The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาภาษาไทยเพื่อสื่อสารในงานอาชีพ(ใหม่่)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by warinphon.chi, 2019-10-24 21:22:37

วิชาภาษาไทยเพื่อสื่อสารในงานอาชีพ(ใหม่่)

วิชาภาษาไทยเพื่อสื่อสารในงานอาชีพ(ใหม่่)

ภาษาไทยเพ่อื ส่ือสารในงานอาชีพ
: รหสั วิชา 3000-1101

อ. วรินทร์พร จิโรชกมลวฒั น์
ผสู้ อน

อ.วรินทร์พร
จิโรชกมลวฒั น์

วชิ า
ภาษาไทย
เพอื่ สื่อสารในงานาชีพ

จุดประสงค์รายวชิ า เพอ่ื ให้
๑).ความความเข้าใจเกย่ี วกบั การใช้
ภาษาไทยสื่อสารในงานอาชีพ
๒. สามารถนาภาษาไทยไปใช้เป็ น
เครื่องมอื ส่ือสารในงานอาชีพ
๓. เห็นคุณค่าและความสาคญั ของ
การใช้ภาษาไทยส่ือสารในงานอาชีพ

การใช้ภาษาไทยเพอื่
สื่อสารในงาน

แนวคดิ

ในสงั คมปัจจุบนั อาชีพ
หลายประเภทที่ผปู้ ระกอบ
อาชีพตอ้ งอาศยั ภาษาไทย
เป็ นเครื่ องมือในการติดต่อ
สื่อสาร เช่น อาชีพครูนกั
ธุรกิจ แพทย์ พยาบาล

ทนายความ ทหารตารวจ

หากตอ้ งมีการติดต่อ
เก่ียวขอ้ งกบั ผอู้ ื่นแลว้ กต็ อ้ ง
ใชภ้ าษาไทยในการสื่อ
ความหมายอยตู่ ลอดเวลา
ภาษาจึงเป็ นเคร่ื องมือ
อานวยความสะดวกในการ

ติดต่อสื่อสาร

ความหมาย
ของภาษา

ถ้อยคาทมี่ นุษย์ใช้พูด หรือเขยี นเพอื่ ส่ือความ
หมาย ทุกภาษาจะมภี าษาพูดก่อนภาษาเขยี น

ความสาคญั ของภาษา
เพื่อสื่อสาร

1.ภาษาเป็ นเคร่ืองมือใน
การถ่ายทอด
2.ภาษาเป็ นเคร่ืองมือในการ
ส่ือสารให้คนในสังคมเดยี ว
กนั เข้าใจกนั

3.ภาษาเป็ นเคร่ืองมือในการ
ประกอบอาชีพ
4. ภาษาเป็ นเคร่ืองมือในการ
ปกครอง
5.ภาษาเป็ นเครื่องมือในการ
ศึกษาเล่าเรียน

องคป์ ระกอบของการ
ส่ือสาร



ประเภทของภาษาเพื่อ
สื่อสาร

1.วจั นภาษา
2.อวจั ภาษา

ระดบั ของภาษา

1.ภาษาระดบั ทางการ
2.ภาษาระดบั กงึ่ ทางการ
3.ภาษาระดบั ไม่เป็ นทางการ

ข้อควรระวงั ในการใน
ภาษาเพอื่ การสื่อสาร

1.ใช้คาให้ถูกต้องตาม
ความหมาย

เช่น
1. วยั รุ่นทย่ี งิ กนั ถูก กกั ขงั
อยู่ในสถานพนิ ิจ

คาตอบ กกั กนั

2.การใช้ศัพท์สานวนให้
เหมาะสมกบั กาลเทศะ
หรือโอกาส

เช่น

โอกาสทเ่ี ป็ นทางการ ชาระภาษี
โอกาสทก่ี ง่ึ ทางการ จ่ายภาษี
โอกาสทไ่ี ม่เป็ นทางการ เสียภาษี

3.การใช้ศัพท์สานวน
ให้เหมาะสมกบั ฐานะบุคคล

สิ่งที่ควรสังเกต !!!!!
หน้าทก่ี ารงาน
เพศ
อาชีพ
ความสัมพนั ธ์

4.การใช้คาสานวนภาษาต่าง
ประเทศโดยไม่จาเป็ น

ตวั อยา่ ง
Okay ผมเห็นดว้ ยกบั Idea
ของคุณ แต่ Model ท่ีคุณ
Present น้นั ผมวา่ มนั
Impossible

5.การใช้คาศัพท์สแลง

ตวั อย่าง
แฟนลูกหนัง
ผู้ชอบชมกฬี าฟุตบอล
งาบ
ฉ้อโกง

6.การใช้คาต่างระดบั

ตวั อย่าง
ผู้ชายใจง่ายกว่าสตรี

ควรใช้คาว่า
ผู้หญงิ

7.การใช้คาฟ่ ุมเฟื อย
หรือซ้าซาก

ตวั อย่าง
ครูกาลงั ทาการสอน

ครูกาลงั สอน

8.การเว้นวรรคตอนทถ่ี ูกต้อง

ตัวอย่าง
วนั นีค้ ุณแม่แกงจดื ใส่เห็ด
หอมน่ารับประทานจงั

วนั นีค้ ุณแม่แกงจืดใส่เห็ดหอม น่ารับประทานจงั

ตวั อย่าง
นักเรียนย่อมเป็ นทร่ี ักของครู
ทปี่ ระพฤตดิ ที ุกคน
นักเรียนทีป่ ระพฤตดิ ยี ่อม
เป็ นทร่ี ักของครูทุกคน

10.การใช้ประโยคทีก่ ะทดั รัด
ชัดเจน

ในขณะทเ่ี พลงไทยสากลกาลงั รุ่งเรืองและ
เป็ นทน่ี ิยมฟังกนั อย่างแพร่หลายใน
ปัจจุบนั เพลงไทยลูกทุ่งอนั เป็ นเพลงทม่ี คี ุณ
ค่าต่อคนไทยและสังคมไทยท้งั ในด้าน
ความบริสุทธ์ิสวยงามของภาษา
และวฒั นธรรมพนื้ บ้านน้ันกลบั

ซบชาลงเร่ือยๆ

ควรแก้ไขเป็ น
เพลงไทยลูกทุ่งกาลงั
ซบเชาลงเร่ือยๆ ในขณะท่ี
เพลงสากลกาลงั

รุ่งเรือง

9.การงานคาขยายให้ถูกท่ี

11.การใช้ประโยคท่สี ละสลวย

ข้อควรปฏบิ ัติ
เลอื กเฟ้ นถ้อยคา
เพราะว่า
ทาให้เกดิ ความเข้าใจ
เกดิ จนิ ตภาพ

12.การใช้คากากวม

ตัวอย่าง
ขอหอมหน่อย
ขอหอมแก้มหน่อย
ขอต้นหอมหน่อย
ขอหัวหอมหน่อย

อ. วรินทร์พร จิโรชกมลวฒั น์
ผสู้ อน


Click to View FlipBook Version