The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by vudtipong1991, 2020-02-25 01:47:34

Introduction RDQA+

Introduction RDQA+

Programmatic and M&E Management (PME)
สำนกั งำนบริหำรโครงกำรกองทนุ โลก (PR-DDC)

มำตรฐำนกำรปฏิบัติงำน (SOP)

เร่ือง การประเมินคณุ ภาพบริการแบบรวดเรว็ (Rapid Service Quality Assessment: RSQA)
******************************************

บทนำ

ตามท่ีกองทุนโลกได้ก่อตัง้ ข้ึนเม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ เพ่ือต่อสู้ โรคเอดส์ วณั โรคและ
มาลาเรยี อนั เน่ืองมาจากความตระหนักของประชาคมโลกถึงปญั หาของ ๓ โรคสาคญั น้ี ท่ที าให้คน
เสยี ชวี ติ ปีละกวา่ ๔ ลา้ นคน กองทนุ โลกสนบั สนุนทนุ ในการยกระดบั การป้องกนั และการรกั ษา ดแู ล โรค
เอดส์ วณั โรค และมาลาเรยี ใหแ้ ก่ ๑๔๐ ประเทศ ประเทศไทยไดม้ สี ่วนร่วมในการรบั การสนับสนุนและ
บรหิ ารจดั การเงนิ ทุนน้ี ทงั้ น้ีกรมควบคุมโรค เป็นศูนยก์ ลางการบรหิ ารจดั การเงนิ ทุนทไ่ี ดร้ บั จากกองทุน
โลกในการป้องกนั และแก้ไขปญั หาเอดส์ วณั โรค และมาลาเรยี รวมถงึ ประสานงานการดาเนินงานกบั
หน่วยงานภาครฐั องคก์ รเอกชนสาธารณประโยชน์ และหน่วยงานอ่นื ๆทม่ี สี ่วนร่วมในโครงการในฐานะ
หน่วยงานผรู้ บั ทนุ รอง

มกี ลไกการติดตามความก้าวหน้าการดาเนินงานระหว่างหน่วยงานรบั ทุนหลกั และ
หน่วยงานรบั ทุนรอง ในการการขบั เคลอ่ื นงานป้องกนั ควบคุมโรคเอดส์ วณั โรค และมาลาเรยี และใหก้ าร
ดาเนินงานโครงการ บรรลุตามวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ และยุทธศาสตร์ขององค์กรในด้าน ๑) เสรมิ สรา้ ง
ศกั ยภาพของระบบการตดิ ตามประเมนิ ผล ดา้ นการเงนิ ดา้ นวสั ดุเวชภณั ฑ์ และการบรหิ ารจดั การ (๒)
เพอ่ื สนบั สนุนการบรหิ ารจดั การโครงการกองทุนโลกอยา่ งต่อเน่ือง ๓) สง่ เสรมิ สนบั สนุนการทางานของ
ภาคเี ครอื ขา่ ยการทางาน (SRs, PR) หน่วยงานอ่นื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งใหเ้ ป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

จากการดาเนินงานของโครงการของประเทศ และโครงการทไ่ี ดร้ บั การสนบั สนุนเงนิ ทนุ ต่างประเทศเพอ่ื
บรรลเุ ป้าหมายทท่ี า้ ทายในการต่อสกู้ บั โรคตดิ ต่อรา้ ยแรง ไมว่ า่ จะเป็นโรคเอดส์ (AIDS) วณั โรค (TB) และ
มาลาเรยี (Malaria) การตรวจวดั ความสาเรจ็ และการพฒั นาการบรหิ ารจดั การโครงการไดแ้ สดงใหเ้ หน็ ถงึ
ระบบการตดิ ตามประเมนิ ผล (M&E) โครงการทม่ี ศี กั ยภาพ ส่งผลถงึ ความมคี ุณภาพของขอ้ มลู ในการ
ดาเนินงานโครงการ

