The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตร การลดความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิประเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wrakchonnabot, 2020-02-03 10:32:46

รายงานโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร E - Learning

หลักสูตร การลดความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิประเทศ

รายงานโครงการพฒั นาครรู ปู แบบครบวงจร
ระบบอเิ ลค็ ทรอนกิ ส์ (E - Learning)

หลกั สตู ร “การลดความเสย่ี งภยั พบิ ตั ธิ รรมชาตแิ ละการปรบั ตัว
รบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ”

นางสาววีรภทั ร รักชนบท

โรงเรยี นวดั ไรข่ งิ วทิ ยา
สงั กดั สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 9
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

รหสั หลกั สูตร 62037

บันทึกขอ้ ความ

ส่วนราชการ โรงเรยี นวดั ไร่ขิงวิทยา

ท…ี่ ………………… วันที่ 27 เดือน มกราคม พ.ศ. 2563

เรอื่ ง รายงานสรุปผลการอบรมพัฒนาตนเอง หลักสูตร “การลดความเส่ยี งภยั พิบัติธรรมชาติและการ

ปรบั ตัวรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ” รหัสหลักสูตร 62037 ปีการศึกษา 2562

เรยี น ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดไร่ขิงวทิ ยา

ด้วยข้าพเจ้า นางสาววีรภัทร รักชนบท ตำแหน่ง ครู โรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา อำเภอสามพรานจังหวัด
นครปฐม ได้เข้าร่วมประชุมอบรมโครงการพั ฒนาครูรูปแบบครบวงจร ประจำปี 2562 หลักสูตร
“การลดความเส่ียงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ” รหัสหลักสูตร
62037 ปีการศกึ ษา 2562 ซ่ึงเปน็ หลกั สูตรอบรมออนไลน์ ระหวา่ งเดอื นมกราคมทีผ่ า่ นมา

บัดนี้การอบรมออนไลน์ หลักสูตร “การลดความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” รหัสหลักสูตร 62037 ปีการศึกษา 2562 ซึ่งเป็นหลักสูตรอบรมออนไลน์
ดงั กล่าวได้เสรจ็ สิน้ เป็นที่เรยี บร้อย ตามเอกสารรายงานดงั น้ี

- แบบสรปุ รายการอบรม
- แนวทางการขยายผลการอบรม
- วฒุ ิบตั รผ่านการอบรม

จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ

ลงช่อื
( นางสาววรี ภัทร รักชนบท )
ครโู รงเรยี นวดั ไรข่ ิงวทิ ยา

ทราบ
ความคิดเหน็ ของผู้อำนวยการ
………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………..
ลงชอ่ื

( นางสาวรงุ่ ชวี า สุขศรี )
ผู้อำนวยการโรงเรยี นวดั ไร่ขิงวทิ ยา

คำนำ

โครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) เกิดข้ึนจาก
นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการที่ต้องการปฏิรูประบบผลิตและพัฒนาครูเพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาทรัพยากร
บุคคลอย่างมีระบบและมีประสทิ ธิภาพสูงสุด มีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579)
ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศมีความม่ันคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง

จากนโยบายดังกล่าว สพฐ. จึงได้ดำเนินการโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจรของสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเชิญชวนสถาบันอุดมศึกษาหรือบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กร
วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่ืน นำเสนอหลักสูตรอบรมพัฒนาครูให้สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานนำเสนอหลักสูตรให้สถาบันคุรุพัฒนา สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา ทำการ
รบั รองและประชาสัมพันธ์ใหค้ รูได้เลอื กหลักสูตรเพ่ือพัฒนาตนเองตามความต้องการ ความจำเป็นรายบุคคล โดยจะ
ดำเนินการจัดทำระบบลงทะเบียนและติดตามประเมินผลครูผู้เข้ารับการพัฒนา เพื่อให้ครูสามารถเลือกอบรมตาม
ความต้องการและหน่วยงานส่วนกลางสามารถบริหารจัดการจัดสรรงบประมาณไปยังสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
เพ่ือเป็นค่าลงทะเบียนให้กับครูท่ีแจ้งความประสงค์เข้ารับการอบรมในหลักสูตรต่าง ๆ และสามารถทราบความ
ต้องการในการพัฒนาตนเองของครูในภาพรวมได้จากความสำคัญดังกล่าว ผู้รายงานได้เลือกอบรม หลักสูตร
“การลดความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” รหัสหลักสูตร 62037
ปีการศึกษา 2562 ซ่ึงเป็นหลักสูตรออนไลน์ เมื่อผ่านการอบรมเรียบร้อยแล้ว จึงขอเสนอผลการอบรมเพื่อขยายผล
การเรยี นรู้ตอ่ ไป

นางสาววีรภัทร รกั ชนบท

ผู้รายงาน

บันทกึ รายงานผลการไปราชการ / การอบรมสัมมนา / การศึกษาดงู าน ของบคุ ลากร

โรงเรยี นวัดไร่ขิงวิทยา สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 9

**************************************

วนั ที่ 27 เดอื น มกราคม พ.ศ. 2563

เรยี น ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวดั ไร่ขิงวทิ ยา

ตามท่ขี า้ พเจ้านางสาววรี ภัทร รักชนบท ตำแหน่งครู วิทยฐานะชำนาญการ โรงเรียนวดั ไร่ขงิ วิทยา
ได้เข้าร่วมประชุมอบรมโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร ประจำปี 2562 หลักสูตร “การลดความเส่ียงภัย
พิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” รหัสหลักสูตร 62037 ปีการศึกษา 2562
ซ่ึงเป็นหลักสูตรออนไลน์ ระหว่างเดือนมกราคม พ.ศ.2563 ท่ีผ่านมาและได้รับการอนุมัติสามารถพิมพ์
วุฒิบัตรสำเร็จการศึกษา หลักสูตร “การลดความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ” รหัสหลักสูตร 62037 ปีการศึกษา 2562 ซ่ึงเป็นหลักสูตรออนไลน์ ในเดือนมกราคม
พ.ศ.2563

บัดนี้การอบรมออนไลน์ หลักสูตร “การลดความเส่ียงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” รหัสหลักสูตร 62037 ปีการศึกษา 2562 ซึ่งเป็นหลักสูตรออนไลน์ ดังกล่าวได้
เสรจ็ สิน้ เรียบร้อยแลว้ ขา้ พเจ้าขอรายงานการอบรมโดยสรุปเนื้อหาดังนี้

โครงการหลักสูตรความปลอดภัยรอบด้านในโรงเรยี น

โดยความร่วมมือระหว่างกระทรวงศึกษาธิการ มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย และ Save the
Children เป้าหมายเพอื่ สร้างความรู้ให้แก่ ครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาให้ร้ถู ึงความเสี่ยงภัยของตน
โดยเฉพาะในพ้ืนท่ีและสามารถวางมาตรการ วิธีการท่ีเหมาะสมตลอดจนสามารถดูแลผลกระทบเมื่อเกิดภัย
พบิ ัตจิ ากธรรมชาติ

บทที่ 1 ความเสย่ี งภัยธรรมชาตแิ ละการประเมินความเสย่ี ง
บทที่ 2 อาคารสถานท่ีปลอดภัย
บทที่ 3 การจดั การภยั พบิ ัติในสถานศกึ ษา
บทที่ 4 การจัดเรียนการสอน
สามเสาหลกั ของความปลอดภยั รอบดา้ นในโรงเรียน
คว ามป ล อด ภั ย ร อบ ด้ า น ใน โรงเรี ย น ซ่ึ งอยู่ ภ า ย ใต้ น โย บ าย แ ล ะการ ป ฏิ บั ติ ด้ า น ก าร ศึกษ า มีคว า ม
สอดคล้องกับการบริหารจัดการภัยพิบัติในระดับประเทศ ภูมิภาค จังหวัดและดับพื้นท่ีรวมทั้งโรงเรียน
กรอบแนวคิดความปลอดภัยรอบดา้ นในโรงเรียน ประกอบด้วยสามเสาหลัก ไดแ้ ก่

เสาหลกั ท่ี 1 ส่ิงอำนวยความสะดวกในการเรียนที่ปลอดภัย
ผู้มีบทบาทหลัก: บุคลากร/หน่วยงานด้านการศึกษาและการวางแผน สถาปนิก วิศวกร ผู้รับเหมาก่อสร้าง

บุคลากรโรงเรียน และสมาชิกชุมชนท่ีมีบทบาทในการตัดสินใจด้านการเลือกสถานท่ีต้ังโรงเรียนท่ีปลอดภัย
การออกแบบ การก่อสร้างและการดูแลรักษาโรงเรียน (รวมถึงการเข้าถึงอาคารสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก
ได้อย่างปลอดภยั สม่ำเสมอ)

เสาหลักที่ 2 : การบรหิ ารจดั การภัยพบิ ตั ใิ นโรงเรียน
ผู้มีบทบาทหลัก: ผู้บริหารภาคการศึกษาท้ังในระดับประเทศและระดับจังหวัด รวมท้ังชุมชนโรงเรียน

ในพื้นท่ีซึ่งร่วมงานกับหน่วยงานด้านการบริหารจัดการภัยพิบัติท่ีเกี่ยวข้องในแต่ละพ้ืนท่ี ในระดับโรงเรียน
ได้แก่ บุคลากรในโรงเรียน นักเรียนและผู้ปกครองที่มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อมทางการเรียนท่ี
ปลอดภยั ตัวอย่างกจิ กรรม เช่น การประเมนิ และลดความเสย่ี งทางสังคมส่ิงแวดล้อม สาธารณูปโภคและความ
เสี่ยงที่ไม่ใช่โครงสรา้ งและโดยการพฒั นาศักยภาพในการรับมือภัยพบิ ตั ิและวางแผนการศึกษาต่อเน่อื ง

เสาหลกั ที่ 3 : การศึกษาดา้ นการลดความเสยี่ งและการรู้รับปรับตวั จากภัยพบิ ัติ
ผู้มีบทบาทหลัก: ผู้จัดทำหลักสูตรและสื่อการเรียนการสอน คณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ผู้อบรมครู

ครู กลุ่มเยาวชน ผู้นำในการจัดกิจกรรมเยาวชน และนักเรียนท่ีจะร่วมมือการเพ่ือพัฒนาและสร้างความ
เข้มแข็งใหก้ ับวฒั นธรรมแหง่ ความปลอดภัยและมคี วามสามารถในการรู้รับปรับตัวและพ้ืนคนื กลับจากภัยพบิ ัติ

บทท่ี 1 ความเสย่ี งภยั ธรรมชาตแิ ละการประเมนิ ความเส่ียง

1. วตั ถปุ ระสงค์
1.เพื่อใหต้ ระหนกั รู้ถึงผลกระทบของภัยธรรมขาตมิ ีต่อชีวิตมนุษยแ์ ละภาคการศึกษา
2.เพอื่ ใหเ้ ข้าใจหลักการลดความเสี่ยงภยั พิบตั ิในสถานศึกษา
3.เพอ่ื ให้รูจ้ ักวิธีประเมินความเสย่ี งภัยธรรมชาติ

2. หัวขอ้ การเรียนรู้
1.การสร้างความตระหนกั ในการลดความเส่ียงภัยพบิ ตั ทิ างธรรมชาติ
2.บทบาทหนา้ ที่ของภาคการศกึ ษาในการจดั การภยั

3. แนวคิดสำคญั
3.1 การลดความเสี่ยงภัยพิบัติ (ภัย ภัยพิบัติ ความเส่ียง ความเปราะบาง ความสามารถในการรบั มอื )
3.2 การจดั การภยั พิบัติ

4. กรอบการทำงานสถานศึกษาปลอดภัยรอบดา้ น
5. การประเมินความเสีย่ ง (วธิ ปี ระเมนิ ความเส่ียงและเครือ่ งมือตา่ ง ๆ และวิธใี ช้เครื่องมอื )
6. การประเมินก่อนเรยี นและหลงั เรียน

หวั ข้อ 1 : ความตระหนักในการลดความเสี่ยงภยั พิบัติทางธรรมชาติของสถานศึกษา
เป้าหมายของการลดความเสี่ยงภัยพิบัติในสถานศึกษา คือ การที่บุคลากรทางการศึกษา ครูและนักเรียนมี

ความสามารถในการเรียนรู้ความเส่ียงภัยของตนโดยเฉพาะภัยในพื้นท่ีสามารถวางมาตรการและวิธีการปฏิบัติ
ตลอดจนสามารถดูแลรักษาโครงสร้างและกลไกพื้นฐานให้ปลอดภัยเพ่ือลดผลกระทบจากภัยธรรมชาติน้ัน ๆ
และหากประสบภัยพิบัติจากธรรมชาติก็สามารถฟ้ืนตัวได้ด้วยแนวทางและทรัพยากรที่มีในระยะเวลาที่เหมาะสม
การรู้จักความเสี่ยงภยั ของตนเองอย่างแท้จริงจึงเป็นจดุ เร่ิมตน้ ในการวางแผนลดความเสี่ยงภยั พิบัติ

หัวข้อ 2 : บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษาในการจัดการภยั พบิ ัติ

ปัจจุบันประเทศไทยขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ "การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย" ตามแผนการ
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2558 ภายใต้ กรอบการทำงานลดความเสีย่ งภยั พบิ ัติ พ.ศ. 2558
- 2573 (Sendai Framework for. Disaster Risk Reduction 2015 – 2030 หรือ SFDRR) หรือท่ีเรียกกัน
ส้ันๆว่า "กรอบเซนได" ซ่ึงเป็นกรอบการทำงานตามมาตรฐานสากลกินระยะเวลา 15 ปี ระหว่าง พ.ศ.2558
ถึง พ.ศ. 2573

แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2558 ได้กำหนดบทบาทหน้าท่ีให้หน่วยงาน
ของรฐั มสี ว่ นร่วมในการลดความเส่ียงภัยพบิ ตั ิ โดยกระทรวงศึกษาธิการไดร้ ับมอบหมายหน้าท่ตี ่อไปนี้

1. พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนเกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทุกระดับชั้นตั้งแต่
การศึกษาข้นั พ้ืนฐานจนถึงระดบั อุดมศกึ ษา

2. ส่งเสรมิ หนว่ ยงานการศึกษาใหม้ ีบทบาทในการชว่ ยเหลอื สนบั สนุนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย
3. ส่งเสริมให้ความรู้และสร้างจิตสำนึกแก่นักเรียน นักศึกษา ประชาชนให้มีส่วนร่วมในการป้องกันและ

บรรเทาสาธารณภัย
4. สนับสนุนบุคลากรทางการศึกษา เช่นลูกเสือ เนตรนารี เป็นต้น เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของ

กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ และกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา
ธารณภัยในพ้ืนที่
5. สำรวจและจัดทำฐานข้อมลู สถานศึกษาเพอื่ ใชเ้ ป็นศนู ย์พกั พิงช่ัวคราว

หวั ข้อ 3 : แนวคดิ สำคญั
3.1 เรอ่ื งการลดความเส่ียงภัยพิบตั ิ

การลดความเสี่ยงภัยพิบัติ (Disaster Risk Reduction) คือแนวคิดและวิธีปฏิบัติในการป้องกัน
และลดผลกระทบจากภัยด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยที่เส่ียงที่จะทำให้เกิดภัยพิบัติ ได้แก่ ความรุนแรงของภัย
ความลอ่ แหลม ความเปราะบางของอาคารบา้ นเรือนและคนในสังคม และศักยภาพในการรับมือภยั พิบัติ

ความเสี่ยงจากภัยพิบัติมีองค์ประกอบสำคัญ 4 ประการ ได้แก่ ภัย (Hazard) ความล่อแหลม
(Exposure) ความเปราะบาง (Vulnerability) และความสามารถในการรับมอื (Coping capacity)

ภยั (hazard) คือสภาวะอันตรายทเ่ี กดิ จากธรรมชาติหรือเกดิ จากน้ำมือมนุษย์ ภัยธรรมชาติ เช่น ฝน
ตก พายุแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด คล่ืนกัดเซาะชายฝั่ง ภัยธรรมชาติแบ่งได้ตามลักษณะการเกิดคือภัยที่เกิด
ฉับพลันและภัยที่เกิดขึ้นชา้ ๆ และต้องดูผลกระทบจากความรุนแรงของภัย ตัวอย่างเช่น พายุฤดูร้อนที่เกิดข้ึน
ในหลายพื้นทมี่ คี วามรนุ แรงจนสร้างความเสียหายให้แก่โครงสร้างอาคารเรยี น

ภัยธรรมชาติที่เกิดข้ึนในประเทศไทยมีหลายรปู แบบ ที่สำคัญและเสียหายไดเ้ ป็นอยา่ งมาก คือ วาตภัย
อุทกภัย อัคคีภัยและแผ่นดินไหวผู้เรียน สามารถอ่านรายละเอียดเพ่ิมเติมเก่ียวกับลักษณะของภัยธรรมชาติที่
เกิดขนึ้ ในประเทศไทยไดจ้ าก เอกสารเร่ือง ภัยธรรมชาติในประเทศไทย โดยกรมอุตุนิยมวทิ ยา

ภัยพิบัติ (disaster) หมายถึง “การท่ีระบบต่าง ๆ ในสังคมหนึ่งต้องหยุดชะงักอันเป็นผลมาจากภัย
ไม่ว่าจะเป็นภัยทางธรรมชาติหรือเกิดจากมนุษย์ และภัยน้ันซึ่งส่งผลกระทบรุนแรงตอ่ ชีวติ ทรพั ย์สิน เศรษฐกิจ
สังคมและส่ิงแวดล้อมอย่างกว้างขวาง เกินกวา่ ความสามารถของชุมชนจะรับมือได้โดยใชท้ รัพยากรทม่ี ีอยู่” จะ
เห็นได้วา่ นิยามน้ีกำหนดให้ภัยพิบัติจะเกิดข้ึนเม่ือภัยธรรมชาติส่งผลกระทบต่อสังคมมนุษย์ หากภัยธรรมชาติ
ไม่ส่งผลร้ายแรงต่อสงั คมมนุษยจ์ ะไม่เรียกวา่ ภยั พิบัตติ ามนิยามน้ี
ตวั อย่างภัยพบิ ัติทีเ่ กดิ ขึ้นในประเทศไทย ได้แก่
พายโุ ซนรอ้ นท่ีถลม่ แหลมตะลุมพุกเมอ่ื พ.ศ. 2505

พายุเกย์

แผ่นดินไหวทเี่ ชียงราย พ.ศ. 2557

ประเทศไทย ใช้คำว่า สาธารณภัย แทนคำว่าภัยพิบัติ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย 2550 โดยระบุว่า “สาธารณภัย” หมายถึง“อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง โรคระบาด
ในมนุษย์ โรคระบาดสัตว์ โรคระบาดสัตว์น้ำ การระบาดของศัตรูพืช ตลอดจนภัยอ่ืน ๆ อันมีผลกระทบต่อ
สาธารณชน ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติ มีผู้ทำให้เกิดข้ึน อุบัติเหตุหรือเหตุอื่นใด ซ่ึงก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต
รา่ งกายของประชาชนหรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชน หรือของรัฐ และให้หมายความรวมถึงภัย
ทางอากาศ และการกอ่ วินาศกรรดว้ ย”

ความล่อแหลม (Exposure) หมายถึงการท่ีผู้คน อาคารบ้านเรือน ทรัพย์สิน ระบบต่าง ๆ หรือ
องค์ประกอบใด ๆ มีท่ีต้ังอยู่ในพ้ืนท่ีเส่ียงภัย เป็นการมองทางกายภาพของพ้ืนท่ีตั้งเป็นหลัก ตัวอย่างเช่น
โรงเรยี นทตี่ ้ังอยู่ริมแม่นำ้ มีโอกาสเผชิญภัยจากแผน่ ดนิ ทรดุ ตวั

• ฝนตกหนักโรงเรียนรมิ นำ้ ทา่ จีน ดินทรุด ลึกเกือบ 2 ม.

