเขาจังหวัดเชียงราย มีนักเรียน 65 คน ปัจจุบันพัฒนามาเป็น
โรงเรียน และจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัย จนถึง ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 มีนักเรียนมากกว่า 100
คน เดก็ นักเรียนทง้ั หมดเป็นชาวเขา 100%

ชุมชนบ้านผาเด่ือเป็นชุมชนชาวเขาดั้งเดิม อาศัยอยู่ในสภาพภูมิประเทศเป็นท่ีราบสูง อดีตพื้นท่ี
บริเวณน้ีเคยเป็นป่าอุดมสมบูรณ์ ปัจจุบันป่าไม้ได้ถูกทำลายไปเป็นจำนวนมาก แปรสภาพเป็นพ้ืนที่การเกษตร
ส่งผลให้เกิดปัญหาภัยพิบัติในพื้นท่ีต่าง ๆ มากมาย และปัญหาท่ีพบมากที่สุดได้แก่ ไฟป่า ดินถล่ม น้ำท่วมขัง
ปัญหาการใช้สารเคมี และปัญหาแผ่นดินไหวเพราะอยู่ช่วงรอยเล่ือนแม่จัน ปัญหาดังกล่าวในอดีตยังไม่มี
หน่วยงานใดเข้ามาให้ความรู้กับชาวบ้าน ซ่ึงทางโรงเรียนเป็นหน่วยงานแรกที่ตระหนักถึงความสำคัญของ
ปัญหาภัยพบิ ัติ

ทางโรงเรียนจึงได้คิดแผนปฏิบัติการเพ่ือจัดการกับภัยพิบัติ โดยใช้ชื่อแผนว่า Safe School เป็นการ
จดั การเรียนการสอบแบบบูรณาการในหลักสูตร เฉพาะระดับปฐมวัยโดยเน้นการสอดแทรกให้ความรู้เกี่ยวกับ
ภัยพิบัติ มีการจัดทำหลักสูตรภาษาเย้า เน่ืองจากนักเรียนท้ังหมดเป็นชาวเขาเผาเย้า (อิวเมี่ยน) และมี
ภาษาท่ีใช้สื่อสารเป็นของตัวเอง ทำให้มีอุปสรรคในการสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียน เนื่องจากครูผู้สอนใช้
ภาษากลางไม่มีความเข้าใจในภาษาเย้า และผู้ปกครองของเด็กนักเรียนทั้งหมดใช้ภาษาเย้าเป็นภาษาหลักใน
การส่ือสาร ไม่มีความเข้าในภาษากลางเช่นกัน โดยคุณครูเมธิญา ยะขาว ได้จัดทำหนังสือภาพชุดภัยพิบัติใน
ชุมชนสำหรับเด็กปฐมวัยกลุ่มชาติพันธ์ุชนเผ่าเย้า (อิวเม่ียน) ซึ่งภายในหนังสือจะมีภาษาคาราโอเกะเป็นภาษา
ชนเผา่ เย้า (อิวเม่ียน) และมีคำแปลเป็นภาษากลาง ซ่ึงทำให้สามารถใช้ในการจัดการเรียนการสอนใหเ้ ดก็ เขาใจ
ได้เป็นอย่างดี โดยเน้นคำศัพท์เก่ียวกับภัยพิบัติ และประโยคสนทนาเก่ียวกับภัยพิบัติ เพ่ือให้เป็นประโยชน์ต่อ
ผปู้ กครองและเดก็ ท่ีไม่เข้าใจภาษากลางทำให้เข้าและสามารถส่ือสารกันเข้าใจง่ายมากยง่ิ ขึ้น ถอื วา่ เป็นการช่วย
ชุมจดั การภัยพบิ ตั ิไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
(ท่ีมา รายงานการถอดบทเรียน โครงการการพัฒนาศักยภาพของหน่วยงานภาคการศึกษาและหน่วยงาน
เก่ียวข้องด้านการลดความเส่ียงจากภัยพิบัติในประเทศไทยเรื่องความปลอดภัยรอบด้านในโรงเรียนของ
องคก์ ารชว่ ยเหลือเดก็ )