ดว้ ยเจตนาทจ่ี ะบรรลุเป้าหมายโครงการยทุ ธศาสตร์ “Three Ones” โครงการ “Stop TB Strategy” และ
โครงการ RBM Strategic Plan องคก์ รทม่ี สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งต่างๆ ไดร้ ว่ มมอื พฒั นาเครอ่ื งมอื สาหรบั การ
ตรวจวดั คุณภาพของขอ้ มลู โครงการ (DQA: Data Quality Assessment) โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พอ่ื การรเิ รมิ่
ใหเ้ กดิ ความสอดคลอ้ ง การผสมผสานของหลกั การ และวธิ กี ารพน้ื ฐานในการตรวจวดั และพฒั นาคุณภาพ
ของขอ้ มลู โครงการ และเม่อื มกี ารพฒั นาเครอ่ื งมอื ทใ่ี ชเ้ ป็นมาตรฐานเพยี งหน่งึ เดยี ว เครอ่ื งมอื ดงั กล่าวก็

สามารถนาไปใชส้ าหรบั โครงการต่างๆไมว่ า่ จะเป็นโครงการรว่ มระหวา่ งโครงการของประเทศและ
โครงการทไ่ี ดร้ บั การสนับสนุนเงนิ ทุนจากต่างประเทศ

เครอ่ื งมอื DQA (Data Quality Assessment Tool) น้จี ะมงุ่ เน้นบนสองหลกั การ (1) การตรวจสอบ
คณุ ภาพของขอ้ มลู ในรายงาน (verifying the quality of reported data) และ (2) การตรวจวดั การบรหิ าร
จดั การขอ้ มลู พน้ื ฐานและระบบการรายงานขอ้ มลู สาหรบั โครงการมาตรฐาน ในระดบั ตวั ชว้ี ดั ผลผลติ หรอื
ตวั ชว้ี ดั ผลลพั ธ์ (assessing the underlying data management and reporting systems for
standard program-level output indicators) เครอ่ื งมอื DQA น้จี ะตรวจวดั ระบบการตดิ ตามประเมนิ ผล
(M&E) โดยรวมของประเทศสาหรบั โรคเอดส์ วณั โรค และมาลาเรยี

รปู แบบของการตรวจวดั คุณภาพโครงการ (Data Quality Assessment) ไดร้ บั การพฒั นาสาหรบั การ
ดาเนินงาน 2 รปู แบบ (1) การตรวจวดั คณุ ภาพขอ้ มลู โครงการ (DQA: Data Quality Audit) และ (2) การ
ตรวจวดั คณุ ภาพขอ้ มลู โครงการอย่างต่อเน่อื ง เป็นประจา (RDQA: Routine Data Quality Assessment)
รปู แบบที่ 1 การตรวจวดั คณุ ภาพขอ้ มลู โครงการ หรอื DQA (Data Quality Audit) จะใชเ้ ป็นแนวทาง
สาหรบั การดาเนินงานของผตู้ รวจสอบภายนอกเพอ่ื ทจ่ี ะตรวจวดั ความสามารถในการรายงานขอ้ มลู ของ
โครงการอยา่ งมคี ณุ ภาพ และ
รปู แบบที่ 2 การตรวจวดั คุณภาพขอ้ มลู โครงการอยา่ งต่อเน่อื ง เป็นประจา หรอื RDQA (Routine Data
Quality Assessment) ไดถ้ กู พฒั นาใหม้ รี ปู แบบทเ่ี รยี บงา่ ยเพอ่ื การปฏบิ ตั กิ ารตรวจสอบทร่ี วดเรว็ และ
เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพของระบบการบรหิ ารจดั การขอ้ มลู พน้ื ฐานและระบบการรายงานขอ้ มลู ของโครงการ

ข้อแตกต่างระหว่าง DQA และ RDQA

DQA ไดถ้ กู พฒั นาขน้ึ เพ่อื การตรวจสอบโดยผตู้ รวจสอบภายนอก ในขณะท่ี RDQA ไดพ้ ฒั นาขน้ึ
เพ่อื การตรวจสอบทค่ี ลอ่ งตวั และสะดวกโดยการปฏบิ ตั งิ านภายในของโครงการนัน้ ๆ เอง

DQA(Data Quality Assessment) RDQA(Routine Data Quality Assessment)

- ตรวจสอบโดยทมี งานของผสู้ นบั สนุน - ตรวจสอบดว้ ยตนเอง (Self-assessment)
เงนิ ทุน ภายใตก้ ารดาเนินงานโครงการ