ความเปราะบาง (Vulnerability) หมายถึงปัจจัยหรือสภาวะใดๆก็ตามทท่ี ำให้ผู้คนไมส่ ามารถรับมือ
กับภัยธรรมชาติ ตลอดจนไม่สามารถฟื้นฟูชีวิตความเป็นอยู่ได้หลังจากเกิดภัยพิบัติ ในกรณีของสถานศึกษา
ความเปราะบางแบ่งเป็นความเปราะบางด้านโครงสร้าง (Structural Vulnerability) คือส่ิงก่อสร้างท่ีมองเห็น
และความเปราะบางท่ีไม่ใช่โครงสร้าง (non-structural vulnerability) เช่น ความเปราะบางทางสังคม
เศรษฐกจิ เพศ วัย ความรู้

ยกตัวอย่างของความเปราะบาง เช่น อาคารสถานท่ีเรียนที่ไม่ปลอดภัย ระบบสาธารณูปโภคใน
โรงเรียนทรุดโทรม ถือเป็นความเปราะบางด้านโครงสร้าง ถ้าบุคลากรในสถานศึกษาไม่มีความรู้ทางบริหาร
จดั การภัยพิบัติ นักเรียนที่ขาดทักษะในการเอาตัวรอดจากอันตราย โรงเรียนมีนักเรียนพิการท่ีช่วยเหลือตัวเอง
ระหว่างเกิดเหตุไม่ได้ ตลอดจนการขาดความสามัคคีของบุคลากร ก็ถือเป็นความเปราะบางที่ไม่ใช่โครงสร้าง
เปน็ ต้น

ความสามารถหรอื ศักยภาพ (Capacity) หมายถึง ความสามารถในการรบั มือกบั ภัยพิบัติ คอื การใช้
คน ความรู้ทักษะและทรัพยากรท่ีมีอยู่ชองสถานศึกษามาจัดการภัยพิบัติ และนำมาพัฒนาเพ่ือเพิ่มขีด
ความสามารถในการรับมือให้สูงขึ้น แบ่งเป็น 1) ความสามารถเชิงกายภาพ (Structural Capacity) ได้แก่
อาคารสถานที่ สาธารณูปโภค 2) ความสามารถท่ีไม่ใช่กายภาพ (Structural Capacity) ได้แก่ ความสามารถ
ของบุลากร เช่น การดำเนินมาตรการลดผลกระทบ การมีแผนเผชิญเหตุ การมีเคร่ืองมืออุปกรณ์ช่วยชีวิตท่ี
จำเป็น การฝึกอบรมทักษะให้นักเรียนในการปกป้องชีวิตและทรัพย์สินจากเหตุการณ์ภัยธรรมชาติหรือ
สถานการณ์ฉุกเฉิน ความสามารถทางเศรษฐกิจและสังคม (Socioeconomic capacity) ได้แก่ นโยบาย
งบประมาณ และกลไกท่ีสง่ เสริมการจัดการภยั พบิ ตั ใิ นสถานศึกษา เป็นตน้

• สพฐ. จบั มือญ่ีปุ่น ขนนกั เรียน ครู ซ้อมรบั มือแผน่ ดินไหว-ภยั พิบัติ

3.2 วงจรการจัดการภยั พิบัติ (Disaster Management Cycle)
การจัดการภัยพิบัติ สามารถแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะก่อนเกิดภัย ระหว่างเกิดภัยและหลังเกิดภัย

โดยในแต่ละระยะมีแนวทางปฏิบัติกว้างๆ ได้แก่ ก่อนเกิดภัยเป็นเวลานานจะเป็นการดำเนินมาตรการป้องกัน
ไม่ให้เกิดภัยพิบัติ หรือหากป้องกันไม่ได้ ก็ต้องหาทางบรรเทาหรือลดผลกระทบ เรียกว่า (Prevention and
Mitigation) แต่ถ้ายังมีโอกาสเกิดภัยแน่นอนก็จะต้องเตรียมความพร้อมเพื่อเผชิญเหตุ (Preparedness) และ
ในระหว่างเกิดภัย จะต้องใช้มาตรการการจัดการภาวะวิกฤติ (Crisis Management) หรือการโต้ตอบ
สถานการณ์ฉุกเฉิน (Emergency Response) เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายลุกลามจนทำให้ภัยกลายเป็นภัย
พิบัติ และเม่ือเหตุการณ์เลวร้ายน้ันได้ผ่านไปแล้ว จะต้องดำเนินการฟื้นฟูเยียวยา และการบูรณะซ่อมแซม
(Rehabilitation and Reconstruction) สิ่งท่เี สียหายใหป้ ลอดภยั กว่าเดิม

หัวข้อ 4 : กรอบการทำงานสถานศึกษาปลอดภยั รอบด้าน

กรอบการทำงานดา้ นความปลอดภัยรอบดา้ นในสถานศกึ ษา
องค์ประกอบทง้ั สามเสาภายใตก้ รอบการทำงานเพ่ือความปลอดภัยรอบด้านในสถานศึกษา ไดแ้ ก่

เสาท่ี 1 อาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกในสถานศกึ ษาทปี่ ลอดภัย (Safe Learning Facilities) เป็น
เรอ่ื งเกี่ยวกับการพิจารณาสถานที่สร้างสถานศึกษา การก่อสร้างท่ีถูกต้องตามหลักกฎหมายและการกำกบั ดูแล
ความปลอดภยั ของสถานที่

เสาที่ 2 การจัดการภัยพิบัติในสถานศึกษา (School Disaster Management) เป็นเรื่องเกี่ยวกับการ
จัดสรรและบริหารทรัพยากรต่าง ๆ เพ่ือการป้องกันการสูญเสียและความเสียหาย ตลอดจนการฝึกอบรม
เพิม่ พูนทกั ษะใหบ้ คุ ลากรและนักเรียนสามารถชว่ ยเหลอื ตนเองใหป้ ลอดภยั

เสาท่ี 3 การให้ความรู้ด้านการลดความเสี่ยงและการรู้รับปรับตัว (Risk Reduction and Resilience
Education) เปน็ การจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องท้ังในเรื่องความรู้และทักษะการลดความเส่ียงและการ
ปรบั ตัวใหพ้ ร้อมรบั ภัยธรรมชาติ

หัวข้อ 5 : การประเมินความเสยี่ ง (วธิ ปี ระเมินความเสี่ยง และเครือ่ งมือต่างๆ และวิธีใชเ้ คร่อื งมือ)

5.1 ปฏทิ ินฤดกู าล (Seasonal Calendar)
สถานศึกษาสามารถใช้ปฏิทินฤดูกาลเป็นเคร่ืองมือแสดงให้เห็นความสอดคล้องของช่วงระยะเวลา

ฤดูกาล ช่วงเวลาท่ีเกดิ ภัย และชว่ งเวลาจัดกจิ กรรมต่างๆของสถานศึกษา ทำให้เห็นความเส่ียงภัยธรรมชาติใน
แต่ช่วงเวลา ปฏิทินของแต่ละสถานศึกษาอาจจะไม่เหมือนกันข้ึนอยู่กับบริบททางสังคมและสภาพอากาศ เช่น
เดือนแห่งการเริ่มฤดมู รสุมของภาคเหนือย่อมแตกต่างจากภาคใต้ ภัยจากแผ่นดินไหวมีโอกาสเกิดในจังหวัดท่ีมี
รอยเล่ือนมากกว่าจังหวัดท่ีไม่มรี อยเลื่อน ภัยสึนามิจะเกิดในพ้ืนทช่ี ายฝ่ังทะเลด้านอา่ วไทยและอนั ดามัน แต่ไม่
มีภยั สนึ ามิในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื โอกาสท่ีเด็กจะเปน็ อนั ตรายหากเกิดภัยพิบัติ
ในช่วงเปิดเทอมย่อมสูงกว่าโอกาสที่จะเกิดในช่วงปิดเทอม แต่โอกาสท่ีเด็กจะจมน้ำตายในช่วงปิดเทอมก็มี
มากกวา่ ในชว่ งเปิดเทอม เป็นต้น
ตวั อย่างปฎทิ นิ ฤดูกาลที่แสดงภัยและสถานท่ีเส่ียงภัยในรอบปี

5.2 แผนทคี่ วามเส่ียงภัยสถานศกึ ษา (School Risk Map)
การจดั ทำแผนท่ีเสี่ยงภัยน้ันมีวัตถปุ ระสงค์เพื่อให้ทุกคนได้เข้าใจตรงกันถึงพ้ืนท่ีเส่ียงภัย จุดเปราะบาง

จุดล่อแหลมและทรัพยากรต่างๆที่มีในพ้ืนท่ี และใช้เป็นเคร่ืองมือช่วยในการวางแผน ในการทำแผนท่ีเส่ียงภัย
จะทำเป็นแผนท่ีเฉพาะแสดงพื้นที่ภายในสถานศึกษา หรือจะทำเป็นแผนที่ที่แสดงพื้นที่ใกล้เคียง เช่น ชุมชน
รอบร้ัวสถานศกึ ษา หรือพนื้ ที่อนื่ ๆก็ได้ ขน้ึ อย่กู บั วัตถุประสงคท์ ่ีต้องการ
ข้อแนะนำในการทำแผนทีเ่ ส่ียงภยั พิบัตธิ รรมชาติ

• แผนที่เส่ียงภัยแสดงแผนผังของสถานศึกษา อาคารเรียน อาคารประกอบ แต่จะมีการใส่ข้อมูล
ความเสี่ยงภัยหรือข้อมูลภัยที่เคยเกิดภัยมาแล้วในอดีต ควรมีการระบุความเปราะบาง เช่น
ห้องเรียน หรืออาคารที่มีกลุ่มเปราะบาง เช่น เด็กเล็ก เด็กพิการ หรือกลุ่มที่ต้องได้รับความ
ชว่ ยเหลอื เปน็ พเิ ศษ

• การทำแผนท่ีความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติ อาจจะใช้แผนท่ีเหมือนกับแผนผังหนีไฟของ
สถานศึกษาก็ได้แต่ต้องพิจารณาผลกระทบของภยั และลักษณะของภัย หากเป็นภัยท่ีเกดิ ข้ึนอย่าง
ฉับพลันทันที และสามารถใช้เส้นทางหนีภัยและจุดปลอดภัยท่ีอยู่ในแผนป้องกันอัคคีภัยได้
ก็สามารถใช้แผนทรี่ ่วมกันได้

• แผนทเ่ี ส่ยี งภัยอาจใชเ้ ป็นแผนทแี่ สดงเส้นทางหนีภยั ดว้ ยคือตอ้ งระบพุ ้นื ท่ีปลอดภยั เส้นทางอพยพ
• แผนที่เสี่ยงภัยสถานศึกษาอาจจะขยายไปถึงการแสดงอาณาเขตรอบสถานศึกษา หรือสภาพ

กายภาพของชุมชนแวดล้อม เช่น วัด โรงพยาบาล สถานีอนามัย ที่ทำการองค์การบริหารส่วน
ตำบล สถานีตำรวจ
• ในการทำแผนทเี่ ส่ียงภัย ควรมีการเดนิ สำรวจสถานที่และควรใหน้ ักเรียนได้เขา้ มามสี ่วนรว่ มกบั ครู
เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน หากเป็นการทำแผนท่ีท่ีครอบคลุมชุมชนรอบนอก ก็จะต้องมีการ
เดินสำรวจชุมชนและสัมภาษณ์คนในชุมชนถึงประวัติการเกิดภัย เส้นทางปลอดภัย และปัจจัย
แวดล้อมอ่นื ๆ ด้วย
• หากสถานศึกษามีนักเรียนพิการ ควรให้นักเรียนพิการได้เข้าร่วมกระบวนการหาข้อมูลเพื่อสืบหา
การรับรู้ความเส่ียงของนักเรียนพิการ เพื่อจัดทำมาตรการและวางแผนท่ีเหมาะสมกับนักเรียน
พกิ ารต่อไป
โครงการลดความเสีย่ งภยั พิบตั ิในสถานศกึ ษา JICA

ตัวอยา่ งแผนที่เส่ียงภัยของสถานศกึ ษา

5.3 แผงผังวงกลม (Venn Diagram)
วิธีการน้ีสามารถใช้กับการระดมความคิดเพ่ือวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของผู้ท่ีเก่ียวข้อง (stake

holder mapping) เช่น การระบุหน่วยงานหรือองค์กรในพ้ืนที่ที่สามารถให้ความช่วยเหลือในการบริหาร
จัดการภัยพิบัติได้ โดยวางตำแหน่งหน่วยงานท่ีมีความสมั พันธ์ใกล้ชิดและสามารถขอความช่วยเหลือไดร้ วดเร็ว
ไว้ใกล้ตำแหน่งของสถานศึกษา เปน็ ต้น วิธีน้ีจะทำให้มองเห็นท้ังความเปราะบางและศกั ยภาพของสถานศกึ ษา
ผา่ นเครอื ขา่ ย

5.4 การจัดลำดบั ภัยธรรมชาติท่ีมผี ลกระทบต่อสถานศกึ ษา
ในการจัดทำแผนบริหารจัดการภัยพิบัติธรรมชาติน้ัน ควรประเมินความเส่ียงภัยธรรมชาติเพ่ือระบุ

ความเสี่ยงท่ียอมรับได้และความเส่ียงที่ยอมรับไม่ได้ สถานศึกษาสามารถใช้ตารางกำหนดความเสี่ยงและ
ตารางอ้างองิ ความถแี่ ละตารางอา้ งอิงคะแนนความเสีย่ งในการประเมินความเสีย่ งภยั

แบบทดสอบหลังเรยี น บทที่ 1

1. ข้อใดไม่ใช่บทบาทหนา้ ท่ีของกระทรวงศึกษาธิการตามแผนปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั
ก.พัฒนาหลักสูตรป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยให้นักเรยี น นกั ศึกษา
ข.ส่งเสรมิ ใหค้ วามรูแ้ ละสรา้ งจติ สำนึกในการลดความเสย่ี งภัยพิบัตแิ กน่ ักเรียน นกั ศึกษา ประชาชน
ค.จัดกจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชวี ติ แกล่ กู เสือ เนตรนารี เช่น วิธีปฐมพยาบาล เป็นตน้
ง.ส่งเสรมิ ให้ความรู้แกป่ ระชาชนเรอื่ งการเรยี กร้องสทิ ธติ ามกฎหมาย

2. การสร้างความตระหนักในการลดความเสี่ยงจากภยั พบิ ตั ิในสถานศกึ ษาควรเริม่ ต้นอย่างไร
ก.ใหค้ วามรู้และปรับทัศนคติของครู นกั เรยี นและบุคลากรทางการศกึ ษาเรอ่ื งการจัดการภยั พิบัติ
ข.ดำเนินมาตรการและวิธกี ารปฎิบตั ิทกุ อยา่ งตามกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ค.การดแู ลโครงสรา้ งพน้ื ฐานให้ปลอดภัย
ง.สรา้ งความสามารถในการฟื้นตวั ได้

3. สามเสาหลักภายใตก้ รอบการทำงานด้านความปลอดภัยรอบดา้ นในสถานศึกษามเี น้ือหาหลกั เรอื่ งอะไร
ก.ผู้อำนวยการ ครู นกั เรียน
ข.ความลอ่ แหลม ความเปราะบาง และความสามารถในการรบั มือ
ค.อาคารสถานที่ การบริหารจัดการภัยพิบัติ การจดั การเรียนการสอนเรื่องการลดความเส่ียง
ง.บา้ น วัด โรงเรียน

4. ข้อใดแสดงใหเ้ หน็ ถึงความเขา้ ใจต่อการลดความเสยี่ งจากภัยพิบตั ิ
ก.ผูอ้ ำนวยการสง่ั ให้ขยายทางระบายน้ำรอบโรงเรียนเพ่ือไม่ใหน้ ำ้ ท่วมขงั
ข.ครสู อนใหน้ กั เรียนร้จู ักวิธีตะโกน โยน ยื่น เพ่อื ช่วยคนจมนำ้
ค.ภารโรงตรวจสอบถังดับเพลิงสม่ำเสมอตามวิธีท่ีเจ้าหนา้ ทเ่ี ทศบาลสอนไว้
ง.ถกู ทุกข้อ

5. กรอบเซนได(Sendai Frame work) ทีจ่ ะใช้ในปี 2558-2573 เนน้ การทำงานดา้ นใด
ก.การคุ้มครองเดก็ สตรี และคนชราในสถานการณ์ภยั พิบัติตามหลักสากล
ข.แนวทางการลดความเส่ียงจากภัยพบิ ตั ิท่ีเปน็ มาตรฐานสากล
ค.การให้ความชว่ ยเหลือกล่มุ เปราะบางในการอพยพจากสถานการณภยั พิบัติ
ง.ความร่วมมอื ระหว่างอาเซยี นในการลดความเสีย่ งภัยพิบัติ

6. ภัย (Hazard) ความล่อแหลม (Exposure) ความเปราะบาง (Vulnerability) และความสามารถในการ
รบั มอื (Coping Capacity) เป็นองคป์ ระกอบของอะไร

ก.กรอบการทำงานเซนได
ข.ความเส่ียงต่อการเกิดภัยพิบัติ
ค.แผนปอ้ งกนั ภัยพิบตั ิ
ง.ปฏิทินฤดกู าล

7. คำว่า ภัย ต่างจากคำวา่ ภยั พิบตั หิ รือไม่ อย่างไร
ก.ต่างกัน เพราะภยั หมายถึงสภาวะที่เกิดตามธรรมชาติของโลก เช่น ฝนตก น้ำทว่ ม พายุ หรือสภาวะ

อันตรายจากการกระทำของมนุษย์ เช่น การก่อการร้าย และภัยธรรมชาติจะกลายเป็นภัยพิบัติเมื่อชุมชนหรือ
สังคมไมส่ ามารถต้านทานภัยนั้นๆได้ด้วยความสามารถและทรัพยากรของตนจนทำใหเ้ กิดความเสียหายแก่ชวี ิต
และทรัพย์สินอย่างมาก และทำให้กิจกรรมต่างๆในระบบสังคม เช่น การศึกษา การค้า คมนาคม การบริการ
ทางการแพทย์ และอื่นๆต้องหยุดชะงัก