หัวข้อ : บทบาทอาสาสมคั รในสถานการณภ์ ัยพบิ ตั ิ
คมู่ อื อาสาสมคั รในสถานการณภ์ ยั พบิ ัติ
คูม่ ืออาสาสมัครในสถานการณภ์ ัยพิบตั ิ

การมุ่งเน้นปลูกฝังให้เยาวชนมีจิตสาธารณะพร้อมที่จะช่วยเหลือสังคมน้ันสอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย
ของการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 ในด้านการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
ด้านจิตสาธารณะ การปลูกจิตสำนึกด้านจิตสาธารณะ ( Public Mind ) ให้มีความรับผิดชอบต่อตนเองและ
สังคม เป็นการสร้างคณุ ธรรม จริยธรรมจากภายใน ใหบ้ ุคคลรู้จกั เสยี สละ ร่วมแรงร่วมใจและ ร่วมมอื ในการทำ
กิจกรรมท่ีเป็นประโยชน์เพ่ือส่วนรวม การเป็นอาสาสมัครในสถานการณ์ภัยพิบัติน้ันมีหน้าท่ีรับผิดชอบที่
สามารถทำได้ตั้งแต่ก่อนเกิดเหตุ ระหว่างเกิดเหตุ และหลังจากเกิดเหตุไปแล้ว ครูจะต้องสอนให้นักเรียนมี
ทัศนคติที่ถูกต้อง มีการเตรียมพร้อมท้ังร่างกาย จิตใจ มีความรู้เก่ียวกับภัย และมีทักษะในการทำงานท่ีได้รับ
มอบหมาย เชน่

• รู้จกั ประเมินขดี จำกัดของตวั เอง ทั้งในด้านพละกำลัง จติ ใจ รวมไปถึงทักษะความเชีย่ วชาญ
• ทำความเข้าใจในงานกบั เจา้ หน้าที่ก่อนปฏิบตั ิงาน และเข้าฝึกอบรมให้ครบตามข้อกำหนด
• แตง่ กายใหเ้ หมาะสมกับงาน และรู้จักใช้อปุ กรณ์ทชี่ ่วยปอ้ งกนั หรอื รกั ษาความปลอดภยั อยา่ งเครง่ ครดั
• รบั ประทานอาหาร ด่มื นำ้ และพกั ผ่อนใหเ้ พียงพอ
• อยา่ นำพาตวั เองไปอย่ใู นสถานการณท์ ส่ี มุ่ เสีย่ งหรืออนั ตราย
• รบั ทราบและวางแผนถงึ ชอ่ งทางการติดต่อขอความชว่ ยเหลือ หากเกิดกรณีฉกุ เฉนิ
• ในกรณที ่ีตอ้ งเผชิญเหตุการณ์อันตราย ควรรับมืออยา่ งมสี ติ
• รจู้ กั ภัย ลักษณะการเกดิ และผลกระทบ
• หากต้องให้ความช่วยเหลือคนพิการ ใหส้ อบถามความต้องการของคนพิการหรอื ผู้ดูแลก่อนเสมอ
ไม่สรา้ งปญั หาใหม่ให้กบั ผู้ประสบภัย หรอื ผ้ปู ฏิบตั ิงานในพ้ืนท่ี

หวั ข้อ : แนวทางการพัฒนาสื่อการเรยี นการสอนและส่ือรณรงค์
แนวทางการพัฒนาสื่อการเรยี นการสอนและส่ือรณรงค์

คู่มือ “พลังเด็กและเยาวชนลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ ในโรงเรียนและชุมชน”จัดทำโดยองค์การ
ช่วยเหลือเด็ก(2008) มีขั้นตอนการจัดอบรมให้เด็กและเยาวชนจัดทำสื่อรณรงค์เพ่ือลดความเสี่ยงภัยพิบัติได้
โดยการสร้างความตระหนักในโรงเรียนและชุมชนสามารถทำได้หลายช่องทาง เช่น การจัดรณรงค์ การเดิน
วทิ ยชุ ุมชน การจัดนทิ รรศการ เป็นต้น
หลักการเบ้อื งตน้ ในการจดั ทำสอื่ รณรงค์