- มขี นั้ ตอนการตรวจสอบทเ่ี ป็นมาตรฐาน - มคี วามคล่องตวั และยดื หย่นุ ตามการ
- ดาเนินการโดยผตู้ รวจสอบภายนอก ดาเนินงานของโครงการ เพ่อื การตดิ ตาม
ประเมนิ ผล และการดแู ลควบคมุ โครงการ

- มขี อ้ จากดั ในการใหค้ าแนะนาหรอื เพ่อื เตรยี มพรอ้ มสาหรบั การตรวจสอบของผู้
ขอ้ เสนอแนะต่อโครงการ ตรวจสอบภายนอก

- แผนการดาเนินงานจะอยภู่ ายใตก้ าร
รบั ผดิ ชอบของตวั โครงการเอง

กรอบแนวคิดในการจดั ทาแผนงาน : CONCEPTUAL FRAMEWORK

กรอบแนวคดิ ในการจดั ทาแผนงานสาหรบั DQA และ RDQA ไดถ้ ูกแสดงตามภาพดา้ นลา่ ง โดยคณุ ภาพ
ของขอ้ มลู รายงานนนั้ จะขน้ึ อยกู่ บั พน้ื ฐานการบรหิ ารจดั การดา้ นขอ้ มลู และระบบการรายงาน ระบบ
บรหิ ารจดั การทด่ี ยี อ่ มส่งผลถงึ ขอ้ มลู ทม่ี คี ณุ ภาพ นนั่ หมายถงึ คุณภาพของขอ้ มลู ทด่ี นี นั้ ยอ่ มเกดิ จาก
ระบบการบรหิ ารจดั การทม่ี คี ุณภาพ การจดั การดา้ นขอ้ มลู ทส่ี าคญั ไดร้ บั การบรหิ ารจดั การอยา่ งครบถว้ น
ในทุกระดบั เรม่ิ ตงั้ แต่การจดั ระบบทจ่ี ดุ บรกิ าร/หน่วยบรกิ ารในพน้ื ท่ี (Service delivery points: SDPs)
หน่วยงานระหว่างทางทร่ี วบรวมขอ้ มลู เช่น หน่วยงานระดบั จงั หวดั หรอื ระดบั ภูมภิ าค หรอื หน่วยงาน
ผรู้ บั ทุนรอง (Intermediate levels) และหน่วยงานระดบั สดุ ทา้ ยทเ่ี ป็นผรู้ ายงานขอ้ มลู (M&E unit) ดงั นนั้
เครอ่ื งมอื สาหรบั การจดั ทา DQA และ RDQA ไดถ้ กู ออกแบบมาเพอ่ื 1) ตรวจสอบคณุ ภาพของขอ้ มลู :
verify the quality of the data 2) ประเมนิ ระบบการบรหิ ารจดั การขอ้ มลู : assess the system that
produces that data และ 3) จดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ าร : develop action plans เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพของขอ้ มลู
และระบบการบรหิ ารจดั การขอ้ มลู

Figure 1. Conceptual Framework for the RDQA: Data Management and Reporting
Systems, Functional Areas and Data Quality

QUALITY DATA Dimensions of Quality (Annex 1, Table 1)
Accuracy, Completeness, Reliability, Timeliness, Confidentiality,
M&E Unit
Intermediate Aggregation Precision, Integrity
Levels (e.g. Districts, Regions)
Functional Components of a Data Management System
Service Points Needed to Ensure Data Quality (Annex 1, Table 2)
REPORTING LEVELS
Data-Management and I M&E Capabilities, Roles and Responsibilities
II Training
Reporting System III Data Reporting Requirements
IV Indicator Definitions
V Data collection and Reporting Forms/Tools
VI Data management processes
VII Data quality mechanisms and controls
VIII Links with the national reporting system

ดังน้ัน เพ่ือเป็นการประเมินและปรับปรุงคุณภาพของการให้บริการในระดับประเทศ นาไปสู่การปรับปรุง
คุณภาพบริการอย่างต่อเนื่อง และผสมผสานเป็นส่วนหน่ึงของการบริหารจัดการโครงการ เอกสารฉบับน้ีจึง