ข.ต่างกัน เพราะภัยพิบัติหมายถึงความเปราะบางของสถาบันการศึกษา เช่น อาคารไม่แข็งแรงทำให้
อาคารถลม่ เวลาเกิดแผน่ ดินไหว ครูไม่มแี ผนการสอนเรอ่ื งการลดความเส่ียงที่มปี ระสทิ ธิภาพ ส่วนภยั คอื การไม่
ทำแผนบรหิ ารจดั การภัยพิบตั ทิ ำให้เกิดการสูญเสยี ทรพั ย์สิน การเรยี นการสอนตอ้ งหยดุ ชะงัก เดก็ ตอ้ งออกจาก
โรงเรยี น

ค.ต่างกัน เพราะภัยคือส่ิงท่ีส่งมาจากพระเจ้า เป็นโชคชะตาที่ลิขิตไว้แล้ว ส่วนภัยพิบัติคือการปรับตัว
ของโลกให้เกดิ สมดลุ ย์เพอ่ื ให้โลกดำเนนิ ตอ่ ไปได้

ง.เหมือนกนั เพราะเปน็ คำท่ใี ช้แทนกนั ได้
8. บทบาทหนา้ ท่ีของสถานศึกษาในการจัดการภยั พิบัติคืออะไร

ก.จดั ทำแผนรบั มือภยั พบิ ัติและมีการซ้อมแผนอยา่ งนอ้ ยภาคเรียนละ 1 คร้ัง
ข.มกี ารแจ้งเตือนภยั พิบัติในแต่ละช่วงใหบ้ คุ ลากรทราบ
ค.จัดให้มีเด็กที่มีความตอ้ งการพเิ ศษอยู่ในการซ้อมแผนดว้ ย
ง.ถูกทุกขอ้
9. หากต้องการกำหนดเสน้ ทางหนีภยั และจดุ ปลอดภยั ควรใชเ้ คร่ืองมืออะไร
ก.แผนผงั โรงเรียน
ข.แผนท่ีเสีย่ งภยั
ค.Venn Diagram
ง.การจดั ลำดับภัย
10. การระดมความคิดเพื่อวเิ คราะห์หาความสัมพันธ์ของผู้ทีเ่ กี่ยวข้อง (stake holder mapping) ควรใช้
เคร่อื งมอื อะไร
ก.แผนผังโรงเรียน
ข.แผนท่ีเสี่ยงภยั
ค.Venn Diagram
ง.การจดั ลำดับภยั

เฉลยทา้ ยบทเรียน บทท่ี 1

1. ขอ้ ใดไม่ใช่บทบาทหน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการตามแผนป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั

• สง่ เสริมให้ความร้แู กป่ ระชาชนเรื่องการเรียกร้องสทิ ธิตามกฎหมาย
2. การสร้างความตระหนกั ในการลดความเสย่ี งจากภยั พิบตั ิในสถานศึกษาควรเรม่ิ ต้นอย่างไร

• ให้ความรู้และปรับทัศนคติของครู นักเรียนและบคุ ลากรทางการศกึ ษาเร่ืองการจดั การภัยพิบัติ
3. สามเสาหลักภายใต้กรอบการทำงานด้านความปลอดภัยรอบด้านในสถานศึกษามเี นื้อหาหลกั เร่ืองอะไร

• อาคารสถานที่ การบรหิ ารจัดการภยั พบิ ตั ิ การจัดการเรยี นการสอนเรือ่ งการลดความเสีย่ ง
4. ข้อใดแสดงให้เหน็ ถึงความเข้าใจต่อการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ

• ถกู ทกุ ข้อ
5. กรอบเซนได(Sendai Frame work) ท่ีจะใชใ้ นปี 2558-2573 เนน้ การทำงานดา้ นใด

• แนวทางการลดความเสี่ยงจากภัยพบิ ัติท่เี ปน็ มาตรฐานสากล
6. ภัย (Hazard) ความล่อแหลม (Exposure) ความเปราะบาง (Vulnerability) และความสามารถในการ
รับมือ (Coping Capacity) เปน็ องคป์ ระกอบของอะไร

• ความเสีย่ งต่อการเกดิ ภยั พบิ ัติ
7. คำว่า ภยั ตา่ งจากคำว่าภัยพบิ ัติหรือไม่ อยา่ งไร

• ตา่ งกัน เพราะภัยหมายถึงสภาวะท่ีเกิดตามธรรมชาติของโลก เช่น ฝนตก น้ำท่วม พายุ หรือ
สภาวะอันตรายจากการกระทำของมนษุ ย์ เช่น การก่อการร้าย และภยั ธรรมชาติจะกลายเป็น
ภัยพิบัติเมื่อชุมชนหรอื สังคมไม่สามารถต้านทานภัยนัน้ ๆไดด้ ้วยความสามารถและทรัพยากร
ของตนจนทำใหเ้ กิดความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพยส์ ินอย่างมาก และทำให้กิจกรรมต่างๆใน
ระบบสังคม เช่น การศึกษา การค้า คมนาคม การบริการทางการแพทย์ และอื่นๆต้อง
หยดุ ชะงัก

8. บทบาทหนา้ ท่ขี องสถานศึกษาในการจดั การภัยพิบัติคืออะไร

• ถกู ทุกข้อ
9. หากต้องการกำหนดเสน้ ทางหนภี ัยและจุดปลอดภยั ควรใชเ้ ครื่องมืออะไร

• แผนที่เสยี่ งภัย
10. การระดมความคิดเพื่อวิเคราะหห์ าความสัมพนั ธข์ องผู้ท่ีเก่ยี วข้อง (stake holder mapping) ควรใช้
เครอ่ื งมืออะไร

• Venn Diagram

บทท่ี 2 อาคารสถานทป่ี ลอดภัย

1. วตั ถปุ ระสงค์
1.เพ่ือให้เขา้ ใจการประเมินความเส่ียงของอาคารสถานท่ี ส่วนประกอบอาคาร
2.เพอ่ื ให้เข้าใจหลักการจัดพื้นท่ใี ช้สอยในอาคารและสภาพแวดลอ้ ม
3.เพอื่ ให้สามารถจดั สภาพแวดล้อมการใช้พ้ืนที่ใหป้ ลอดภัย

2. หวั ขอ้ การเรียนรู้
1.การประเมินความปลอดภัยของอาคารสถานท่ี
2.การเลือกที่ต้ังสถานศึกษาใหป้ ลอดภยั
3.ความเสี่ยงตอ่ ภยั พิบัติของอาคารเรียน อาคารประกอบ วัสดุ ครภุ ณั ฑ์ที่อย่ใู นอาคาร
4.ความเสีย่ งของสภาพแวดล้อมภายนอกอาคารและระบบสาธารณูปโภค
5.การจดั สภาพแวดล้อมใหป้ ลอดภัย
6.การจดั สภาพแวดลอ้ มโดยคำนึงถึงการลดความเสี่ยงภยั พิบตั ิ
7.การจดั เส้นทางปลอดภยั และจุดรวมพลเพอื่ การหนีภัยภายในโรงเรียน
8.การจดั ส่ิงอำนวยความสะดวกเพื่อคนพิการ
9.ตัวอย่างการปรับปรุงอาคารสถานที่

3. แบบประเมินเร่อื งอาคารสถานที่ (ศกึ ษาแบบประเมิน)
1.สถานทีต่ ัง้
2.สภาพอาคารเรยี น อาคารประกอบ (structural and non-structural) วัสดุ ครุภัณฑ์ (ตอ้ ง link

กฎหมายควบคมุ อาคาร)
3.สภาพแวดลอ้ มภายนอกอาคาร (environment)
4.ระบบสาธารณปู โภค infrastructure นำ้ ไฟ ระบบระบายนำ้ ถนน ระบบส่ือสาร เสาไฟฟ้า
5.การประเมนิ การเข้าถงึ หรือการจัดสง่ิ อำนวยความสะดวกคนพิการ

หัวข้อ : การประเมนิ ความปลอดภัยของอาคารสถานที่
1. การประเมนิ ความปลอดภัยของอาคารสถานที่

สถานศึกษาถือเป็นอาคารสาธารณะท่ีมีผู้คนเป็นจำนวนมากเข้าไปใช้ในแตล่ ะวัน ไม่ว่าจะเป็นนักเรียน
ครู ผู้ปกครอง ดังนั้น จึงมีการบัญญัติการควบคุมการก่อสร้างและการใช้อาคารเรียนไว้ในกฎหมายควบคุม
อาคาร โดยกฎหมายควบคุมอาคารน้ันมีผลใช้กับ“โรงเรียนและสถานศึกษาซึ่งเป็นสถานท่ีอบรมให้การศึกษา
แก่เยาวชนของ ประเทศเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพจนสามารถเป็นฐานการพัฒนาประเทศ ดังน้ัน อาคารของ
โรงเรียนและสถานศึกษาต่าง ๆ จึงจะต้องมีการก่อสร้างให้ถูกต้องและเป็นไปตามหลักการวิชาการและตาม
กฎหมายควบคุมอาคารกําหนดต้ังแต่อนุบาลจนถึงระดับปริญญา”ผู้บริหารสถานศึกษาควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
ด้านกฎหมายควบคุมอาคาร และควรศึกษาระเบียบกระทรวงศึกษาธิการท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือการวางแผนการ
ออกแบบ การก่อสรา้ ง และการจดั ทำงบประมาณเพอ่ื การปรับปรุงแกไ้ ขอาคารเรียน

1.1 การเลอื กท่ีตั้งสถานศึกษาให้ปลอดภัย
สถานศึกษาจะต้องตั้งอยู่ในพื้นปลอดภัยและต้องเลือกพื้นท่ีปลอดภัยในการก่อสร้างอาคารเรียน

อาคารประกอบ หรือสถานที่สำหรับกิจกรรม แม้ว่าสถานศึกษาส่วนใหญ่จะสร้างไว้นานแล้ว ควรจะมีการ
ตรวจสอบความปลอดภัยของสถานท่ีและพื้นท่ีโดยรอบอยู่ตลอดเวลา เพราะความเสี่ยงภัยพิบัติย่อมเปลี่ยนไป
ตามการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม ตัวอยา่ งเชน่ กรณี สถานศึกษาต้ังอยู่ตดิ กบั ทางลาดไหล่เขา เม่อื เกิดฝนตก
หนกั ตอ่ เน่อื ง สภาพดนิ ไมส่ ามารถอุ้มน้ำต่อไปได้ ทำให้เกดิ ดนิ สไลด์ ดังตัวอย่างตอ่ ไปนี้
ตัวอย่างข้อพิจารณาในการเลือกพื้นทีส่ ร้างสถานศึกษาและอาคาร ได้แก่

• พื้นที่สรา้ งอาคารควรที่จะเปน็ ทีส่ งู น้ำทว่ มไมถ่ ึง โครงสรา้ งช้นั ดินแขง็ แรง ไมม่ ที างนำ้ ไหลผา่ นใต้ดิน
• ท่ีต้งั ของสถานศึกษาควรห่างจากแหลง่ มลพิษ เชน่ โรงงาน นคิ มอุตสาหกรรม สนามบนิ บอ่ ขยะ
• สถานท่ีต้ังของสถานศึกษาควรอยู่ติดหรือไม่ไกลจากเส้นทางจราจรหลักเพ่ือให้ควบคุมดูแลนักเรียน

และรักษาความปลอดภัย แต่ควรมีประตูสำรองสำหรบั ใช้เมอ่ื เกดิ เหตุฉุกเฉิน
1.2 ความเสี่ยงต่อภัยพิบัตขิ องอาคารเรยี น อาคารประกอบ วัสดุ ครภุ ณั ฑท์ ่ีอยใู่ นอาคาร
ตัวอยา่ งลกั ษณะความเสย่ี งของพื้นที่ภายในอาคารเรียน

• ทางเดินหรือบันไดทางข้ึนอาคารท่ีแคบ ไม่มีราวจับ เม่ือจำเป็นต้องอพยพฉุกเฉิน ผู้คนต้องรีบเดินขึ้น
หรือลงอย่างรวดเร็ว อาจมีการล่ืนพลัดตกหกล้ม และในกรณีท่ีมืด มองไม่เห็นทางหรือกรณีผู้พิการ
ทางสายตา การมรี าวจบั ตามบนั ไดจะชว่ ยนำทางและช่วยการทรงตวั

• ช่องลมหรือช่องทางเดินที่มีการถ่ายเทอากาศไม่ดี เม่ือเกิดไฟไหม้ ควันไฟจะลอยไปตามทางเดิน ช่อง
ลมและหอ้ งตา่ ง ๆ อยา่ งรวดเร็วและไม่ระบายออก

• สายไฟ อุปกรณ์ไฟฟ้าท่ีไม่ได้มาตรฐาน ไม่ได้รับการดูแล ติดต้ังผิดแบบหรือมีการใช้งานไม่เหมาะสม
จะทำใหเ้ กดิ ไฟไหมไ้ ดง้ า่ ย

• ตหู้ รือชนั้ วางหนังสือสงู ที่ไม่มีการยึดติดกับฝาผนัง อาจจะล้มลงมาทับครูหรือนักเรยี น ส่ิงของท่ีวางไวท้ ี่
สงู และอาจจะตกหล่นลงมาโดนศรี ษะ โดยเฉพาะเวลาเกดิ เหตแุ ผ่นดินไหว หรือเกิดพายุรนุ แรง

• ประตูหรือหน้าต่างที่มีบานเปิดเข้าข้างในจะให้การหนีภัยฉุกเฉินไม่สะดวกควรติดตั้งบานประตูที่ผลัก
ออกและเป็นการป้องกันน้ำ แบบเดียวกับธรณีประตูคือ เมอ่ื เป็นแบบเปิดออกจะทำใหด้ ้านนอกต่ำกว่า
ด้านใน หากมีฝนตกสาด นำ้ ก็จะไหลออกไปขา้ งนอก

• หน้าต่างหรือประตูท่ีเป็นบานกระจก มีโอกาสแตกเพราะแรงลม ไม่ว่าจะเป็นพายุฤดูร้อน พายุหมุน
เขตร้อน ลูกเห็บหรือเศษกิ่งไม้วัสดุส่ิงของที่ลมพัดมากระแทกบานกระจกทำให้คนที่อยู่ใกล้ประตู
หน้าตา่ งได้รับอนั ตรายจากเศษกระจกแตก

• ผนังอาคารและเสาท่ีไม่ได้มาตรฐาน หรือมีอายุการใช้งานมานาน อาจจะมีร่องรอยปลวกกิน มีน้ำ
รั่วซึมทำให้ช้ืนและข้ึนรา ใกล้หมดสภาพการใช้งานอาจจะพังถล่มเม่ือถูกลมพายุ หรือเมื่อแช่น้ำเป็น
เวลานาน หรือเมือ่ ได้รบั แรงสนั่ สะเทือน ดังตัวอย่างตอ่ ไปน้ี

1.3 ความเสยี่ งของสภาพแวดล้อมภายนอกอาคารและระบบสาธารณูปโภคเมอื่ เกิดภยั ธรรมชาติ
• สถานศกึ ษาอย่รู ิมน้ำแตไ่ ม่มีรวั้ กนั้ เมือ่ เกดิ ฝนตกนำ้ ท่วมทำใหก้ ระแสนำ้ ไหลทะลักเข้าพน้ื ท่ี
• ถนนหนทางก่อนถึงสถานศึกษาไม่มีทางเดินเท้าท่ีปลอดภัย นักเรียนต้องเสี่ยงอันตรายในการเดินทาง
ไปและกลบั
• ประตูทางเข้าสถานศึกษามีช่องทางเดียวและไม่กว้างพอสำหรับยานหานะขนาดใหญ่ เช่น รถ
บัส รถบรรทุกท่ีใช้ในการอพยพรถดับเพลิง และไม่มีพ้ืนท่ีจอดรถสำหรับสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น
รถพยาบาล
• มีต้นไม้ใหญ่ เสาไฟฟ้า ป้ายโฆษณารอบบริเวณสถานศึกษาอาจจะโค่นล้มเมื่อเกิดพายุ ควรพิจารณา
หาทางแก้ไข เช่น ตัดเล็มกิ่งไม้ที่ผุ แจ้งหน่วยงานท่ีดูแลเสาไฟฟ้า ป้ายโฆษณาให้แก้ไข ควรมีการติด
ปา้ ยเตอื นนกั เรยี นให้ระวัง
• บอ่ น้ำท่ีไม่มีสิ่งกีดขวาง ไมม่ ีปา้ ยเตอื น ทำใหเ้ กิดอนั ตรายจากการตกน้ำ จมน้ำ หรอื ทำใหม้ องไม่เหน็ ว่า
เป็นบ่อนำ้ เวลาเกิดน้ำทว่ มสงู จนเปน็ ระดับเดยี วกนั
• ท่อระบายน้ำที่เล็กเกินไป ไม่มีตะแกรงกันเศษขยะ เศษดินโคลนทำให้อุดตัน เวลาเกิดฝนตกน้ำไม่
สามารถระบายไดด้ ี ทำให้เกิดนำ้ ท่วมขังในพื้นที่และอาคารเรยี น
• เตาเผาขยะ หรือพื้นทกี่ ักเกบ็ ขยะ ปฏิกูลอยู่ใกล้อาคาร มโี อกาสท่ีจะเกิดการปนเปื้อนในอาหาร น้ำดื่ม
นำ้ ใช้ หรือเกดิ มลพษิ ทางอากาศได้ง่าย

หัวข้อ : การจัดสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัย
2. การจัดอาคารสถานทแี่ ละสภาพแวดลอ้ ม

อาคารเรียนหรืออาคารประกอบเป็นส่ิงก่อสร้างถาวร และย่อมเกิดการชำรุดทรุดโทรมไปตามเวลาจึง
ต้องรับการบำรุงรักษาอยเู่ สมอและดูแลให้สามารถรับน้ำหนักของนักเรียนและส่ิงของต่าง ๆในอาคารเพ่ือไมใ่ ห้
เกดิ อุบัตเิ หตุในขณะใชง้ านปกตแิ ละสถานการณเ์ ก่ียวกบั ภัยธรรมชาติ สถานศึกษาจะตอ้ งดำเนนิ การตรวจสอบ
โครงสร้างและส่วนประกอบอาคาร ตลอดจนอุปกรณ์ต่าง ๆที่ติดตั้งไว้อย่างสม่ำเสมอ หากพบความผิดปกติ
ต้องสั่งปิดอาคารและประกาศเป็นเขตหวงห้าม หรือเขตอนั ตราย ห้ามเข้าใช้เด็กขาด จนกว่าจะมีการซ่อมแซม
หรืออาจจะจำเปน็ ตอ้ งรอ้ื ถอนอาคาร หากซ่อมแซมไม่ได้
2.1 การจดั สภาพแวดล้อมโดยคำนึงถึงการลดความเสี่ยงภยั พิบตั ิ