• สื่อรณรงค์มีเป้าหมาย 3 ขั้นตอน คือ เพื่อให้ความรู้ เปล่ียนทัศนคติ เปล่ียนพฤติกรรมหรือท้ัง 3
อยา่ ง

• สอ่ื รณรงค์มีหลากหลายรูปแบบ เช่น ละคร รายการวทิ ยุ โปสเตอร์ แผ่นพบั ฯลฯ การรณรงค์ในเรือ่ ง
ใดเร่ืองหนึ่ง สามารถเลอื กใช้สื่อได้มากกว่า 1 ประเภท นอกจากน้ียังต้องคำนึงถงึ การจดั ทำสอ่ื รณรงค์
ท่ีเข้าถึงคนพิการทุกประเภท เช่น การใช้เทคโนโลยีเพ่ือช่วยเหลือการเรียนรู้สำหรับเด็กนักเรียนท่ีมี
ความพิการทางสายตา การใช้ส่อื ภาษามือท่ีถูกต้องสำหรับเด็กที่พิการทางการได้ยิน การใช้ล่ามภาษา
มอื การผลิตส่ือทางการเห็นคส์ ำหรับเด็กพิการทางการได้ยิน ตลอดจนการเลือกใช้ช่องทางการเรียนรู้
ท่เี หมาะสมกบั ความพกิ าร

• การจัดทำสื่อรณรงค์ต้องมีกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน เพื่อให้เนื้อหาและรูปแบบของ
สื่อชัดเจนและเหมาะสมกับกลุ่มเปา้ หมาย
o มงุ่ เน้นไปที่กลุ่มเป้าหมายหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น ผู้หญิง แม่บ้าน เด็ก เดก็ พิการ ผู้ดูแลคนพิการ
ผ้ชู าย ผู้ชายวยั รุ่น เป็นตน้
o มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนว่าการรณรงค์นั้นเพื่อเปลี่ยนแปลงอะไร : ความรู้ ทัศนคติ หรือ
พฤตกิ รรม

การจดั ทำส่ือรณรงคเ์ พ่ือใหค้ วามรูเ้ กยี่ วกบั ภยั พิบัติ ต้องทำความเขา้ ใจในเรื่องต่อไปนี้
• สถานการณ์เดิมก่อนจัดทำสื่อรณรงค์ เช่น ชุมชนหนึ่งซึ่งมีความเส่ียงต่อภัยน้ำท่วม ผู้ชายมักยืนยันจะ
อยบู่ า้ น ไมย่ อมอพยพหนี
• ความรู้ พฤติกรรม หรือทัศนคติของกลุ่มเป้าหมายที่นำไปสู่ความเสี่ยง เช่น เม่ือวิเคราะห์แล้ว พบว่า
พฤตกิ รรมท่ีไม่ยอมอพยพออกจากทีอ่ ยู่อาศยั เมอื่ เกิดน้ำท่วมอย่างรุนแรง นำไปสูค่ วามเสี่ยงต่าง ๆ เช่น
การบาดเจบ็ สญู เสยี ชีวติ เป็นต้น
ความเปลี่ยนแปลงท่ีอยากให้เกิดขึ้นหลังจากเผยแพร่ส่ือรณรงค์ เช่น ต้ังเป้าหมายไว้ว่า เมื่อเผยแพร่

ส่อื รณรงคไ์ ปแลว้ กลมุ่ เป้าหมายมีความรู้มากข้ึน (ว่าการไมอ่ พยพหนีออกจากบ้านในช่วงน้ำท่วมอาจกอ่ ให้เกิด
ความเสียหาย) ปรับเปลี่ยนทัศนคติ (ว่าชีวิตสำคัญกว่าทรัพย์สิน ควรหนีเอาตัวรอดก่อน) และนำไปสู่การ
ปรับเปลีย่ นพฤติกรรม (จดั ทำแผนเตรยี มการเพื่ออพยพในกรณีท่ีเกิดน้ำทว่ ม) เป็นต้น