ครอบคลุมการดาเนนิ งานตั้งแต่การขออนมุ ตั โิ ครงการประเมนิ คุณภาพบริการ การคัดเลอื กหนว่ ยงานรับทนุ รอง
หน่วยงานรับทุนย่อย หรือหน่วยงานดาเนินการในพื้นที่ที่จะได้รับการประเมินคุณภาพของการบริการสาหรับ
ชุดบริการ (Module) และกิจกรรมหลัก (Intervention) ท้ังหมดที่ระบุไว้ในเคร่ืองมือ RSQA ซึ่งเก่ียวข้องกับ
การดาเนินงานโดยหน่วยงานรับทุนหลัก ภายใต้โครงการเอดส์ วัณโรค และมาลาเรียของประเทศ หรือตาม
ข้อตกลงอ่ืนท่ีให้ไว้กับกองทุนโลกระดับภูมิภาคหรือทีมประเทศ การรายงานผลการประเมินคุณภาพของการ
บริการต่อหน่วยงานระดับประเทศ การนาข้อค้นพบจากการประเมินคุณภาพบริการไปปรับปรุงการจัดบริการ
รวมทั้งการพัฒนาสมรรถนะการจัดบริการ โดยหน่วยงานระดับประเทศ ไปจนถึงการเผยแพร่ผลของการ
ประเมินคณุ ภาพของการบรกิ ารให้กับหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้อง

Programmatic and M&E Management (PME)

สำนกั งำนบริหำรโครงกำรกองทนุ โลก (PR-DDC)
มำตรฐำนกำรปฏบิ ัติงำน (SOP)

กำรประเมนิ คุณภำพบรกิ ำรแบบรวดเร็ว (Rapid Service Quality Assessment: RSQA)

 เอกสำรควบคมุ  เอกสำรไมค่ วบคมุ
หมำยเลขเอกสำร : …SOP-MIS-PRDDC 013……..

วนั ท่บี งั คับใช้ : 1 เมษำยน 2558 สำเนำฉบับท่ี:
ตำแหนง่
กำรอนมุ ัตเิ อกสำร ชื่อ – นำมสกลุ ลำยเซ็น วัน/เดอื น/ปี

ผ้จู ดั ทำ นางบษุ บา ตนั ติศักด์ิ นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน
ผตู้ รวจทำน นางสาวพิมใจ ศาทสทิ ธ์ิ ชานาญการพิเศษ
ผอู้ นมุ ัติ นพ.นคร เปรมศรี ผู้จดั การทัว่ ไป

ผอู้ านวยการสานักงานบรหิ าร
โครงการกองทนุ โลก

หมำยเลขเอกสำร : …SOP-MIS-PRDDC 013……..

วันท่บี งั คบั ใช้ : 31 มกรำคม 2561 สำเนำฉบับท่:ี

กำรอนุมัติเอกสำร ชือ่ – นำมสกุล ตำแหน่ง ลำยเซน็ วัน/เดือน/ปี

ผจู้ ัดทำ นางบุษบา ตนั ติศักดิ์ นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผน
ผู้ตรวจทำน นางสาวพมิ ใจ ศาทสิทธ์ิ ชานาญการพิเศษ
ผอู้ นุมัติ นพ.ทวีทรัพย์ ศริ ประภาศริ ิ ผ้จู ดั การทวั่ ไป
ผูอ้ านวยการสานักงานบรหิ าร
โครงการกองทุนโลก

หมำยเลขเอกสำร:…SOP-MIS-PRDDC-013 แผน่ ท:่ี 2/18

สำนกั งำนบรหิ ำรโครงกำรกองทนุ โลก วันทีม่ ีผลบังคบั ใช้: 31 มกรำคม 2561 แก้ไขคร้งั ท่:ี 1

มำตรฐำนกำรปฏบิ ตั งิ ำน: การประเมินคุณภาพบริการแบบรวดเร็ว (Rapid Service Quality Assessment: RSQA)

ผจู้ ดั ทำ: นางบุษบา ตันติศักดิ์ ผตู้ รวจทำน: นางสาวพิมใจ ศาทสิทธิ์ ผูอ้ นุมัติ: นพ.ทวที รัพย์ ศิรประภาศริ ิ