• ถนนทางเข้าออกในโรงเรียน ควรจัดให้เอ้ืออำนวยต่อการอพยพและการเข้าออกของรถพยาบาล
รถดบั เพลงิ ควรมจี ุดจอดรถทีส่ ำรองไวส้ ำหรับรถฉุกเฉนิ โดยเฉพาะ

• ทางเข้าออกทุกทางควรสร้างทางลาดไว้ด้วยเพื่อความสะดวกในการใช้รถเข็นน่ัง รถพยาบาล เตียง
พยาบาลในกรณีทีม่ ีผู้บาดเจบ็ ท่ีต้องเคล่ือนยา้ ยดว้ ย

• ในกรณีฉุกเฉินท่ีต้องรักษาความปลอดภัยอย่างเขม้ งวด ควรจดั พื้นท่ีหน้าโรงเรียนสำหรับผปู้ กครองมา
รอรับบุตรหลาน ไม่ควรให้ผู้ปกครองเข้ามาในบริเวณสถานศึกษาหรอื ขึ้นไปรับบุตรหลานในอาคารถ้า
ไมจ่ ำเปน็

• จุดรวมพลของสถานศึกษาส่วนใหญ่จะเป็นพื้นทีสนามหญ้าหน้าอาคาร ต้องคำนึงถึงการเข้าถึงของ
นักเรียนและเจ้าหน้าที่กู้ภัย ซ่ึงอาจจะมีท้ังพื้นท่ีปฐมพยาบาล พ้ืนท่ีอำนวยการ พ้ืนท่ีกู้ภัย พ้ืนที่ที่เป็น
จุดรวมพลและเส้นทางไปยังจุดรวมพลต้องไม่มีสิ่งกีดขวาง เช่น ไม่มีเครื่องเล่น ไม่มีร้ัว ไม่มีการปลูก
ตน้ ไม้ขวางทางเข้าออกจดุ รวมพล

• การใช้พื้นที่อาคารเพ่ือการเรียนและการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ควรมีการจัดการใช้พื้นที่ให้เป็นระเบียบ
เช่น จัดการใช้พ้ืนท่ีให้มีการสัญจรไปในทิศทางเดียวกันด้วยการกำหนดการเดินชิดขวาหรือชิดซ้าย
ทางเดินกว้างเพียงพอ มีไฟฉุกเฉินตลอดทางเดินในจุดที่เป็นอันตรายต้องมีป้ายสัญลักษณ์ ป้ายเตือน
เชน่ ปา้ ยทางหนีไฟควรมีแผนผังอาคารเรียนพรอ้ มเส้นทางอพยพและจุดรวมพลตดิ ตั้งไวท้ ุกช้ัน เป็นตน้

• บางพ้นื ที่ในอาคารเรียนอาจจะมีวตั ถุอันตราย เช่น เคร่อื งมอื ทเ่ี ปน็ ของมีคม สารเคมีในห้องปฏบิ ัติการ
วิทยาศาสตร์ ในห้องเรียนคหกรรม อาจจะมีแก๊ส ตู้อบ น้ำมัน ควรมีการเก็บของให้มิดชิดเรียบร้อย
และมีป้ายติดเพ่ือแนะนำการใช้งานและเตือนอันตราย ควรมีเคร่ืองดับเพลิงติดไว้ในห้องปฏิบัติการ
วิทยาศาสตร์และห้องคหกรรมมีการอบรมให้ใช้อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าท่ีถูกวิธีโดยเฉพาะปลั๊กไฟ
เต้าเสียบ สายไฟและต้องมีการตดิ ตัง้ ระบบตดั ไฟ หรือระบบป้องกันฟ้าผ่า

• ในกรณีท่ีมีเครื่องมือการเกษตรและเคร่ืองมือช่าง เช่น มีด จอบ พล่ัว ชะแลง สว่าน เล่ือย ต้องมีการ
ตรวจสอบเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างสม่ำเสมอหากชำรุดให้ซ่อมแซมหรือเปล่ียนและเก็บให้เป็น
ระเบียบเรียบร้อยในกรณีเกิดภัยพิบัติ อุปกรณ์การเกษตรและอุปกรณ์ช่างเหล่านี้สามารถนำมาใช้
ประโยชนไ์ ด้

• ในกรณที ีม่ ีบ่อนำ้ ในโรงเรียน ตอ้ งมปี ้ายเตอื นอนั ตรายหรือจดั ให้มรี วั้ รอบขอบชดิ
2.2 การจัดเส้นทางปลอดภยั และจุดรวมพลเพื่อการหนีภัยภายในโรงเรยี น

ในกรณีเกิดภัยพิบัติในสถานศึกษา โดยเฉพาะในขณะที่มีนักเรียนเรียนอยู่ นักเรียนอาจจะตกใจ เกิด
ความสับสนอลหม่านกับสถานการณ์ที่ไม่คาดคิด จึงต้องวางมาตรการป้องกันอุบัติเหตุที่จะเกิดข้ึนอันเป็นผล
ตามมาด้วย เช่น การผลัดตก หกล้ม โดนของมีคม ซ่ึงการจัดพ้ืนที่การใช้งานก็จะช่วยให้ลดความเส่ียงท่ีจะเกิด
อุบตั ิเหตุดังกลา่ วได้

หลักการจัดเส้นทางอพยพและจดุ รวมพล
1. ทางเดินต้องกวา้ งและพืน้ ตอ้ งทนต่อความร้อน
2. โครงสร้างบรเิ วณเส้นทางหนภี ยั ต้องทนไฟไดแ้ ละมีความแข็งแรงเพื่อไมใ่ ห้คานถลม่ มา
3. บันไดต้องออกแบบมาสำหรับการหนีหรืออพยพคนไปยังทางออก และมีราวจับเพื่อนำทางมายังช้ัน
ล่าง
4. ไม่มสี ิ่งของทีเ่ ป็นเชอื้ เพลงิ หรอื มสี ่งิ ของ เฟอร์นเิ จอร์ วางอยูใ่ นเสน้ ทางอพยพ
5. ห้ามคล้องโซ่กุญแจที่ประตูหนีไฟช้ันล่างโดยเด็ดขาด หรือหากมีการคล้องกุญแจ ต้องมีผู้รับผิดชอบ
เปิดประตทู ันทีทีม่ ีสัญญานเตือนภัย
6. มอี ุปกรณ์ดบั เพลงิ ตงั้ ตามจดุ ตา่ ง ๆ
7. มเี ครื่องหมายหนีไฟ หรือเครือ่ งหมายเส้นทางอพยพตามเสน้ ทาง

8. มไี ฟฉุกเฉินตามเส้นทางหนีไฟท่ีสว่างเพยี งพอเพราะเวลาเกิดอัคคภี ัย ควนั จะทำใหม้ องเห็นไม่ชัดเจน
9. ในกรณีที่สถานศึกษามีนักเรียน ครู หรือบุคลากรที่มีความพิการ จะต้องสอบถามถึงความช่วยเหลือที่

จำเป็นเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน เช่น คนพิการบางคนอาจไม่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษแต่บางคน
อาจไมส่ ามารถเดินขน้ึ -ลงบันไดได้ บางคนอาจไม่สามารถมองเห็นสัญญาณความปลอดภัยจากอคั คีภัย
บางคนมีปัญหาในการค้นหาทางออกหรือไม่สามารถได้ยินสัญญาณเตือนภัย หรืออาจจะไม่เข้าใจการ
เตือนภัย จึงต้องจัดเส้นทางอพยพที่มีส่ิงอำนวยความสะดวกเพื่อช่วยให้คนพิการสามารถอพยพได้
อยา่ งปลอดภยั
10. พื้นท่ีรวมพลท่ีปลอดภัยควรเป็นพื้นที่กว้าง เช่น สนามหน้าอาคารเรียน หากเป็นการอพยพจากภัย
น้ำป่าไหลหลาก จุดรวมพลจะต้องเป็นท่ีสูง หากเป็นวาตภัยก็จะต้องกำหนดพื้นท่ีปลอดภัยในอาคาร
เรียน
11. การกำหนดจุดรวมพล หรือจุดปลอดภัยที่พานักเรียนมารวมตัวกันนั้น จะต้องมีการจัดระเบียบพ้ืนท่ี
ด้วยโดยกำหนดให้พื้นท่ีตามห้องเรียน เพื่อง่ายต่อการนับจำนวนและตรวจสอบผู้สูญหาย และควรมี
พ้ืนท่ีสำหรับปฐมพยาบาล พื้นท่ีอำนวยการและพื้นท่ีสำหรับรองรับผู้ปกครองที่มารับบุตรหลานใน
กรณีฉุกเฉินด้วย
สถานศึกษาควรติดตั้งป้ายที่แสดงความปลอดภยั ไว้อยา่ งชัดเจน เช่น ปา้ ยเกย่ี วกับอปุ กรณด์ บั เพลงิ

ปา้ ยทางหนีไฟ

2.3 การจดั สงิ่ อำนวยความสะดวกเพื่อคนพิการ
ก ฎ ก ร ะ ท ร ว ง กํ า ห น ด ส่ิ ง อํ า น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใน อ า ค า ร สํ า ห รั บ ผู้ พิ ก า ร ห รื อ ทุ พ พ ล ภ า พ แ ล ะ

คนชรา พ.ศ. 2548 ระบวุ ่า “ส่ิงอํานวยความสะดวกสําหรับผพู้ ิการหรือทุพพลภาพและคนชรา” หมายความ
ว่า ส่วนของอาคารท่ีสร้างขึ้นและอุปกรณ์อันเป็นส่วนประกอบของอาคารที่ติดหรือต้ังอยู่ภายในและภายนอก
อาคารเพือ่ อํานวยความสะดวกในการใช้อาคารสาํ หรับผ้พู ิการหรือทุพพลภาพและคนชรา

ดังนน้ั ผู้บริหาร ครแู ละเจ้าหนา้ ที่จำเปน็ ต้องมีความตระหนักรถู้ ึงสทิ ธิการเข้าถึงของคนพิการอย่างไม่มี
การเลือกปฏิบัติตามท่ีกฎหมายบัญญัติ ต้องมีการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกเพ่ือการเข้าถึง รวมทั้งข้อมูลและ
วิธีการส่ือสาร ระบบการช่วยเหลือ และวัสดุและอุปกรณ์ ที่จำเป็นสำหรับเด็กพิการในระหว่างสถานการณ์
ฉุกเฉิน โดยต้องคำนึงถึงความแตกต่างในความพิการของนักเรียนเป็นรายบุคคล รวมทั้งครู บุคลากร และ
เจา้ หน้าทีท่ ่ีมีความต้องการจำเป็นพเิ ศษ ในการจัดส่ิงอำนวยความสะดวกด้านสถานท่ีน้ี จะต้องคำนึงถงึ การใช้
สถานศึกษาเป็นศูนย์พักพิงสำหรับคนพิการด้วย วิดีโอต่อไปนี้อธิบายสิทธิของคนพิการและการจัดสิ่งอำนวย
ความสะดวกเพื่อคนพิการ

การจัดพื้นทีแ่ ละส่งิ อำนวยความสะดวกทางกายภาพทจี่ ำเป็นสำหรับคนพกิ าร ได้แก่
1) พื้นท่ีสำหรับรถเข็นนั่งหรือรถเข็นวีลแชร์ ประตูทางเข้าสำหรับรถเข็นวีลแชร์ควรกว้างไม่ต่ำกว่า 90 ซม.
ชอ่ งทางเดิน ควรมคี วามกวา้ งไม่ตำ่ กว่า 90 ซม.เช่นกัน ส่วนพ้ืนที่สำหรับหมุนรถเข็นนั่งจะต้องมีความกวา้ งยาว
อย่างน้อย 150 ซม. ดังรูป

2) ทางลาดสำหรับรถเข็นนั่ง ทางลาดขึ้นอาคารต้องมีสัดส่วนความยาวอย่างน้อย 1:12 เมตร
กล่าวคือ หากมีความสูง 1 เมตร จะต้องมีทางลาดยาว 12 เมตรเพื่อให้เกิดความชันของทางลาดประมาณ 10
องศา ซึ่งทางลาดนี้อาจจะออกแบบให้มีจุดพักท่ีกึ่งกลางหรือทุก 6 เมตร ทางลาดต้องมีความกว้าง 90 ซม.
และมรี าวจบั 2 ข้าง

3) ห้องน้ำสำหรับคนพิการ ในการออกแบบห้องน้ำเพ่ือคนพิการ ซ่ึงประกอบด้วยห้องน้ำ ท่ีอาบน้ำ
หอ้ งสว้ ม และอ่างลา้ งมอื มกี ารกำหนดมาตรฐานไว้ คอื

• ประตูหอ้ งนำ้ ท่ีจัดให้คนพิการควรเป็นบานเล่ือน กวา้ งอย่างน้อยกวา่ 90 เซนติเมตร เปิดค้างได้ไม่นอ้ ย
กวา่ 90 องศา ไมม่ ีธรณปี ระตู ถ้าเปน็ พ้ืนต่างระดบั ตอ้ งไม่เกนิ 2 เซนติเมตร

• มีราวจับจากประตูทางเข้า ไปยังที่อาบน้ำ และห้องน้ำ ราวจับสูงไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร และ
แขง็ แรงพอทจ่ี ะรับน้ำหนกั ได้

• พื้นหอ้ งน้ำใช้วัสดกุ ันลนื่ พ้ืนที่อาบนำ้ มีเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกวา่ 1.50 เมตร เพ่ือให้รถเข็นสามารถ
หมนุ ตัวได้

• สิง่ ของ เครื่องใช้ อุปกรณ์ภายในท่อี าบน้ำ ให้สูงจากพื้นความสูงระหว่าง 0.25 – 1.20 เมตร
• พน้ื ท่ภี ายในหอ้ งส้วม กวา้ งยาวไมน่ อ้ ยกวา่ 1.50-1.70 เซนติเมตร
• ตดิ อักษรเบรลล์ เพอ่ื ใหค้ นตาบอดได้ทราบวา่ เป็นหอ้ งน้ำหญงิ หรือชาย ไว้บรเิ วณท่ใี กล้ประตู
• ทาสกี รอบประตูด้วยสีสว่าง เช่น สีเหลอื งเพ่อื ใหค้ นสายตาเลอื นรางสงั เกตได้
• ติดตั้งสญั ญาณไฟสำหรับเตือนภัยสำหรับผู้พิการทางหู หรือสญั ญาณสำหรับส่ือความหมายอ่ืน ๆ ไว้ใน

หอ้ งน้ำ

แบบทดสอบหลังเรยี น บทท่ี 2

1. เหตใุ ดจงึ ตอ้ งมีการประเมินโครงสรา้ งอาคารและสถานท่ีของสถานศึกษา
ก.เพราะสถานศึกษาที่ปลอดภัยจะส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรู้
ข.เพราะการเปล่ียนแปลงทางกายภาพและภมู อิ ากาศสามารถทำให้เกดิ ความเสี่ยงภยั พบิ ัตใิ หมไ่ ด้ จงึ

ต้องมีการประเมนิ สถานท่ีต้ังสมำ่ เสมอ
ค.เพราะเป็นสิง่ ท่คี วรทำเพื่อความปลอดภัยของทุกคน
ง.ถูกทกุ ข้อ

2. ข้อใดคือการประเมินความปลอดภัยภายใตเ้ สาที่ 1
ก.การประเมินอาคารเรียนและส่ิงก่อสรา้ ง สภาพแวดล้อม เส้นทางสัญจร และสิ่งอำนวยความสะดวก

สำหรบั คนพกิ าร
ข.การประเมนิ สภาพพน้ื ท่แี ละการประเมนิ วตั ถุอันตราย
ค.การประเมนิ สภาพแวดล้อม เช่น มลพิษทางอากาศ มลพิษทางนำ้ มลพษิ ทางสังคม
ง.การตดิ ตงั้ อุปกรณ์เตือนภยั อุปกรณ์ดับเพลิง และป้ายอกั ษรเบรลล์

3. ในการประเมนิ ความเสียงภยั พบิ ัตขิ องโครงสรา้ งอาคารเรยี น จะต้องพิจารณาปัจจัยอะไรบ้าง
ก.สภาพโครงสร้าง ผนัง หลังคา ตัวอาคาร ระบบไฟฟา้ และผลกระทบจากภัย
ข.โครงสร้างและสว่ นประกอบอาคาร
ค.โครงสรา้ ง สภาพแวดล้อม การบริหารจัดการภยั พิบตั ิในสถานศึกษา
ง.โครงสร้างอาคาร สนามเด็กเล่น ระบบนำ้ ไฟ

4. ขอ้ ใดไมใ่ ชก่ ารประเมนิ ความเส่ียงวาตภัย
ก.ตรวจสอบพนื้ ทใี่ กล้เคยี งวา่ มโี ครงหลังคา เสาสูง เสาวิทยุ ปา้ ยโฆษณาสงู ที่อาจจะโคน่ ลม้ ลงมาทำ

อนั ตรายแก่อาคารเรยี นและนักเรียนได้
ข.ตรวจสอบโครงสรา้ งอาคารเรียน ผนงั เสา คาน ประตหู น้าต่างว่าทนตอ่ แรงลมได้
ค.ตรวจสอบฐานรากว่าทนตอ่ แรงไหลของดนิ
ง.มีการยดึ อปุ กรณ์เครอ่ื งใช้ให้แนน่ หนาเพ่ือป้องกันการตกหลน่ หรอื ไม่ (เชน่ พัดลมเพดาน ตสู้ งู

ชั้นวางของ เครื่องปรบั อากาศ ป้ายตา่ ง ๆ กระถาง)
5. ขอ้ ใดไมใ่ ชก่ ารจัดสภาพแวดลอ้ มโดยคำนึงถึงการลดความเสี่ยงภัยพิบตั ิ

ก.จดั เสน้ ทางอพยพและจดุ รวมพล
ข.จัดประตูเขา้ ออกใหเ้ อื้ออำนวยตอ่ การอพยพและการเข้าออกของรถพยาบาล รถดับเพลิง
ค.จัดใหม้ ีการรักษาความปลอดภยั ในหอพักโดยการลอ็ คประตจู ากข้างนอกเพื่อไม่ใหผ้ ู้ไม่ประสงคด์ ีเข้า
ไปทำอันตรายครูและนักเรียนในยามวิกาล
ง.เกบ็ เคร่ืองมือการเกษตรและเคร่ืองมือช่าง เชน่ มดี จอบ พลัว่ ชะแลง สวา่ น เล่อื ย ใหเ้ ปน็ ระเบยี บ
และหยิบฉวยได้ง่ายในกรณที ี่จำเปน็ ตอ้ งใช้เมื่อเกดิ ภยั พบิ ัติ

6. ขอ้ ใดไม่ใชม่ าตรการลดผลกระทบในสถานศึกษา
ก.หากสถานศึกษาอยู่บนไหล่เขาหรือทางลาด ควรปลูกต้นไม้ตามทางลาดเชงิ เขาเพื่อชะลอการไหล