ขั้นตอนการจัดทำสอื่ รณรงค์

ขน้ั 1 คือการวิเคราะห์ว่าชุมชนมีความเสี่ยงต่อภัยชนิดใด ใครคือกลุ่มเป้าหมายท่ีเราต้องการจะสื่อสารด้วย
การประเมิน และส่ือสารว่าอะไร
สถานการณ์
ขนั้ 2 คอื การจัดออกแบบกระบวนการรณรงค์ให้ความร้เู พื่อให้เข้าถงึ กลุ่มเป้าหมายให้มากท่สี ุด โดยประเมิน
การวางแผนทำ ว่าใครเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก กลุ่มเป้าหมายรอง กำหนดวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร กำหนดสาร
สอ่ื รณรงค์ หลัก เลอื กสอ่ื ท่เี หมาะสมสำหรับถา่ ยทอดสารและวางแผนปฏบิ ัตกิ ารรณรงคแ์ ละงบประมาณ
ขน้ั 3 เปน็ ข้นั ตอนการผลิตสื่อตามแผน โดยสื่อรณรงค์ และสารท่ไี ดร้ ับการออกแบบตอ้ งชดั เจน และเผยแพร่
การผลิตสื่อ ในช่องทางท่เี หมาะสม
รณรงค์
ขั้น 4 คอื การนำส่ือรณรงค์ที่ออกแบบไว้ไปขอความเห็นจากผู้เช่ียวชาญและกลุ่มเป้าหมายว่า สื่อน้ันมีข้อมูล
การทดสอบสื่อ ถกู ตอ้ งหรือไม่ ชดั เจนหรือไม่ และนำเสนอสารตามที่ต้องการหรือไม่
ขัน้ 5 หาผลลัพธ์จากการเผยแพร่ส่ือเกิดข้ึนตรงตามวัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้หรือไม่ และช่วยให้เราแก้ไข
การประเมนิ ผล ขอ้ บกพร่องและข้อผดิ พลาดทเี่ กดิ ขนึ้
สอ่ื รณรงค์

แบบทดสอบหลงั เรียน บทท่ี 4

1. ขอ้ ใดเปน็ เปา้ หมายสูงสุดในการจดั การเรยี นรเู้ ร่อื งการลดความเส่ียงภัยพิบตั ธิ รรมชาติ
ก.ความเขา้ ใจทางวิทยาศาสตรแ์ ละกลไกการเกดิ ภยั พิบัติทางธรรมชาติ ทั้งการศึกษาจากตำรา วิชาการ

และการศกึ ษาจากสภาพแวดล้อมจริงนอกห้องเรยี น
ข.การเรยี นร้แู ละฝกึ ฝนทักษะและข้ันตอนการปฏิบตั ิเพื่อความปลอดภัยในบริบทของภยั ต่างๆ
ค.ความเข้าใจปัจจัยผลักดันท่ีทำให้เกิดความเสี่ยงและกลไกท่ีทำใหภ้ ยั ธรรมชาติกลายเปน็ ภยั พิบตั ิ
ง.การสร้างศกั ยภาพในการลดความเส่ียงภัยและการสร้างวฒั นธรรมแหง่ ความปลอดภยั

2. ข้อใดเปน็ น่าจะเป็นเน้ือหาเร่ืองการลดความเสี่ยงภัยพิบตั ใิ นวชิ าสังคมศกึ ษา
ก.กระบวนการเปลี่ยนแปลงของผวิ โลกและภายในโลกท่เี ป็นสาเหตขุ องธรณีพิบัติ
ข.การมสี ว่ นรว่ มในการปลูกหญ้าแฝกรมิ ตลิ่งและการเป็นอาสาสมคั รในชุมชน
ค.ทักษะการปฐมพยาบาล เช่น วิธหี ้ามเลอื ด พนั แผล และป๊มั หวั ใจ
ง.ความร้เู บ้ืองต้นเกี่ยวกบั อตุ ุนิยมวิทยา