ของหน้าดิน
ข.หากสถานศึกษาอยูต่ ิดแม่น้ำ ควรทำเขือ่ นกนั้ น้ำหรือปลกู ต้นไม้ชะลอกระแสน้ำ
ค.ขยายทอ่ ระบายน้ำ ติดตัง้ รางนำ้ ตะแกรงกนั เศษขยะ เศษดนิ โคลน ไม่ให้เกิดนำ้ ทว่ มในบรเิ วณ

สถานศึกษา
ง.หากสถานศึกษาอย่ใู กลน้ ิคมอุตสาหกรรม ควรพิจารณาย้ายสถานศึกษา

7. ขอ้ ใดเปน็ กิจกรรมลดความเสี่ยงภยั ของอาคารสถานท่ีท่สี ามารถทำได้อยา่ งรวดเร็วและประหยัดค่าใชจ้ า่ ย
ก.การสร้างหลมุ หลบภยั
ข.การดดี อาคารเรยี นใหส้ ูงกวา่ ระดบั นำ้ ทว่ ม
ค.การผูกยึดส่ิงของ เฟอรน์ เิ จอร์ในอาคาร ให้แน่นหนาแข็งแรง
ง.การซอ่ มแซมระบบน้ำ ระบบไฟ

8. ข้อใดไมค่ วรนำไปใช้ในการจัดอาคารเรียนเพ่ือการลดความเสยี่ งภยั พบิ ตั ิ
ก.จัดให้มชี อ่ งลมหรือช่องทางเดินที่มีการถา่ ยเทอากาศได้ดี
ข.เปล่ยี นบานหน้าตา่ งในห้องเรยี นและห้องพักครูให้เป็นบานกระจกเพ่ือให้มองเหน็ อันตรายจาก

ภายนอก
ค.ทำราวจับตลอดทางเดินหรือบนั ไดทางขึ้นอาคาร ไมว่ างส่ิงของเกะกะทางเดิน จัดระเบียบการเดิน

ชิดซ้ายหรอื ชดิ ขวา
ง.ยึดตูห้ นังสือหรือชั้นกับผนังเพ่ือป้องกันการโค่นล้มหากเกิดแผน่ ดินไหว

9. ขอ้ ใดเป็นการจดั ส่ิงอำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการเพ่อื รองรับสถานการณภ์ ยั พิบัติ
ก.สญั ญาณเตือนภัยสำหรบั คนหูหนวก
ข.ลา่ มภาษามือ
ค.รถเข็นน่ังสำรอง
ง.ถูกทุกขอ้

เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น บทท่ี 2
1. เหตุใดจึงตอ้ งมีการประเมินโครงสรา้ งอาคารและสถานท่ีของสถานศึกษา

• ถูกทกุ ข้อ
2. ขอ้ ใดคือการประเมินความปลอดภัยภายใต้เสาที่ 1

• การประเมินอาคารเรยี นและส่ิงก่อสร้าง สภาพแวดล้อม เสน้ ทางสัญจร และส่งิ อำนวยความ
สะดวกสำหรบั คนพิการ

3. ในการประเมินความเสียงภยั พิบตั ิของโครงสรา้ งอาคารเรียน จะต้องพจิ ารณาปจั จัยอะไรบา้ ง

• สภาพโครงสรา้ ง ผนงั หลังคา ตัวอาคาร ระบบไฟฟ้า และผลกระทบจากภัย
4. ข้อใดไมใ่ ช่การประเมินความเสี่ยงวาตภยั

• ตรวจสอบฐานรากวา่ ทนตอ่ แรงไหลของดนิ
5. ข้อใดไม่ใชก่ ารจัดสภาพแวดล้อมโดยคำนึงถงึ การลดความเส่ยี งภยั พบิ ัติ

• จัดให้มกี ารรกั ษาความปลอดภัยในหอพกั โดยการล็อคประตจู ากข้างนอกเพอื่ ไม่ใหผ้ ู้ไม่
ประสงค์ดเี ขา้ ไปทำอันตรายครแู ละนกั เรยี นในยามวกิ าล

6. ขอ้ ใดไม่ใช่มาตรการลดผลกระทบในสถานศึกษา

• หากสถานศกึ ษาอยใู่ กล้นิคมอุตสาหกรรม ควรพิจารณาย้ายสถานศึกษา
7. ข้อใดเปน็ กิจกรรมลดความเสี่ยงภัยของอาคารสถานท่ีทสี่ ามารถทำได้อย่างรวดเร็วและประหยัดค่าใช้จา่ ย

• การผูกยึดส่งิ ของ เฟอร์นิเจอร์ในอาคาร ให้แน่นหนาแขง็ แรง
8. ข้อใดไม่ควรนำไปใชใ้ นการจดั อาคารเรยี นเพ่ือการลดความเสยี่ งภยั พิบัติ

• เปล่ียนบานหนา้ ต่างในหอ้ งเรยี นและห้องพักครใู หเ้ ป็นบานกระจกเพื่อให้มองเหน็ อันตราย
จากภายนอก

9. ขอ้ ใดเปน็ การจัดสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรบั คนพิการเพ่ือรองรบั สถานการณ์ภยั พิบัติ

• ถกู ทกุ ข้อ

บทที่ 3 การจัดการภยั พบิ ัติในสถานศึกษา

1. วตั ถุประสงค์
1.เพอ่ื ให้เข้าใจแนวคิดทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การจัดการภัยพบิ ัติในสถานศึกษา
2.เพ่อื ใหเ้ พ่ือให้เข้าใจหลักการสามารถทำแผนบริหารจดั การภยั พิบัติในสถานศึกษาได้อยา่ งถกู ต้อง
3.เพอ่ื ให้เขา้ ใจวิธกี ารจัดซ้อมอพยพและสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นสถานศึกษา
4.เพื่อให้เข้าใจทักษะในการตัดสินใจและสามารถเผชิญเหตฉุ กุ เฉินไดเ้ บอ้ื งต้น
5.เพอื่ ให้เข้าใจหลักการจดั ท่ีพักพงิ ชัว่ คราวในสถานศกึ ษา
6.เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจความจำเปน็ ในการใหก้ ารคุ้มครองเด็กในสถาณการณภ์ ยั พิบัติ
7.เพื่อใหเ้ ข้าใจความจำเป็นในการจดั การเรียนการสอนใหต้ ่อเนอ่ื งในสถานการณภ์ ัยพิบัติ

2. หวั ขอ้ การเรียนรู้
1. กลไกในการจดั การภยั พบิ ัติในสถานศกึ ษา
1.1 แนวทางการประเมินความเปราะบางและศกั ยภาพ
1.2 แนวทางการตดั สนิ ใจสำหรับผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
1.3 หน่วยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั
2. การดำเนินการตามแผน
2.1 มาตรการลดความเสย่ี งภัยพิบัติในสถานศกึ ษา
2.2 แผนการแจ้งเตือนภัยและอพยพ
2.2.1 องค์ประกอบของแผน
2.2.2 ระบบเตือนภัยท่ีมีเด็กเป็นศูนย์กลาง
2.2.3 วธิ กี ารปฏิบัตินการอพยพ
2.2.4 การจัดกระเป๋าฉุกเฉินประจำห้องเรียน
2.3 การซอ้ มแผนเตือนภยั และอพยพ (วิดีโอจาก save the children)
2.3.1 กระบวนการซ้อมแผนอพยพ
2.3.2 การประเมนิ ผลการซอ้ ม
2.4 การใชส้ ถานศึกษาเป็นศูนย์พกั พิงชว่ั คราวสำหรบั ผปู้ ระสบภยั
2.5 การจัดการเรียนการสอนใหต้ อ่ เนื่องในสถานการณ์ภัยพบิ ตั ิ
2.6 การคมุ้ ครองเด็กในสถานการณภ์ ัยพิบัติ
2.7 การปฐมพยาบาล
2.8 การประเมินผลตามแผนบรหิ ารจัดการภยั พิบตั ิ
2.9 มาตรฐานการปฏิบัตเิ มื่อเกิดภัย

หัวข้อ : กลไกในการจดั การภยั พิบัตใิ นสถานศกึ ษา

1. กลไกการจัดการภัยพิบตั ิในสถานศกึ ษา
ควรมีการจัดต้ังคณะกรรมการจัดการภัยพิบัติในสถานศึกษามีบทบาทเป็นแกนนำในการวางแผน

เฝ้าระวัง เตรียมพร้อม และดำเนินกิจกรรมด้านความปลอดภัยรอบด้านในสถานศึกษา รวมถึงจัดการก่อน
ระหวา่ ง และหลังเกดิ ภัยพิบตั หิ รอื เหตฉุ ุกเฉินในโรงเรียน รวมทั้งตดิ ตามและประเมินผล
ขอ้ ควรคำนงึ ในการจดั ต้ังคณะกรรมการความปลอดภัยรอบด้าน มีดังนี้

• ให้นักเรียนมีส่วนร่วม (โดยเฉพาะนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 หรืออายุ 13 ปีขึ้นไป) พร้อม
กบั ผู้ท่เี ก่ยี วขอ้ งอื่น ๆ
o ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา
o ผู้แทนนกั เรยี น
o คณะกรรมการสถานศกึ ษา
o ผู้แทนองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ผนู้ ำชุมชน ปราชญช์ าวบา้ น
o หน่วยงาน/องคก์ รท่ีเกยี่ วข้องอ่ืน ๆ ในพ้ืนที่ เช่น หนว่ ยงานดา้ นอนามยั องค์กรพฒั นาเอกชน

• จัดตั้งเกณฑใ์ นการคดั เลือก/เลือกตงั้ ผู้ที่จะมาเป็นคณะกรรมการฯ
• คดั เลอื ก/เลอื กตงั้ คณะกรรมการฯโดยความยินยอมของผู้ไดร้ บั การเสนอชื่อ
• คณะกรรมการแตล่ ะฝ่ายควรมสี มาชกิ ท้งั เพศหญิงและชาย
• มโี ครงการเสริมสรา้ งศักยภาพให้แกค่ ณะกรรมการแตล่ ะฝ่าย เช่น โดยการจัดอบรมในโรงเรยี น การส่ง

ผแู้ ทนเข้ารว่ มโครงการอบรมนอกสถานท่ี
องคป์ ระกอบของคณะกรรมการ

คณะกรรมการฯอาจแบง่ หนา้ ท่ีกันได้หลายฝา่ ย แต่การดำเนินการจะต้องทำเป็นทีมและมกี ารประชมุ
หารอื กนั อยา่ งสม่ำเสมอ โดยแต่ละฝ่ายทำการบ้านในสว่ นงานของตนมาล่วงหนา้ ฝา่ ยหรอื คณะย่อย อาจแบ่ง
ตามหน้าทีแ่ ละความรบั ผิดชอบดงั นี้

หนา้ ที่และความรับผดิ ชอบของคณะกรรมการ (สามารถปรับไดต้ ามความเหมาะสม)

ลำดับ ตำแหน่ง หน้าท่ีความรบั ผดิ ชอบ

• ฝา่ ยอำนวยการ • ประสานงานกับสมาชิกในทีม
• มอบหมายงานให้สมาชกิ
• ตรวจสอบและยืนยนั ข่าวสารเกี่ยวกับภัยพบิ ัติทไ่ี ดร้ ับ
• แจง้ เตือนฝา่ ยเฝา้ ระวังและแจ้งเตือนภยั

• ฝา่ ยประชาสมั พนั ธ์ • หาความร้เู กีย่ วกบั ภยั และการปอ้ งกันภยั มาเผยแพร่
ผา่ นการกระจายเสยี ง หรือเอกสารเชน่ โปสเตอร์
หนงั สอื หรอื ส่ือต่าง ๆ

• ฝา่ ยเฝ้าระวงั และแจง้ เตอื นภยั • จัดเวรยามเฝา้ ระวงั สถานการณภ์ ัย เช่น บนั ทกึ
ปริมาณน้ำฝนเม่ือฝนตกหนัก

• แจ้งเตอื นภยั เมื่อมีแนวโนม้ วา่ จะเกิดภยั

• ฝ่ายอพยพ • ระบพุ ื้นท่ีปลอดภยั สำหรับรวมพล

• กำกับดูแลการอพยพใหเ้ ป็นไปอยา่ งรวดเรว็ ปลอดภัย
และเปน็ ระเบยี บ

• นบั จำนวนคนและรายงานนักเรียนทสี่ ญู หาย

• ตดิ ตง้ั แผนท่ีเส้นทางอพยพในแตล่ ะห้องเรียน หรอื ใน
ท่ีทนี่ ักเรยี นสามารถเหน็ ได้ทกุ คน

• ฝา่ ยสถานท่ี • ปรบั ปรุงพืน้ ทใี่ นโรงเรียนให้มีความปลอดภยั

• จัดเตรียมสถานท่ีอพยพให้พร้อมใช้งานและมรี ะบบ
สาธารณปู โภคและส่งิ อำนวยความสะดวกตามความ
จำเป็น

ลำดบั ตำแหนง่ หน้าทคี่ วามรบั ผิดชอบ

• ฝา่ ยเสบียงและอุปกรณ์ • เตรียมเสบยี งอาหาร เชน่ ขา้ วสาร อาหารแหง้ น้ำดม่ื
ในกรณฉี ุกเฉิน หรือมกี ารอพยพ
• ฝา่ ยปฐมพยาบาล
• จัดเตรียมสัญญาณเตือนภยั แต่ละจุด (กร่ิง ,โทรโข่ง
• ฝ่ายประสานงาน ฯลฯ)
• ฝ่ายงบประมาณ
• ฝ่ายติดตามประเมนิ ผล • รู้จักวิธีใชเ้ คร่ืองมือตา่ งๆ ทใ่ี ช้ในยามฉกุ เฉนิ เช่น ถงั
ดบั เพลิง

• ใหก้ ารปฐมพยาบาลเบ้อื งต้นแกผ่ ู้ได้รบั บาดเจ็บกอ่ น
ส่งต่อไปโรงพยาบาล

• เตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณท์ ่ใี ชใ้ ห้พร้อมใช้งาน
• ฝา่ ยปฐมพยาบาลควรมีความรู้เบื้องต้นดา้ นการปฐม

พยาบาล เชน่ เปน็ ครปู ระจำห้องพยาบาล หรอื ได้รับ
การฝึกอบรมมาก่อน

• แจ้งเหตภุ ัยของชุมชนใหห้ นว่ ยงานที่เก่ียวข้องทราบ
เพอื่ ขอรับการช่วยเหลอื ด้านต่าง ๆ

• จดั สรรงบประมาณ
• สรปุ รายรับรายจา่ ย

• ประเมินผลการจัดกิจกรรม
• สรุปผล/รายงาน
• เสนอแนะแนวทางแกไ้ ข

1.1 การประเมนิ ความเปราะบางและศักยภาพเพอ่ื การวางแผน
ในการประเมินความเสี่ยงภัยธรรมชาติ สามารถหาได้จากเคร่ืองมือประเมินความเสี่ยงท่ีให้ไว้ใน

Module 0 เพื่อระบุภัยธรรมชาติที่ต้องจัดการทำแผน และต้องประเมินความเส่ียงของอาคารสถานที่ท่ีให้ไว้
ใน Module 1 นอกจากน้ี ยังต้องมีการประเมินความเปราะบางและศักยภาพของสถานศึกษาท้ังสามด้านเพื่อ
การวางแผนบรหิ ารจัดการทเี่ หมาะสมกบั บริบท

ข้อพจิ ารณาในการประเมินความเปราะบาง มีดงั นี้

ขอบเขตการประเมิน ประเดน็ พิจารณา

จำนวนครตู ่อจำนวน • จำนวนนักเรียน ชาย หญิง
นักเรียน และ • จำนวนนกั เรียนพิการ
ความสามารถในการดูแล • ระดบั ชน้ั เรียนและอายุของนักเรียน
• จำนวนนักเรียนทีส่ ามารถช่วยเหลือตวั เองได้เม่ือเกิดเหตกุ ารณ์ภัย
เสาหลกั ที่ 1 อาคาร
สถานท่ีและสาธารณูปโภค ธรรมชาติ และจำนวนนกั เรียนที่ต้องการความชว่ ยเหลือ
• จำนวนครู ผู้ดแู ล และบุคลากร ตอ่ จำนวนนกั เรยี น
• จำนวนครูทส่ี ามารถดูแลนักเรียนไดเ้ มื่อเกิดเหตภุ ัยพบิ ัตฉิ ุกเฉนิ
• จำนวนผูป้ กครอง และคนในชุมชนใกล้เคียงที่สามารถระดมความ

ช่วยเหลือได้ทันทที ่ีเกิดเหตุ

• อาคารเรียนสามารถรองรบั นักเรียนเม่ือเกิดเหตุ
• อุปสรรคเร่อื งการเข้าถงึ เชน่ ถนนไมด่ ี สะพานไม่แขง็ แรง ประตทู างเข้า

แคบ ทำให้ความช่วยเหลือจากภายนอกเขา้ ไม่ถึงนักเรียน
• อันตรายจากสิ่งทไี่ ม่ใชโ่ ครงสร้างอาคาร เช่น ประตู หนา้ ต่าง บนั ได ผนัง

กนั้ หอ้ ง ท่อน้ำทิ้ง เฟอรน์ เิ จอร์ อุปกรณ์ตา่ งๆ ท่ีอาจจะหล่นมาทับนกั เรียน
ขณะเกดิ เหตุ หรือขณะอพยพ หรือในขณะหลบภัย
• น้ำดื่ม น้ำใช้เพียงพอและปลอดภยั จากการปนเป้ือน
• ไฟฟา้ แสงสวา่ ง เพยี งพอ
• อปุ กรณส์ ่ือสารมีอะไรบ้างและมีอุปสรรคของระบบสือ่ สารอะไรบ้าง

ขอบเขตการประเมนิ ประเดน็ พิจารณา

เสาหลักท่ี 2 การบริหาร • ทุกคนในสถานศึกษามคี วามรู้และทกั ษะต่อไปน้ีหรอื ไม่
จดั การภยั พบิ ัตใิ น
สถานศกึ ษา o การเอาตัวรอดเมื่อเกิดเหตภุ ัยพบิ ัตธิ รรมชาตทิ ส่ี ถานศึกษาระบุไว้
วา่ เป็นความเส่ยี ง เชน่ หากเกิดเหตแุ ผน่ ดินไหว ตอ้ งรจู้ ักหลบใต้
โตะ๊ คุมศีรษะและยึดเกาะให้แน่น หรือรจู้ กั สามเหลยี่ มชว่ ยชีวิต
หรือรวู้ า่ เมอ่ื ออกจากอาคารแล้วต้องไม่ว่งิ กลับเขา้ ไป เปน็ ต้น

o วิธอี อกจากอาคารเมื่อเกิดอคั คภี ัยและทางเดนิ มคี วนั

o รู้จกั เส้นทางหนีภัย ประตหู นีภยั และจุดปลอดภยั ทง้ั ในและนอก
สถานศกึ ษา

o ทักษะในการเผชิญเหตุ คน้ หา กภู้ ัย

o ทกั ษะในการปฐมพยาบาล

• สถานศึกษามีอุปกรณ์ชว่ ยชีวติ ทจ่ี ำเป็น เช่น เชอื ก ชชู ีพ ไฟฉาย ชดุ ปฐม
พยาบาล

• มีการเตรยี มหมายเลขโทรศัพท์ติดตอ่ ของหนว่ ยงานและผู้ปกครอง

• มีวิธกี ารปฏบิ ตั ิเป็นมาตรฐานสำหรับรบั มอื ภัยประเภทตา่ งๆหรอื ไม่

• ระบบเตอื นภัยครอบคลมุ และทั่วถงึ หรือไม่

• ความช่วยเหลือจากภายนอกสามารถมาถงึ ไดภ้ ายในเวลาเท่าใด

• สถานศึกษาสามารถจัดหาอาหารและนำ้ ดมื่ น้ำใช้สำรองเม่ือเกิดเหตุ
ฉกุ เฉินได้หรอื ไม่

• สถานศึกษาสามารถเปลยี่ นเป็นท่ีพกั พิงชั่วคราวได้หรือไม่

• ผู้บรหิ ารสถานศึกษาและบุคลากรมีความรู้ในการบริหารจัดการพ้ืนท่ีศนู ย์
พักพงิ ช่ัวคราวหรอื ไม่

ประเดน็ ความเปราะบาง • การฟ้ืนฟอู าคารสถานที่และการใชพ้ ื้นท่หี ลงั เกิดเหตุ
อ่นื ๆ • การจัดการเรียนการสอนระหวา่ งเกดิ ภัยพบิ ัติและต้องหยดุ เรียน

• การดแู ลสวัสดภิ าพของนักเรียนพกิ าร

นอกจากการพิจารณาความเปราะบางตามประเด็นต่าง ๆ ข้างต้น สถานศึกษาสามารถใช้คู่มือบริหารจัดการ
ความเส่ียงภัยในโรงเรียน เป็นเครื่องมือในการประเมิน ซ่ึงคู่มือนี้เป็นการนำเสนอขั้นตอนและกิจกรรมต่าง ๆ
ภายใตเ้ สาหลกั ท่ีสองของกรอบความปลอดภัยรอบดา้ นอย่างละเอยี ด

1.2 การกำหนดทางเลือกในการจัดการความเสีย่ ง (Risk Treatment Identification)
(1) การหลีกเลี่ยงความเสีย่ ง (Risk Avoidance): ในกรณีที่ความเส่ียงอยู่ในระดับสูงมากถึงข้ันร้ายแรง

อาจต้องหลีกเล่ียงความเสี่ยงอย่างสิ้นเชิง เช่น การย้ายท่ีต้ังอาคารสถานท่ีออกนอกพ้ืนที่ที่มีภัย การแบ่งเขต
จัดทำาโซนนิ่ง อย่างไรก็ดี การหลีกเล่ียงความเส่ียงอย่างสิ้นเชิงน้ันอาจทำาได้ไม่ง่ายนัก เน่ืองจาก ข้อจำากัด
ด้านพื้นที่

(2) การป้องกันและลดผลกระทบจากความเสี่ยง (Risk Prevention and Mitigation): อาจทำาได้
2 แนวทาง คือ การป้องกัน (prevention) คือ การป้องกันไม่ให้ภัยน้ันเกิดขึ้น เช่น การสร้างเขื่อนขนาดใหญ่
เพื่อเก็บกักน้ำไว้ ไม่ให้ไหลลงมาสู่พื้นท่ีปลายน้ำเพื่อป้องกันอุทกภัย และอีกแนวทางหนึ่ง คือ การลด
ผลกระทบ (mitigation) เพ่ือลดความล่อแหลมและความเปราะบางให้เหลือน้อยท่ีสุดเท่าท่ีจะทำาได้ ซ่ึงการ
ป้องกันและลดผลกระทบจากความเสี่ยง สามารถทำาได้โดยใช้มาตรการท่ีใช้โครงสร้าง (structural
measure) และไมใ่ ช้โครงสรา้ ง (non-structural measures)

มาตรการท่ีใช้โครงสร้าง (structural measure) หมายถึงการใช้สิ่งก่อสร้างหรือโครงสร้างทาง
กายภาพเพื่อลดหรือหลกี เลี่ยงผลกระทบของภัยที่อาจเกดิ ขึ้น หมายรวมถึงระบบหรือโครงสรา้ งเชิงวิศวกรรมท่ี
ประยุกตใ์ ช้เทคนิคตา่ ง ๆ เช่น การทำพนังหรือคันก้นั น้ำ ประตนู ้ำ ระบบระบายน้ำ การเสรมิ ความแข็งแรงของ
โครงสร้างอาคาร เพ่ือให้สามารถต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวหรือลม พายุ การปรับความลาดชัน
ของพื้นทีเ่ พ่ือลดการพงั ทลายของดินการสร้างอ่างเกบ็ นำ้ หรือขดุ สระน้ำเพ่ือการกักเกบ็ น้ำไวใ้ ชใ้ นช่วงภยั แล้ง

มาตรการท่ไี ม่ใช้โครงสร้าง (non-structural measure) คือ การใช้นโยบาย กฎระเบียบ การวางแผน
งานและกิจกรรมต่าง ๆ เพอ่ื ลดความเส่ียง เช่น การออกกฎระเบียบข้อบังคับ การกำหนดการใช้ประโยชน์ทด่ี ิน
การแบ่งเขต และการวางแผนพัฒนาพ้ืนท่ี กำหนดการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในพ้ืนท่ี การวางแผนการเพาะปลูก
เพ่ือลดผลกระทบจากภัยแล้งหรืออุทกภัย การฝึกอบรม การสร้างจิตสำนึก หรือให้ความรู้ในด้านต่าง ๆ เพื่อ
สนับสนุนการปอ้ งกันและลดผลกระทบจากความเส่ียง

(3) การถ่ายโอนความเสี่ยง (Risk Transfer): เป็นการถ่ายโอนความเส่ียงไปท่ีบุคคลอื่นที่พร้อมจะรับ
ผลกระทบจากภัยน้ันแทน ทำให้ผู้ท่ีเผชิญกับความเสี่ยงไม่ต้องได้รับผลที่อาจเกิดขึ้นหรือได้รับการแบ่งเบา
ภาระท่ีต้องแบกรับอันเน่ืองมาจาก ความเส่ียงน้ัน โดยมากให้ความสำคัญกับการถ่ายโอนภาระทางการเงินอัน
เปน็ ผลกระทบจากการเกดิ ภยั พิบัติเช่น การใช้ระบบประกนั ความเส่ียง การทำประกนั ภยั การให้สินเช่ือฉุกเฉิน
หรือการให้ความชว่ ยเหลอื ทางการเงนิ ภายในชุมชนหรือครอบครัว

(4) การยอมรับความเสี่ยง (Risk retention/ Risk Acceptance): ในกรณีท่ีนำแนวทางการลดความ
เสี่ยงท้ัง 3 ประการข้างต้นมาใช้แต่ยังไม่สามารถจัดการกับ ความเส่ียงให้หมดไปได้ และยังคงมีความเส่ียง
บางส่วนหลงเหลืออยู่ ส่ิงท่ีทำได้คือ การเตรียมความพร้อม (preparedness) เพื่อรับมือกับความเส่ียงที่ยังคง
เหลือ (residual risk) รวมถึงการปรับตัว (adaptation) และปรับวิถีการดำารงชีวิตให้สามารถอยู่ร่วมกับภัย
และความเส่ยี งน้ัน ๆ ได้อย่างปลอดภยั
1.3 แนวทางการตัดสนิ ใจสำหรับผูบ้ ริหารในการเผชิญเหตุ

เมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน ไม่ว่าจะมีสาเหตุจากภัยธรรมชาติหรือภัยอ่ืน ๆท่ีมีโอกาสเกิดอันตรายอย่าง
รุนแรง ผู้บริหารสถานศึกษาต้องพิจารณาทางเลือกในการปฏิบัติเพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อชีวิตทุกคนใน

สถานศึกษา ทางเลือกในการปฏิบัติมีได้หลายแนวทางตามบริบทของภัยและสถานการณ์แวดล้อม และในการ
ทำแผนเผชิญเหตุสำหรับภัยแต่ละประเภทจึงต้องมีการพัฒนาข้ันตอนการปฏิบัติที่เป็นมาตรฐาน (Standard
of Practice หรือ SOP) รองรับแต่ละแนวทางด้วย ซ่ึงรายละเอียดของข้ันตอนปฏิบัติข้ึนอยู่กับบริบทของ
สถานศึกษา สังคม วัฒนธรรมและสภาพความเสี่ยงภัยของสภาพแวดล้อม แนวทางในการรับมือกับภัย
ธรรมชาติหรือเหตฉุ กุ เฉนิ ตา่ ง ๆ สามารถดำเนินการไดด้ ังนี้

1. การอพยพจากอาคาร (Building evacuation)
เป็นการอพยพออกจากตัวอาคารท่ีมีอันตรายไปยังจุดรวมพลท่ีอยู่นอกอาคาร (Assembly Point)

การอพยพจะเร่ิมดำเนินการเมื่อมีสัญญานเตือนภัยหรือคำส่ังอพยพและมีขั้นตอนการปฏิบัติที่ทุกคนต้องรับรู้
และทำตามได้ เช่น ในกรณีอคั คภี ัยทเ่ี พง่ิ เร่ิมเกดิ ขึ้น ทุกคนต้องหยิบของที่จำเป็นและอพยพลงจากอาคารอย่าง
รวดเรว็ โดยใชบ้ นั ได ไม่ใช้ลิฟต์และมารายงานตัวทจ่ี ดุ รวมพลด้านหนา้ อาคารเพอื่ การตรวจสอบวา่ มีผู้ใดสญู หาย
เป็นตน้

2. การอพยพไปยังจดุ ปลอดภยั (Evacuate to safe haven)
ในทีน้ีจุดปลอดภัย (Safe Haven) หมายถึง บริเวณพ้ืนท่ีท่ีกำหนดให้เป็นที่ปลอดภัยจากภัยคุกคาม

และสามารถรองรับผู้ประสบภัยได้ อาจจะเป็นพ้ืนท่ีที่อยู่ภายในสถานศึกษาหรือเป็นสถานที่อื่นนอก
สถานศึกษาก็ได้ แต่ต้องมีการแจ้งให้เจ้าหน้าท่ีกู้ภัยได้รับรู้เพื่อให้สามารถดำเนินกาช่วยเหลือได้อย่างรวดเร็ว
ยกตัวอย่างเช่น หากสถานศึกษามีพ้ืนท่ีปลอดภัยในอาคารก็อาจจะกำหนดให้ ชานพักบันได ช่องทางหนีไฟ
เป็นจุดปลอดภัยสำหรบั นักเรยี นช้ันเด็กเล็ก หรอื เด็กพิการ เพื่อให้ครูพาไปรอการช่วยเหลือ เมื่อเจ้าหน้าท่ีกู้ภัย
มาถึงก็สามารถเข้าไปช่วยเหลือนักเรียนทีจ่ ุดปลอดภยั นั้นไดก้ ่อน แต่ถ้าสถานศกึ ษาอยากจะเลือกพื้นที่ภายนอก
สถานศึกษาให้เป็นที่ปลอดภัยสำหรับการอพยพนักเรียนก็ย่อมทำได้ แต่ก็ต้องพิจารณาตามบริบทของภัยและ
ความสามารถในการเคล่ือนย้ายนักเรียน ตลอดจนเวลาในการเคลื่อนย้าย หากมีการกำหนดพ้ืนท่ีปลอดภัยไว้
นอกสถานศึกษานั้นก็ต้องมีการวางแผนเตรียมพื้นที่ด้วย เช่น มีการเตรียมส่ิงของฉุกเฉินสำรองไว้เป็นที่
เรียบร้อย มีการแจ้งให้ผู้ปกครองทราบอย่างชัดเจนและมียานพาหนะท่ีใช้ในการเคลื่อนย้ายไว้รองรับ การ
อพยพลักษณะน้ีจะใช้ในกรณีภัยขนาดใหญ่ที่ทำให้หลบภัยในสถานศึกษาไม่ได้ ต้องออกไปนอกพื้นที่ เช่นใน
กรณนี ำ้ ทว่ มฉบั พลัน นำ้ ป่าไหลหลาก ดินโคลนสไลด์ สึนามิ สารเคมรี ั่วไหล ไฟป่า เปน็ ตน้

3. การหลบภัยและพกั พงิ ในอาคารเรียน (Shelter-in-place)
ในกรณีท่ีมีอันตรายอยู่ภายนอกอาคารเรียน และไม่สามารถปล่อยนักเรียนกลับบ้านได้ เช่นในกรณี

อากาศรุนแรง น้ำท่วมเส้นทางขาด หรือภัยอันตรายอ่ืนๆท่ีอยู่ภายนอก หรือในกรณีที่ไม่มีเวลาอพยพไปยังท่ี
ปลอดภัย หรือในกรณีท่ีอาคารเรียนมีความปลอดภัยและสามารถใช้เป็นท่ีอพยพหลบภัยได้ ผู้บริหาร
สถานศกึ ษาสามารถตัดสนิ ใจประกาศใหน้ ักเรยี นและครูพกั อยใู่ นอาคารเรยี นจนกวา่ เหตุการณจ์ ะคลี่คลายกไ็ ด้

4. การปดิ การเขา้ ออกเพือ่ ปอ้ งกันเหตรุ า้ ย (Lockdown)
เป็นวิธีการป้องกันไม่ให้เหตุรุนแรงจากภายนอกหรือบุคคลท่ีมีนตรายเข้ามาคุกคามสวัสดิภาพของ

นักเรียนและบุคลากร โดยผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องพิจารณาแล้วว่าการปิดการเข้าออกนี้เป็นทางเลือกที่
ปลอดภัยกว่าการอพยพและการอยู่ภายในอาคารจะไม่นำไปสู่เหตุการณ์อันตรายที่บานปลาย แนวทางนี้

จะต้องมีการควบคุมการเขา้ ออกและความปลอดภยั ในอาคารอย่างเขม้ งวด อนญุ าติให้มีการเขา้ หรือออกเฉพาะ
บุคคลเท่านั้น ไม่มีการอนุญาติให้นักข่าว อาสาสมัคร เจ้าหน้าที่เข้าไปในพ้ืนท่ีจนกว่าจะได้รับการยืนยันจาก
เจ้าหน้าท่ีที่เกี่ยวข้องแล้วว่าสถานการณ์ปลอดภัย และไม่มีการปล่อยให้นักเรียนกลับบ้านเอง ต้องแจ้งหรือนัด
แนะผปู้ กครองให้ทราบเกีย่ วกบั ระเบยี บการมารบั ตวั นักเรยี นทสี่ ถานศึกษาดว้ ย

5. การสง่ นกั เรยี นคืนสู่ครอบครัวอย่างปลอดภัย (Safe family reunification)
เม่ือเหตุการณ์ฉุกเฉินคล่ีคลาย ผู้บริหารสถานศึกษาจะแจ้งให้ครูและบุคลากรท่ีเก่ียวข้องทราบว่า

สถานการณ์คลี่คลายและอนุญาตให้ส่งนักเรียนคืนใหผ้ ู้ปกครองได้โดยมีกระบวนการส่งกลับท่ีปลอดภัยสำหรับ
ทุกฝ่าย โดยเฉพาะการตรวจสอบรายช่ือผู้ปกครองและการทำหลักฐานในการส่งเด็กถึงมือผู้ปกครอง เพราะใน
สถานการณ์ไมป่ กติ จำเป็นต้องมีการปกป้องค้มุ ครองเด็กอย่างเข้มงวด ในบางกรณี ตอ้ งกำหนดดว้ ยว่านักเรยี น
ชั้นเด็กเล็กจะต้องไม่กลับบ้านโดยลำพังโดยไม่มีผู้ปกครองมารับ บางกรณี อาจจะกำหนดให้นักเรียนอายุเกิน
15 ปสี ามารถเดินทางกลบั บา้ นได้ แตต่ อ้ งกลับเปน็ กล่มุ ไม่ใหก้ ลบั โดยลำพงั เป็นตน้

ตวั อยา่ งกระบวนการปฏิบตั ิงานและการตัดสนิ ใจในสภาวะฉกุ เฉิน

ขน้ั ตอน เงื่อนไข วธิ กี ารปฏิบตั ิ ความช่วยเหลือท่ีต้องการ

0 ไดร้ ับคำเตือนให้เฝา้ ติดตามข้อมูลและสถานการณ์อยา่ งใกล้ชิด ตรวจสอบความพร้อมทีมหรือ

ระวงั สถานการณ์ คณะทำงาน

1 ไดร้ ับการเตือนภยั ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาตรวจสอบเพ่ือยนื ยนั ตรวจสอบกบั สำนกั งานเขต
ขอ้ มลู พื้นท่ี นายอำเภอ นายกอบต.