3. ข้อใดไมใ่ ชเ่ ปน็ ตวั ชี้วดั ของครใู นการจัดการเรียนการสอนเรื่องการลดความเสี่ยงภัยพบิ ัติ
ก.มคี วามรู้เก่ียวกบั การลดความเส่ยี งจากภัยพบิ ัตแิ ละการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ข.ใชเ้ ทคนิคทห่ี ลากหลายในการจดั การเรยี นรู้ โดยเฉพาะวิธกี ารท่ีใหเ้ ดก็ เปน็ ศนู ย์กลางและมสี ว่ นร่วม
ค.ครสู ามารถแลกเปลี่ยนประสบการณใ์ นการจัดการเรียนรู้กับสถานศึกษาอ่นื ๆ
ง.มวี สิ ยั ทศั นใ์ นการจดั การศึกษาเรื่องการการลดความเส่ียงจากภัยพิบัติและการรบั มอื กับการเปลย่ี นแปลง

สภาพภูมอิ ากาศ
4. ขอ้ ใดเป็นหลักในการเรยี นรู้ทกั ษะชีวติ ดา้ นการลดความเสีย่ งภยั พิบตั ิ

ก.ครูสอนตอ้ งหาความรู้อยา่ งลึกซงึ้ และละเอยี ด และได้เรยี นร้ปู ระสบการณ์ของผู้ประสบภัย
ข.การออกแบบการเรยี นรู้เน้นสนกุ สนานและมสี าระ เพราะผู้เรียนจะมีความยนิ ดใี นการเรยี นรู้เรอ่ื งเดมิ
บ่อยแค่ไหนกต็ าม
ค.สื่อการเรียนร้ตู ้องออกแบบให้นา่ สนใจ และง่ายต่อการจดจำ
ง.ถกู ทุกข้อ
5. ข้อใดถูกต้องในการสอนนักเรียนในการมบี ทบาทเปน็ อาสาสมัครด้านภัยพบิ ัติ
ก.การรู้จกั ประเมนิ ขดี จำกัดของตัวเอง ท้งั ในด้านพละกำลัง จิตใจ และทกั ษะความชำนาญ
ข.จรรยาบรรณของการเป็นจิตอาสา ได้แก่ อดทน เสียสละ ทมุ่ เทแรงกายแรงใจอยา่ งเต็มที่
ค.การตัดสินใจให้ความชว่ ยเหลือตามสัญชาตญิ าณของจิตอาสา
ง.การเลอื กผปู้ ระสบภัยที่ตอ้ งการความช่วยเหลือ เช่น หากมีผู้บาดเจบ็ หลายคน ให้รีบชว่ ยเหลือผ้บู าดเจบ็
ทีเ่ ป็นคนพิการก่อน

6. ข้อใดเปน็ การจดั กจิ กรรมลดความเสี่ยงภยั พบิ ัติท่ีเหมาะสำหรับเด็กชนั้ ประถมปที ี่ 1
ก.ฝกึ “หมอบ ป้อง เกาะ”
ข.เกมค้นหาจดุ เสย่ี งภัยในโรงเรยี น
ค.เลน่ บทบาทสมมติ เช่น การพดู ขอความชว่ ยเหลือจากผู้อน่ื การโทรศัพทแ์ จ้งเหตุ
ง.ทำไดท้ ุกข้อ

7. ข้อใดเป็นกจิ กรรมเสริมหลักสูตรที่เหมาะกับนักเรยี นช้ันมัธยม
ก.ฝกึ การใชถ้ ังดบั เพลงิ
ข.ประกวดนวตกรรมเอาตัวรอดในสถานการณภ์ ยั พบิ ัติ
ค.การประเมินความเสยี่ งภยั ของโรงเรียนและชุมชน
ง.ทำได้ทุกข้อ

8. การดำเนินการใดต่อไปนชี้ ่วยใหค้ ณุ ครสู ามารถจดั กิจกรรมเสรมิ หลักสตู รการจัดการภัยพบิ ตั ิใหเ้ ข้ากับ
บริบททางวัฒนธรรม

ก.การสอนทักษะชีวติ ในวิชาสขุ ศึกษา
ข.คน้ หาเด็กในชุมชนท่ีมีภาวะผู้นำมาเปน็ ตน้ แบบ
ค.การขอความร่วมมือจากหนว่ ยงานในพ้นื ที่ให้มาชว่ ยซ้อมอพยพ
ง.การสำรวจชุมชนรอบสถานศกึ ษา เพ่ือความเข้าใจประเด็นปัญหาและพฤติกรรมความเสยี่ งภยั
9. ข้อใดเป็นขั้นตอนสำคัญในกระบวนการทำสือ่ รณรงค์
ก.ประเมินสถานการณ์และพฤติกรรมที่ตอ้ งการปรับเปลีย่ น
ข.วางแผนรูปแบบส่ือ
ค.กำหนดกลมุ่ เปา้ หมาย
ง.ออกแบบส่ือ
10. ข้อใดสะทอ้ นใหเ้ ห็นเปา้ หมายของการทำสื่อรณรงค์ได้ชัดเจนทีส่ ดุ
ก. โรงเรียนทำป้ายประชาสัมพนั ธก์ ารซ้อมแผนอพยพของโรงเรียน
ข.สภากาชาดไทยทำโปสเตอร์สอนขน้ั ตอนการลา้ งมอื ให้ถูกต้องเพ่ือตดิ ในห้องน้ำห้างสรรพสนิ คา้ ทว่ั
ประเทศ
ค.รถกระจายเสยี งของเทศบาลประกาศเชิญชวนใหป้ ระชาชนบรจิ าคสิง่ ของบรรเทาทุกข์
ง.กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั สร้างตัวการ์ตูนช่ือมิสเตอร์เตือนภัย

เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น บทที่ 4

1. ขอ้ ใดเป็นเปา้ หมายสงู สุดในการจัดการเรียนร้เู รื่องการลดความเสยี่ งภยั พบิ ัตธิ รรมชาติ
• การสร้างศักยภาพในการลดความเส่ยี งภัยและการสร้างวัฒนธรรมแหง่ ความปลอดภยั

2. ขอ้ ใดเปน็ นา่ จะเปน็ เนื้อหาเรื่องการลดความเสีย่ งภยั พบิ ัติในวชิ าสงั คมศึกษา
• การมสี ว่ นร่วมในการปลูกหญ้าแฝกริมตล่ิงและการเป็นอาสาสมัครในชุมชน

3. ข้อใดไม่ใช่เปน็ ตวั ชีว้ ดั ของครใู นการจดั การเรียนการสอนเรอื่ งการลดความเสี่ยงภยั พิบัติ
• มีวิสัยทศั นใ์ นการจัดการศึกษาเรอื่ งการการลดความเสี่ยงจากภยั พิบัติและการรับมือกับการ
เปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ

4. ข้อใดเปน็ หลักในการเรียนรู้ทกั ษะชวี ิตดา้ นการลดความเส่ียงภัยพิบัติ
• ถูกทุกข้อ

5. ข้อใดถูกต้องในการสอนนักเรยี นในการมบี ทบาทเปน็ อาสาสมคั รดา้ นภัยพิบัติ
• การรู้จกั ประเมนิ ขดี จำกัดของตัวเอง ทั้งในด้านพละกำลัง จิตใจ และทักษะความชำนาญ

6. ข้อใดเป็นการจดั กจิ กรรมลดความเส่ียงภัยพบิ ัติทเี่ หมาะสำหรบั เดก็ ช้นั ประถมปที ่ี 1
• ทำได้ทุกข้อ

7. ขอ้ ใดเป็นกจิ กรรมเสรมิ หลักสตู รทีเ่ หมาะกบั นักเรยี นชัน้ มธั ยม
• ทำได้ทุกข้อ

8. การดำเนินการใดต่อไปนชี้ ่วยใหค้ ณุ ครูสามารถจดั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู รการจดั การภัยพบิ ัตใิ ห้เข้ากบั บริบท
ทางวัฒนธรรม

• การสำรวจชุมชนรอบสถานศึกษา เพื่อความเข้าใจประเดน็ ปญั หาและพฤติกรรมความเสี่ยงภยั
9. ขอ้ ใดเปน็ ขน้ั ตอนสำคญั ในกระบวนการทำสื่อรณรงค์