2 ในกรณที ี่มีนกั เรียนอยู่ ผบู้ รหิ ารฯเรียกประชมุ คณะทำงานบริหาร
ในสถานศึกษา ภยั พิบัติดว่ นเพ่ือพิจารณาวา่ จะดำเนนิ การ
อพยพนกั เรียนหรือไม่อพยพแตใ่ หอ้ ยใู่ น
อาคารและดแู ลความปลอดภัย
หากอพยพ ไปยังขั้นตอนท่ี 3
หากไม่อพยพ ไปยงั ข้นั ตอนที่ 4

ในกรณีที่มีนักเรยี น ผบู้ รหิ ารฯเรยี กประชมุ ผปู้ ระสานงานฝ่าย
กำลังเดินทาง เตอื นภยั เพ่ือพิจารณาว่าจะประกาศปิด

สถานศกึ ษาหรอื ไม่
หากปดิ สถานศึกษา ไปยังขัน้ ตอนท่ี 5
หากไม่ปิดสถานศึกษา ไปยังขั้นตอนท่ี 6

3 การตดั สนิ ใจอพยพ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาสั่งการให้คณะทำงาน แจง้ ให้ตำรวจในพ้ืนทที่ ราบเพ่ือ

ฝ่ายเตือนภยั และอพยพให้เตรียมพรอ้ ม อำนวยความปลอดภัย เช่น

ปฏิบตั ติ ามแผน จดั การจราจร ความสะดวกใน

การอพยพ เปน็ ตน้
คณะทำงานฝ่ายเตือนภยั และอพยพ แจ้งฝา่ ยประชาสัมพนั ธ์
กระจายข่าวไปตามห้องเรียนใหค้ รเู ตรยี ม สถานศกึ ษาให้เตรยี มตอบ
พานกั เรยี นอพยพไปยงั จดุ ปลอดภยั ทีต่ กลง คำถามผู้ปกครอง
ไว้ล่วงหน้าในแผนแลว้ พรอ้ มแจง้

คณะทำงานฝา่ ยจิตวทิ ยาให้เตรยี มการ

สนบั สนนุ

เริ่มกระบวนการอพยพตามแผนทว่ี างไว้

เตรยี มกระบวนการส่งนกั เรียนกลับบ้าน
เช่น ใชร้ ถโรงเรียนไปส่ง หรือแจ้งผ้ปู กครอง
ใหม้ ารบั

4 การตัดสนิ ใจอยู่ใน คณะทำงานฝา่ ยเตือนภัยและอพยพ สั่งการใหเ้ จ้าหน้าทร่ี ักษาความ

สถานศึกษา ไม่อพยพ กระจายข่าวไปตามห้องเรยี นพรอ้ มแจง้ ปลอดภัยล็อคประตรู ว้ั ให้แนน่

ปดิ การเขา้ ออกเพ่ือ คณะทำงานฝา่ ยจิตวิทยาให้เตรยี มการ หนา ห้ามไม่ใหผ้ ู้ท่ไี ม่เกยี่ วข้อง

ป้องกนั เหตรุ ้าย สนบั สนุน เข้ามาในพ้นื ท่ี และหา้ มไม่ให้มี

การออกนอกพน้ื ท่ี

แจง้ สำนักงานเขตพื้นท่ี

การศึกษา และแจง้ ให้ตำรวจใน

พืน้ ทท่ี ราบถงึ การตัดสนิ ใจและ

สถานการณ์ในโรงเรียน
แจ้งฝา่ ยประชาสัมพันธใ์ ห้
เตรียมตอบคำถามผปู้ กครอง

5 การตดั สินใจปิด ผบู้ รหิ ารฯประกาศปิดโรงเรยี นช่ัวคราว แจ้งสำนกั งานเขตพนื้ ที่
โรงเรียน การศึกษา และแจง้ ให้ตำรวจใน
พื้นทที่ ราบถงึ การตดั สนิ ใจ

จัดการสง่ นกั เรยี นท่ีมาถึงแล้วให้กลับบ้าน

6 การตัดสนิ ใจไม่ปิด คณะทำงานฝา่ ยเตือนภยั และอพยพ สั่งการใหเ้ จา้ หนา้ ที่รักษาความ

สถานศกึ ษา กระจายข่าวไปตามห้องเรยี นพรอ้ มแจง้ ปลอดภัยดแู ลการเข้าออกอย่าง

คณะทำงานฝา่ ยจิตวิทยาให้เตรียมการ เขม้ งวด

สนับสนุน แจ้งฝ่ายประชาสัมพนั ธใ์ ห้

เตรยี มตอบคำถามผปู้ กครอง

แจ้งให้สำนักงานเขตพนื้ ที่

การศึกษาและตำรวจทราบ

สถานการณ์

1.4 หน่วยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ งในเรื่องการจัดการภัยพิบตั ิ
เม่ือเกิดเหตุการณ์คับขันจากภัยธรรมชาติ สถานศึกษาในพื้นที่จะต้องประสานงานกับองค์กรปกครองส่วน

ท้องถิ่นเพื่อให้ข้อมูลความเดือดร้อนเสียหายและขอรับความช่วยเหลือแต่ก็ยังมีหน่วยงานอื่น ๆท่ีได้รับ
มอบหมายให้สนับสนุนการดำเนินการดา้ นการจดั การภัยพิบัตอิ ีกด้วย หน่วยงานสำคัญๆที่สถานศึกษาสามารถ
ประสานงานเพอ่ื ขอรับการสนบั สนนุ ในดา้ นต่าง ๆตาม พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ ไดแ้ ก่

• กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (http://www.disaster.go.th/th/index.php) เป็นหน่วยงาน
หลักในการจัดทำแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แนะนำ ให้คำปรึกษา อบรม สนับสนุนและ
ชว่ ยเหลือประชาชนในยามเกดิ ภยั ผา่ นหน่วยงาน ปภ.ในพืน้ ที่ เช่น ปภ. เขต ปภ. จังหวดั

• กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์ (https://www.m-
society.go.th/main.php?filename=index) มหี นา้ ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั การดูแล สงเคราะห์ชว่ ยเหลือ
ผปู้ ระสบภยั เดก็ กำพรา้ คนพิการ ผสู้ งู อายุในพ้นื ทป่ี ระสบภยั

• กระทรวงสาธารณสุข (https://www.moph.go.th/) มีหน้าท่ีจัดเตรียมความพร้อมในการรับมือกับ
สาธารณภัยผ่านศูนย์ปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขในระดับต่าง ๆ การจัดให้มีการ
รกั ษาพยาบาลฉกุ เฉนิ ทีมปฏบิ ัติตกิ ารฉุกเฉนิ ทางการแพทย์ระดับตา่ ง ๆ

• สำนักงานบรรเทาทุกข์และประชานามยั พิทักษ์ สภากาชาดไทย
(http://www.rtrc.in.th/main.php?filename=index)ทำหนา้ ท่ีฝกึ อบรมเจ้าหน้าท่ี สมาชิก
สภากาชาดไทย อาสาสมคั รและประชาชนทว่ั ไปเพอื่ เตรยี มความพร้อม และดำเนนิ การด้านบรรเทา
ทุกข์ รักษาพยาบาลผปู้ ระสบภยั เมื่อเกดิ เหตุและหลังเกดิ เหตุ ผ่านกาชาดจงั หวดั ตา่ ง ๆ

• มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ (http://www.rajk.org/demo/index.php)
ทำหน้าที่สงเคราะห์ผู้ประสบภัย สงเคราะห์ด้านการศึกษา ทุนการศึกษาและเด็กกำพร้าที่ครอบครัว
ประสบภัย
นอกจากหน่วยงานหลักตาม พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแล้ว สถานศึกษาควรพิจารณา

หน่วยงานหรือองค์กรอื่น ๆที่สามารถให้ความช่วยเหลือในการดำเนินกิจกรรมลดความเสี่ยงภัยพิบัติในระยะ
ตา่ ง ๆ เช่น ภาคธุรกิจในพื้นท่ี องค์กรพัฒนาเอกชนในพน้ื ที่ สำนักงานเขตการศึกษาที่มีสถานศึกษาต้นแบบใน
การจัดการภัยพิบัติธรรมชาติท่ีมีบริบทใกล้เคียงกัน คณะกรรมการฯ ควรเร่ิมสร้างความสัมพันธ์เพ่ือการ
ประสานงานในอนาคต
หัวข้อ : การดำเนินการตามแผน
2. การดำเนินการตามแผนงาน

ในการบริหารจัดการภัยพิบัติธรรมชาติของสถานศึกษาน้ัน อาจจะจัดทำมาตรการลดความเส่ียงเป็น
มาตรการระยะส้ัน ระยะกลางหรือระยะยาวที่สามารถดำเนินการไปได้เร่ือย ๆตลอดเวลาทั้งเป็นมาตรการที่
เก่ียวกับโครงสร้างอาคารสถานที่และไม่เก่ียวกับโครงสร้าง หลักสำคัญอีกประการหน่ึงคอื แผนของสถานศึกษา
จะต้องสอดคล้องกบั แผนภยั พบิ ตั ิของชมุ ชน

2.1 มาตรการลดความเส่ียงภยั พิบัติธรรมชาตใิ นสถานศกึ ษา
ในการบริหารจัดการความเส่ียงภัยพิบัติ การจัดทำมาตรการลดความเส่ียงจะช่วยบรรเทาความตึง

เครียดในการเผชิญเหตุฉุกเฉินลดน้อยลง หรือช่วยป้องกันไม่ให้เกิดเหตุฉุกเฉินที่ไม่พึงประสงค์ มาตรการลด
ความเสี่ยงภัยพิบัติสามารถผนวกเข้ากับนโยบายสร้างความปลอดภัยให้สถานศึกษา เป็นกิจกรรมท่ีสามารถทำ
ได้อย่างต่อเน่ืองตลอดปี สามารถประยุกต์ใช้หลายแนวทางประกอบกัน ทั้งท่ีเป็นมาตรการด้านโครงสร้าง
อาคาร (Structural Mitigation Measures) และมาตรการท่ีไม่ใช่โครงสร้าง (Non-structural Mitigation
Measures) และบางมาตรการสามารถให้นักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินเพื่อเป็นการสร้างความ
ตระหนกั ในเร่ืองการจดั การความเสยี่ งภยั พิบัติ เช่น

• การสร้างอาคารเรียนใหม่ท่ีมีการออกแบบก่อสร้างเพื่อต้านทานภัยธรรมชาติ และการใช้เทคนิคทาง
วศิ วกรรมกอ่ สร้างเสรมิ ความแขง็ แรงและการรับนำ้ หนักของอาคาร

โรงเรียนตา้ นแผน่ ดนิ ไหวบา้ นหนองบัว 1-4
โรงเรียนบ้านหนองบัว โรงเรียนประถมท้องถิ่นของอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ก็เป็นอีกหนึ่งใน
โรงเรียนเก้าแห่งท่ีได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ภัยพิบัติแผ่นดินไหวและได้รับการสร้าง อาคารเรียนทดแทน
ข้ึนมา โดยอาคารเรยี นแห่งใหม่น้ีประกอบด้วยห้องเรยี น 4 ห้อง บนพ้ืนท่ีใช้สอย 48 ตารางเมตร และยงั มีพ้ืนที่
ส่วนกลางสำหรับให้เด็ก ๆ ประกอบกิจกรรมต่าง ๆ โครงสร้างวัสดุของอาคารได้รับบริจาคมานั้นถูกประกอบ
เข้าด้วยกันด้วยระบบการก่อสร้างแบบสำเร็จรูป เพ่ือให้มีวัสดุเหลือใช้ในการก่อสร้างน้อยที่สุด โครงสร้างส่วน
ใหญ่ของอาคารส่วนใหญ่ทำจากเหล็ก ซึ่งโดยหลักการแล้วถือเป็นโครงสร้างที่มีความยืดหยุ่นสูงจนสามารถดูด
ซับแรงส่ันสะเทือนของแผ่นดินไหวได้ นอกจากนั้น โครงสร้างเหล็กยังสามารถก่อสร้างได้อย่างง่ายดายและ
สะดวกในพ้ืนที่ชนบท กำแพงของอาคารเรียนประกอบข้ึนจากแผ่นไม้อัดซีเมนต์อเนกประสงค์ (Wood Ce-
ment Board) ซ่ึงเป็นวัสดุที่หาได้ง่ายและใช้งานสะดวก ซ่ึงนอกจากจะใช้ทำกำแพงแล้วยงั ใช้ทำชั้นวางของได้
อีกดว้ ย
อาคารแห่งน้ีพัฒนาขน้ึ สำหรบั ผู้ใช้งานท่ีเป็นนักเรียนและครู สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้สอยได้
ตามความต้องการ ห้องเรียนแต่ละห้องสามารถเปิดถึงกันได้ด้วยการเอาฉากก้ันออก รว้ั ด้านนอกของอาคารทำ

จากวัสดุท้องถ่ินอย่างไม้ไผ่ ซ่ึงเป็นวัสดุท่ีหาได้ง่ายและราคาถูก อีกท้ังยังมีความยืดหยุ่นสูง และเหมาะกับการ
รับกับสภาวะของแผ่นดินไหว ตัวอาคารถูกออกแบบให้รับกับสภาพอากาศของภาคเหนือ โดยยกใต้ถุนสูง
พอเหมาะเพื่อลดความช้ืนและหลีกหนีน้ำท่วม รวมถึงมีที่วางรองเทา้ ให้เขา้ กบั วัฒนธรรมไทยท่ตี ้องถอดรองเท้า
ก่อนขึ้นชานเรือน ตัวอาคารมีระเบียงซ่ึงเป็นพ้ืนท่ีกึ่งกลางระหว่างในร่มกับกลางแจ้งซึ่งเหมาะกับวิถีชีวิตใน
สภาพอากาศ ในขณะที่ชายคาที่ยื่นออกมาช่วยเป็นตัวป้องกันอากาศหนาว แต่หลังคาสูงลาดเอียง โล่งโปร่ง
เปิดให้อากาศธรรมชาติไหลเวียนเข้ามาในอาคาร รวมถึงเปิดให้มีแสงธรรมชาติส่องถึงในตอนกลางวันเพื่อ
ประหยัดการใช้ไฟฟ้า

อาคารเรียนแห่งนี้เป็นงานสถาปัตยกรรมท่ีสร้างขึ้นจากการสนับสนุนของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่ง
ประเทศไทย, สมาคมวิศวกรท่ีปรึกษาแห่งประเทศไทย, สมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ในพระบรม
ราชูปถัมภ์ และ สมาคมสถาปนิกสยาม ในการจัดหาทุนและวัสดุในการก่อสร้าง รวมถึงหยาดเหง่ือแรงงานที่
เกิดจากความร่วมมืรว่ มใจของชาวบ้านและคนในทอ้ งถน่ิ จึงนับว่าเป็นอาคารท่ีเกิดจากแรงใจของท้องถ่ินอย่าง
แท้จรงิ

อนึ่ง หน่ึงในอาคารเรียนทั้งหมดของโรงเรียนบ้านหนองบัวหลังน้ี เป็นผลงานการออกแบบของ Jun-
sekino Architecture & Design และได้รับรางวัลในสาขา Institutional-Primary & High Schools จาก
Architizer A+ Awards คร้ังท่ี 5 ในนครนิวยอร์ก ซ่ึงถือเป็นความภูมิใจของคนไทยท่ีสถาปนิกไทยได้ก้าวไปสู่
เวทรี ะดับโลก

• การปรับปรุงสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาให้งา่ ยต่อการเคล่อื นย้ายอพยพครแู ละนกั เรียนใน
สถานการณ์ฉุกเฉิน

• การออกแบบการใช้พื้นที่ เชน่ การปลูกไผแ่ ทนรั้วเพ่ือความสวยงามและกันแรงปะทะของลมและ
ฝน การออกแบบช่องลมและช่องแสงเพื่อให้อากาศถ่ายเทเขา้ มาในอาคาร

• การยดึ อุปกรณ์ เฟอรน์ ิเจอร์กับผนังใหแ้ นน่ หนาเพ่ือป้องกนั การลม้ หล่นทบั
• การเตรยี มความพร้อมด้านต่างๆ เชน่ การเตรียมกักเกบ็ น้ำสะอาดใสแ่ ทงก์น้ำหรอื ถัง การปิดวาล์วนำ้

เพอื่ ป้องกนั การปนเป้ือน จนกว่าจะไดร้ บั ประกาศหรือรบั รองจากหนว่ ยงานท่เี กย่ี วขอ้ ง การเกบ็ รกั ษา
เครอ่ื งใช้ อุปกรณ์การเรยี นการสอน ในที่สูงทนี่ ้ำทว่ มไม่ถึง หรอื การห่อหุม้ ของใช้บางประเภททอ่ี าจ
เสยี หายจากความชนื้ ด้วยถงุ หรอื ลังพลาสตกิ
• การสร้างความตระหนักรใู้ ห้กับนักเรียนและบุคลากรถึงสิ่งแวดลอ้ ม ภัยธรรมชาติและวธิ ีการปอ้ งกนั ตวั
ใหพ้ ้นภยั

2.2 การจัดทำแผนแจ้งเตอื นภัยและอพยพ
ในการวางแผนแจ้งเตือนภัยนั้นจะต้องมีการออกแบบสัญญาณเตือนภัยท่ีเหมาะสมกับผู้รับสั ญญาน

การทำความเข้าใจในสัญญาณเตือนภัยและการปฏิบัติตามขั้นตอนที่ได้จัดเตรยี มไว้ล่วงหนา้ การแจ้งเตือนภยั นี้
อาจจะตามด้วยการอพยพหรอื ไมต่ ้องอพยพก็ได้ ข้ึนอยูก่ บั ความจำเป็นและความรุนแรงของภัย

การแจ้งเตือนภัยในสถานศึกษา อาจแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ 1) ข้ันการแจ้งเตือนภัยเพ่ือการเฝ้าระวัง
หรอื เตรียมพรอ้ ม สำหรับการอพยพหนีภยั หากมคี วามจำเป็น 2) ข้ันการแจง้ เพอื่ อพยพหนีภัย หรอื คำสั่งอพยพ

สำหรับการอพยพหลบภัยของเด็กพิการ ครูและผู้ดูแลจะต้องเข้าใจวิธีเคล่ือนไหวของเด็กพิการและ
สามารถเคล่ือนย้ายเด็กพิการโดยไม่กอ่ ให้เกิดอนั ตราย หากจำเป็นต้องมีการใช้ยานพาหนะ ต้องใช้ยานพาหนะ
ทเ่ี หมาะสม สถานศึกษาทมี่ ีเด็กพกิ ารควรบรรจุแผนการให้ความรู้แก่เจ้าหน้าท่กี ู้ภัยและคนในชมุ ชนรู้จักวิธกี าร
ช่วยเหลือเด็กพิการด้วย เช่น สอนวิธีการนำทางคนตาบอดที่ถูกวิธเี พื่อช่วยในการอพยพ สอนภาษามือเบ้ืองต้น
แก่เจ้าหน้าที่กู้ภัยเพ่ือส่ือสารกับเด็กหูหนวกในการอพยพ ฝึกซ้อมเจ้าหน้าที่กู้ภัยให้มีความรู้ในการเคลื่อนย้าย
เด็กพิการ เปน็ ตน้
ในการวางแผนเตอื นภยั และอพยพมีประเดน็ ที่ต้องพิจารณา ดงั นี้

ประเด็น หมายเหตุ

1. ภยั ธรรมชาติทจี่ ำเปน็ ตอ้ งมีการแจ้งเตือนภัยมีอะไรบ้าง ขน้ึ อยกู่ ับภัยและความรุนแรง

2. ขอ้ มลู ประกอบการตัดสนิ ใจแจ้งเตอื นภัยได้มาจากแหล่งใด เช่อื ถือไดห้ รือไม่ เปน็ ปจั จุบัน

3. วิธีการตรวจสอบข้อมลู ก่อนการแจ้งเตอื นภายใน หรือไม่ ได้รบั ข้อมูลมาอย่างไร

สถานศกึ ษา

4. กระบวนการตัดสนิ ใจแจง้ เตือนภัยของผู้บริหารสถานศึกษา เป็นมตจิ ากการหารอื กับ
คณะทำงานท่ีเก่ยี วข้องหรอื เป็นการ
ตัดสินใจโดยลำพัง

5. นักเรียนและบุคลากรในสถานศกึ ษามีก่ีประเภท (เด็กเลก็ เพ่ือกำหนดวิธเี ตอื นภัยและบทบาท

เด็กโต เด็กพิการ ครูพิการ เป็นตน้ ) หนา้ ท่ีในการดูแล

6. ระดบั ในการแจง้ เตือนเปน็ อย่างไร จะประกาศแจง้ เตือนภยั ภัยบางประเภทสามารถรอดู
ล่วงหน้าเมอื่ ใด ต้องใชเ้ วลาเตรยี มนักเรียนมากน้อยเพียงใด สถานการณ์ได้

7. วิธีการแจง้ เตอื นภยั มีอะไรบ้าง วิธหี ลกั และแผนสำรอง ควรมกี ารกำหนดสัญญาณและสอน
ใหน้ กั เรยี นร้จู กั สญั ญาณ

8. อุปกรณ์ทนี่ ำมาใชใ้ นการเตือนภัยได้มีอะไรบ้าง พรอ้ มใชง้ านและครอบคลุมหรอื ไม่