• ประเมนิ สถานการณ์และพฤติกรรมทตี่ ้องการปรับเปล่ียน
10. ขอ้ ใดสะท้อนให้เหน็ เปา้ หมายของการทำส่ือรณรงค์ได้ชัดเจนท่ีสุด

• สภากาชาดไทยทำโปสเตอรส์ อนขนั้ ตอนการลา้ งมอื ใหถ้ ูกต้องเพ่ือติดในห้องน้ำหา้ งสรรพสินค้าท่ัว
ประเทศ

การเผยแพรค่ วามรู้ ประสบการณ์ ทักษะและอ่ืน ๆ แก่ผูท้ ีเ่ ก่ยี วข้อง คือ

1. การนำความรู้จาก หลักสูตร “การลดความเส่ียงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการ
เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ” รหัสหลักสูตร 62037 ปีการศึกษา 2562 ซึ่งเป็นหลักสูตรออนไลน์ ท่ีได้
รบั มาถา่ ยทอดให้คุณครูทา่ นอื่นๆนำไปใช้ในการพัฒนานักเรยี นในชั้นเรียนของตนเองตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
ในระดับชน้ั เรียนที่รบั ผดิ ชอบ

2. ให้ครูประจำช้นั /ครูท่ีปรึกษาทำการประเมินนักเรียนในช้ันเรียนตามเทคนิคและวิธีการตามความรู้
ที่ได้รับจากคลิปวิดีโอ หลักสูตร “การลดความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ” รหัสหลักสูตร 62037 ปีการศึกษา 2562 ซ่ึงเป็นหลกั สูตรออนไลน์ เพ่ือฝ่ายวชิ าการจะนำ
ผลท่ีได้จากการประเมินไปสู่การเรียนรู้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อกำหนดแนวทางแก้ปัญหาและ
นวัตกรรมท่ีใช้ความรู้จาก หลักสูตร “การลดความเส่ียงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปล่ียนแปลง
สภาพภูมิอากาศ” รหัสหลักสูตร 62037 ปีการศึกษา 2562 ซ่ึงเป็นหลักสูตรออนไลน์ ไปประยุกต์ใช้ในการ
เรยี นการสอน

3. ให้ครูทุกท่านจัดเก็บร่อยรอยหลักฐานการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามกลวิธีและเทคนิค หลักสูตร
“การลดความเส่ียงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” รหัสหลักสูตร
62037 ปีการศึกษา 2562 ซึ่งเป็นหลักสูตรออนไลน์ ระดับชั้นเรียนเพื่อเตรียมรองรับการประเมินจาก
คณะกรรมการประเมินในการขอมีหรือเลื่อนวิทยฐานะต่อไป

4. การประชาสัมพันธ์คณะครูในโรงเรียนให้พัฒนาผลงานทางวิชาการตาม หลักสูตร “การลดความ
เส่ียงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ” รหัสหลักสูตร 62037
ปีการศึกษา 2562 ซ่ึงเป็นหลักสูตรออนไลน์ แล้วนำไปทดลองใช้กับนักเรียนของตนเอง เม่ือใช้แล้วเกิดผลดี
สามารถพัฒนา เรื่องของ“การลดความเส่ียงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภมู อิ ากาศ” ในระดบั ช้ันเรยี นต่อไป

ขอ้ เสนอแนะให้โรงเรียน พจิ ารณาดำเนนิ การ คือ
ทางฝ่ายบริหารควรกระตุ้นให้ครูทุกคนในโรงเรียนคิดค้น พัฒนานวัตกรรมพัฒนากิจกรรมตามหลักสูตร

หลักสูตร “การลดความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ”
ซง่ึ เป็นหลักสูตรออนไลน์ เพ่ือช่วยพัฒนานักเรียนในโรงเรียนและเพื่อจัดทำเป็นผลงานทางวิชาการของตนเอง
และโรงเรยี น

จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ และพิจารณาดำเนนิ การต่อไป

ลงชอ่ื ................................................................................ผ้รู ายงาน

(นางสาววีรภัทร รกั ชนบท)

ตำแหน่ง ครูโรงเรียนวดั ไรข่ ิงวิทยา




Click to View FlipBook Version