9. ข้อความที่ใช้ในการประกาศเตอื นภัย ข้อความตอ้ งส้นั กระชบั รบั รูแ้ ละ
เขา้ ใจง่าย ไมท่ ำใหห้ วาดกลัว

10. สิ่งท่ีต้องการใหน้ ักเรยี นและบุคลากรปฏิบตั เิ มื่อไดร้ ับการ ใหก้ ำหนดขนั้ ตอนปฏิบัตเิ ปน็

เตือนภยั คืออะไร จะสื่อสารอยา่ งไร มาตรฐานสำหรบั ทกุ คน

11. ขน้ั ตอนการพิจารณาออกคำส่ังอพยพเปน็ อยา่ งไร การรวบรวมข้อมลู และตัดสนิ ใจ

ประเด็น หมายเหตุ

12. หากไม่สามารถอพยพไดท้ ันท่วงที จะต้องทำอยา่ งไรบ้าง พิจารณาแนวทางที่เป็นไปไดแ้ ละ
ปลอดภัยทสี่ ุด

13. การประกาศยตุ ิการอพยพตอ้ งทำอยา่ งไรบ้าง ติดตามสถานการณแ์ ละการ
ประสานงานกบั หน่วยงานภายนอก
อยา่ งไร

14. วธิ ีการแจ้งสถานการณ์ใหห้ นว่ ยงานภายนอกและผู้ปกครอง วธิ ีการและผู้ทำหน้าท่ีแจ้ง

2.2.1 องคป์ ระกอบของแผน
แผนเผชญิ เหตุสว่ นใหญป่ ระกอบด้วยวธิ ปี ฏิบัติในการแจง้ เตือนภัยและการอพยพ ประกอบด้วยข้อมูลหลักๆ
ดังน้ี

• แผนผังสถานศกึ ษา
• ข้อมูลพื้นที่เส่ียงภัยธรรมชาติ เช่น น้ำท่วม ดินโคลนถล่ม วาตภัย สึนามิ แผ่นดินไหว ฯลฯ ต้องมีการ

ประชมุ นกั เรียนและผู้ปกครองเพ่ือรบั รูพ้ ื้นทีเ่ สี่ยงภัยร่วมกนั
• ข้อมลู พื้นท่ปี ลอดภัย จุดปลอดภัยท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษาตามบรบิ ทของภยั
• เสน้ ทางอพยพและจดุ ปลอดภัย ในแผนควรระบุถนนหรอื ทางเดินเทา้ ท่สี ามารถไปยังจุดปลอดภยั ได้
• สัญญาณเตือนภัย ระบุสัญญาณเตือนภัยตามระดับความรุนแรงของภัย ในกรณีท่ีมีนักเรียนคนพิการ

ประเภทท่ีแตกต่างกัน ต้องมีการกำหนดรูปแบบและวิธีการเตือนภัยท่ีเหมาะสมกับประเภทความ
พกิ าร
• ขัน้ ตอนและวธิ กี ารอพยพ โดยมีการระบวุ ิธีการการอพยพสำหรับครูและนักเรยี นที่พิการด้วย
• วิธกี ารรายงานตัว ณ จุดปลอดภยั
• ขั้นตอนการส่งนักเรยี นให้ผปู้ กครอง ซ่ีงจะต้องมกี ารแจง้ วิธกี ารใหผ้ ปู้ กครองทราบ
• รายชื่อคณะทำงานเผชิญเหตุพร้อมบทบาทหน้าท่ีท่ีต้องรับผิดชอบ เช่น คณะกรรมการฝ่ายป้องกัน
และเตรียมความพร้อม คณะกรรมการนออพยพ คณะกรรมการฝ่ายสุขภาพอนามัย คณะกรรมการ
ฝ่ายประสานงาน หรอื คณะกรรมการอน่ื ๆตามทีจ่ ำเป็น
• รายชื่อและหมายเลขโทรศัพทข์ องหน่วยงานทต่ี ิดต่อได้
อย่างไรก็ตาม สถานศึกษาควรพิจารณาเพิ่มเติมข้อมูลจำเป็นอ่ืน ๆให้ครบถ้วนลงในแผนและส่งแผน
เผชิญเหตุฉุกเฉินน้ีให้สำนักงานพื้นท่ีเขตการศึกษาและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเพื่อขอความช่วยเหลือหาก
เกดิ สถานการณฉ์ กุ เฉนิ

• ตวั อยา่ งแผนเผชญิ เหตุหรือแผนปฏบิ ัตกิ ารเมอ่ื เกดิ เหตุฉกุ เฉิน

2.2.2 ระบบเตอื นภัยทมี่ เี ด็กเปน็ ศูนย์กลาง
การแจ้งเตือนภัย เป็นการบอกให้นักเรียนและบุคลากรรับรู้ได้อยา่ งท่ัวถงึ ในเวลาท่ีส้ันทีส่ ุด เพื่อเตรียม

ตัวให้พร้อมและหนีภัยได้ทัน การแจ้งเตือนภัยมีหลายระดับข้ึนอยู่กับภัยธรรมชาติท่ีเผชิญ เช่น การเตือนเพื่อ
เฝ้าระวัง การเตอื นเพอ่ื การเตรยี มพรอ้ ม และการแจง้ เตือนให้อพยพ แต่กระน้ันกต็ าม ภัยธรรมชาติบางอยา่ งก็
ไม่สามารถเตอื นภัยลว่ งหน้าได้ เช่น แผน่ ดินไหว หลุมยุบ พายุงวงชา้ ง พายุฤดรู อ้ น เปน็ ต้น

ในกรณีเป็นพื้นท่ีเส่ียงอุทกภัยแบบน้ำล้นตล่ิง น้ำป่าไหลหลาก สถานศึกษาติดตามข่าวสารการ
พยากรณ์อากาศอย่างสม่ำเสมอโดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนและหน้ามรสุม และนำข้อมูลเตือนภัยดังกล่าวมาใช้ใน
ระบบเตือนภยั เฉพาะทางในสถานศกึ ษา

การแจ้งเตือนภัยสามารถทำได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับบริบทของภัยและเวลาในการเตรียมตัว เช่น
การใช้ไซเรนมือหมุนสำหรับภัยท่ีเกิดขึ้นปัจจุบันทันด่วน เช่น น้ำป่าไหลหลาก ดินโคลนถล่ม การใช้สีเป็น
สัญลักษณ์ การใช้สัญญาณธง การใช้เสียงสำหรับนักเรียนตาบอด การใช้สื่อทางสายตา เช่น ไฟกระพริบหรือ
สญั ญานส่ันสำหรับนักเรยี นหูหนวก เป็นต้น
ตัวอยา่ งอุปกรณ์เตือนภยั มีดังน้ี

• อปุ กรณ์เตอื นอัคคีภัย

ในการช่วยเหลือนักเรียนท่ีมีความพิการ ไม่ว่าจะเป็นความพิการทางการได้ยิน หรอื ทางการเห็น หรือ
นักเรียนหูหนวกตาบอด (Deafblindness) หรือนักเรียนท่ีมีปัญหาในการพูดและภาษา การส่ือสารใน
สถานการณ์ฉกุ เฉินเป็นเรื่องสำคัญมาก ดงั น้ันการเตรียมความพร้อมด้านการสื่อสารทางเลือกจึงมีความจำเป็น
โดยสามารถเตรียมการได้ดงั น้ี

1. เตรียมอุปกรณ์สำหรับการเขียนแนวปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินด้วยรูปแบบที่หลากหลายให้พร้อม
เช่น อักษรเบรลล์ เอกสารที่เป็นอักษรขยาย อุปกรณ์ท่ีสัมผัสแล้วแสดงผลเป็นเสียงและข้อความ และเตรียม
เครอ่ื งชว่ ยฟังให้ พร้อมสำหรับนักเรียนพิการทางการได้ยิน (หตู ึง)

2. จัดให้มีอุปกรณ์/เครื่องช่วยที่สอดคล้องกับความต้องการของนักเรียน ครู และบุคลากร ท่ี
จำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือพิเศษ เช่น วัตถุท่ีลดความเครยี ดของเด็ก ล่ามภาษามือ รถวีลแชรส์ ำรอง (ไม่ใช้
ไฟฟ้า)

3. จัดให้มีสัญญาณเตือนภัยท่ีสามารถแจ้งเตือนได้ท้ังนักเรียนที่มีความพิการทางการได้ยิน และ
นักเรียนที่มีความพิการทางการเห็น สำหรับนักเรียนที่มีความพิการทางการได้ยินจำเป็นต้องใช้สัญญาณเตือน
ภัยแบบสัญญาณไฟวาบ/ไฟกระพริบ (Flashing light alarms) หรือสญั ญาณเตือนภัยที่มีระบบพ่นน้ำหรอื สนั่ ที่
หมอนสำหรับบุคคลท่ีมีความพิการทางการได้ยินท่ีกำลังนอนหลับ และระบบแจ้งเตือนภัยผ่านทาง
โทรศพั ท์มือถือ (Mobile Alert Software) หรอื ระบบ TTRS

4. ใหใ้ ชค้ ำสั่งทส่ี นั้ กระชับ และชัดเจน เช่น “ไฟไหม”้ “ไปทีท่ างออก”
5. ใชก้ ารสือ่ สารข้อมูลสำคัญผา่ นทางการพดู ประกอบกับภาษามือ หรือภาษาทา่ ทาง
6. ใชส้ ัญญาณเสียงหรอื การพูดบอกทิศทาง พรอ้ มกับการนำทางสำหรับนักเรยี นตาบอด และนักเรยี น
ทม่ี สี ายตาเลอื นราง

2.2.3 วธิ ปี ฏิบตั ใิ นการอพยพ
• เม่ือได้รับคำสั่งให้เตรียมตัวอพยพ ครูต้องเตือนให้ตั้งสติ อย่าตกใจ ให้เด็กทุกคนเก็บของมีค่าและ
เอกสารสำคญั ไวก้ ับตัว เช่น บตั รประชาชน กระเป๋าสตางค์ ยาประจำตัว
• หากมีการถอดรองเท้าไว้นอกห้องเรียน ให้เด็กรีบใส่รองเท้าเพื่อเตรียมตัวก่อน ในกรณีที่เป็นเด็ก
นักเรียนตาบอด จำเป็นต้องมีการฝึกวินัยเร่ืองการถอดรองเท้าให้เป็นระเบียบและฝึกใส่รองเท้า
อย่างรวดเร็วเพื่อรบั มอื กับการอพยพฉุกเฉนิ
• ครูควรมีเอกสารใบรายช่ือนักเรียนในห้องเพ่ือความสะดวกในการสำรวจนักเรียนระหว่างการ
อพยพ
• ครปู ระจำชน้ั ตอ้ งจัดระเบียบนักเรียนเพอ่ื การอพยพ อาจจะใหเ้ ข้าแถวเรียงกัน หรือให้จับคู่ดูแลกัน
หรือจับเป็นกลุ่มให้แต่ละกลุ่มมีผู้นำและออกจากห้องเรียนไปพร้อมกัน ควรจัดให้หัวหน้าห้องและ
รองหัวหน้าห้องเปน็ ผชู้ ่วยครูในการดูแลการอพยพ
• ครคู วรเนน้ ขน้ั ตอนการปฏบิ ัติ บอกเสน้ ทางอพยพ จุดรวมพล และกติกาในการอพยพ ได้แก่ ไมว่ ิ่ง
ไม่พูดคุย ไม่ผลักดัน ไม่ยื้อแย่ง และให้ตั้งใจฟังคำสั่งอย่างเคร่งครัด (ควรมีการซ้อมข้ันตอนการ
อพยพและสอนกติกาน้ลี ว่ งหนา้ )
• หากมีนักเรียนพิการในห้องเรียน ให้จัดระบบเพ่ือนช่วยเพื่อน (Buddy System) คือมอบหมายให้
เพื่อนเปน็ ผ้ชู ่วยเหลอื ดแู ลนกั เรยี นพกิ ารในระหว่างการอพยพ

• ในกรณีอัคคีภัย มีควันไฟเกิดข้ึน ให้ครูบอกวิธีอพยพให้ชัดเจน คือให้เอาผ้าปิดปากปิดจมูก ก้มต่ำ
หรือคลานออกไปตามทางเดิน เพราะบริเวณใกล้พ้ืน จะเป็นบริเวณท่ีมีอากาศพอจะหายใจได้ใน
ระยะหนงึ่

• เมื่อได้รับคำส่ังให้อพยพ ให้แน่ใจว่าเส้นทางอพยพปลอดภัย แล้วจึงให้นักเรียนออกจากห้องเรียน
อยา่ งเปน็ ระเบียบ

• หลังจากนักเรียนคนสุดท้ายออกไปแล้วให้ครูสำรวจความปลอดภัย ปิดน้ำ หรือปิดไฟฟ้าและกวาด
ตาสำรวจห้องอยา่ งรวดเร็ววา่ มใี ครตกคา้ งหรอื ไม่ หรือมีใครบาดเจบ็ เป็นลมอยูท่ พ่ี ้ืน

• เมอ่ื ออกจากหอ้ งแลว้ ใหส้ งั เกตหอ้ งเรียนขา้ งๆวา่ ต้องการความช่วยเหลอื อะไรบ้างหรือไม่
• นำนักเรยี นอพยพไปตามเส้นทางทต่ี กลงกนั ไว้ในแผนอพยพไปยังท่ีปลอดภยั
• เม่ือหลบหนีจากจุดที่เกิดเหตุไปถึงท่ีปลอดภัยแล้ว ให้ตรวจสอบว่ามีนักเรียนสูญหาย หรือได้รับ

บาดเจ็บหรือไม่ พร้อมแจ้งยอดและสถานการณ์ไปยังผู้บริหารสถานศึกษาหรือหัวหน้าทีมอพยพ
หากมีผบู้ าดเจ็บใหส้ ่งไปยังจุดรักษาพยาบาล
• หากมีนักเรียนสูญหาย ให้ติดตามตรวจสอบก่อน หากยังไม่พบตัว ให้ประสานทีมงานติดตามผู้
ตกค้างท่อี าจพลดั หลงระหว่างการอพยพ
• ในกรณีท่ีสถานศึกษาอยู่ในพ้ืนที่เส่ียงภัย อาจจะจัดให้มีกระเป๋าฉุกเฉินประจำห้องเรียน เป็น
กระเป๋าเป้ใส่ชุดปฐมพยาบาล ยาหมอ่ ง ยาดม ไฟฉาย ถ่านไฟฉาย ถุงพลาสตคิ เชือก มดี ผา้ ขนหนู
ลูกอม คู่มือปฏิบัติในสถานการณ์ฉุกเฉิน รายชื่อนักเรียน หมายเลขโทรศัพท์ผู้ปกครองและ
หมายเลขโทรศพั ทส์ ำคญั เปน็ ต้น
2.2.4 การเตรียมกระเป๋าฉุกเฉินประจำชั้นเรียน
แต่ละชน้ั เรียน ควรมีกระเป๋าฉกุ เฉินไว้เพ่ือให้ครูประจำช้ันสามารถให้ความช่วยเหลอื และมีส่วนรว่ มใน
การบริหารจัดการภัยพิบัติในระดับชนั้ ที่ครูรับผิดชอบอยู่ โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวขอ้ งกับการนับจำนวนนักเรียน
การดูแลนกั เรยี นที่บาดเจ็บและการตดิ ต่อผูป้ กครอง ตัวอย่างการจดั กระเปา๋ ฉุกเฉนิ ไดแ้ ก่

ลำดบั รายการ มี จำนวน หมายเหตุ (ขนาด การใช้งาน)
• ยาสำหรบั การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้
• ไฟฉาย
• วทิ ยุ
• แบตเตอร่ี
• นกหวดี
• ผ้าห่มฉกุ เฉนิ
• เสอ้ื กนั ฝน
• กระดาษทชิ ชู่

ลำดับ รายการ มี จำนวน หมายเหตุ (ขนาด การใช้งาน)
• พลาสเตอร์ยา
• ผ้าพันแผล ผา้ กอ๊ ซ ลำสี
• ผ้าสามเหลย่ี ม
• ผา้ อนามยั
• ปากกา
• สมุดจด
• แบบฟอร์มรายงานสถานการณ์
• ป้ายชั้นเรียน
• รายชอื่ นกั เรียนในช้ัน
• แผน่ ปา้ ยสีแดง (หมายถงึ มคี นบาดเจบ็

หรือมีอันตราย)
• แผ่นป้ายสีเขียว (หมายถึงอพยพได้

ครบถว้ นและทุกคนปลอดภยั )
• สง่ิ ของอ่ืนๆ (ระบ)ุ

2.3 การจัดซ้อมแผนเตอื นภัยและอพยพ
การซอ้ มแผนเตือนภยั และอพยพมีความจำเป็นอยา่ งมาก เน่อื งจาก

• เป็นการเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร ทรัพยากร และระบบการปฏิบัติการตามบทบาทหน้าท่ี ท่ีได้
กำหนดไวใ้ นแผนการจัดการสาธารณภยั ในโรงเรยี น

• เปน็ กิจกรรมสร้างความเขา้ ใจในบทบาทและความรับผิดชอบสำหรบั ทุกคนในสถานศึกษา
• เพม่ิ ความรว่ มมอื ระหวา่ งผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ครู บุคลากรด้านการศึกษา นักเรียนแกนนำ และชมุ ชม
• เปน็ ช่องทางในการสรา้ งการมสี ่วนร่วมของชุมชนในการจดั การสาธารณภยั ในสถานศึกษา

ในการจัดซ้อมแผนจะต้องมีการแต่งตั้งคณะทำงานออกแบบการฝึกซ้อมให้มีหน้าท่ีความรับผิดชอบ
การฝึกซ้อมทั้งกระบวนการ ต้ังแต่การออกแบบพัฒนาการฝึกซ้อม งานธุรการและงานสนับสนุน หากการ
ฝึกซ้อมเก่ียวข้องกับหลายหน่วยงาน หัวหน้าคณะทำงานจะต้องต้ังผู้ช่วยหรื อผู้ประสานงานเพ่ือ
ชว่ ยงาน ตวั อยา่ งการซอ้ มแผน่ ดินไหวในโรงเรยี น ประเทศญีป่ ่นุ
2.3.1 การเตรียมการเพอ่ื การฝกึ ซ้อมแผน

1. การวางแผนการฝึกซอ้ ม โดยการพิจารณาบรบิ ทปจั จุบนั ของสถานศกึ ษาไดแ้ ก่
1. ลกั ษณะของภยั และแผนท่จี ะนำมาฝึกซอ้ ม
2. หนา้ ท่ี/ภารกจิ ของคณะกรรมการหรอื คณะทำงานชดุ ตา่ ง ๆที่ต้องการฝึกซอ้ ม
3. บทบาทของบคุ ลากร เจ้าหน้าที่และนกั เรียนท่ีจะร่วมฝึกซอ้ ม
4. วัตถปุ ระสงคแ์ ละศกั ยภาพของการฝึกซ้อม


Click to View FlipBook Version