1. วัตถปุ ระสงค์
1.1เพ่อื ประเมนิ และปรบั ปรงุ คุณภาพของการให้บริการในระดบั ประเทศ นาไปสู่การปรับปรุงคณุ ภาพบริการอย่างต่อเนื่อง และ
ผสมผสานเปน็ ส่วนหน่ึงของการบริหารจดั การโครงการ

2. ขอบเขตกำรดำเนนิ งำน
เอกสารฉบับน้ีครอบคลุมการดาเนินงานตั้งแต่การขออนมุ ตั ิโครงการประเมินคุณภาพบรกิ าร การคดั เลือกหนว่ ยงานรับทุนรอง

หนว่ ยงานรับทุนย่อย หรือหนว่ ยงานดาเนนิ การในพ้นื ท่ีที่จะไดร้ บั การประเมินคุณภาพของการบริการสาหรับชดุ บรกิ าร (Module)
และกิจกรรมหลัก (Intervention) ท้งั หมดทร่ี ะบุไว้ในเครอ่ื งมือ RSQA ซง่ึ เก่ยี วข้องกับการดาเนินงานโดยหน่วยงานรับทนุ หลัก
ภายใตโ้ ครงการเอดส์ วณั โรค และมาลาเรียของประเทศ หรอื ตามข้อตกลงอื่นที่ให้ไว้กับกองทนุ โลกระดับภมู ภิ าคหรือทีมประเทศ
การรายงานผลการประเมินคุณภาพของการบริการต่อหน่วยงานระดับประเทศ การนาข้อค้นพบจากการประเมินคณุ ภาพบรกิ ารไป
ปรับปรงุ การจดั บริการ รวมทั้งการพัฒนาสมรรถนะการจัดบริการ โดยหน่วยงานระดับประเทศ ไปจนถงึ การเผยแพรผ่ ลของการ
ประเมนิ คุณภาพของการบรกิ ารให้กับหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง

3. ผรู้ บั ผิดชอบ
ตาแหนง่ บุคลากร/หนว่ ยงานท่ีจะต้องรับผิดชอบในการนามาตรฐานการปฏิบัติงานน้ีไปปฏบิ ัติ มีดังน้ี
3.1 ผู้ประสานงานด้านโปรแกรมและการติดตามและประเมินผลระดับหน่วยงานรับทุนหลัก หน่วยงานรับทุนรอง และ
หนว่ ยงานรบั ทนุ ย่อย
3.2 สานักงานปอ้ งกนั ควบคุมโรค
3.3 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั
3.4 หนว่ ยงานดาเนนิ การในพ้นื ที่

4. คำอธบิ ำยศพั ทห์ รือนยิ ำม
4.1Rapid Service Quality Assessment (RSQA) หมายถึง การประเมนิ คุณภาพบริการแบบรวดเร็ว
4.2Module หมายถงึ ชดุ บริการ
4.3Key Intervention หมายถงึ กิจกรรมหลัก
4.4PF (Performance Framework) หมายถงึ กรอบการปฏบิ ัตงิ านทแ่ี สดงตัวชวี้ ดั ของโครงการ
4.5Programmatic and M&E Coordinator หมายถงึ ผูป้ ระสานงานด้านโปรแกรมและติดตามและประเมนิ ผล
4.6Principal Recipient (PR) หมายถงึ หนว่ ยงานผ้รู ับทุนหลัก ไดแ้ ก่ สานักงานบริหารโครงการกองทนุ โลก กรมควบคุมโรค
ซงึ่ มีการลงนามในข้อตกลงการดาเนินงานโครงการ กบั โครงการกองทุนโลกเพ่อื ดาเนนิ การ

2

หมำยเลขเอกสำร:…SOP-MIS-PRDDC-013 แผ่นที่:3/18

สำนกั งำนบริหำรโครงกำรกองทนุ โลก วันทม่ี ผี ลบงั คบั ใช้: 31 มกรำคม 2561 แกไ้ ขครง้ั ที:่ 1

มำตรฐำนกำรปฏิบตั ิงำน: การประเมนิ คุณภาพบรกิ ารแบบรวดเรว็ (Rapid Service Quality Assessment: RSQA)

ผ้จู ดั ทำ: นางบุษบา ตนั ติศักด์ิ ผตู้ รวจทำน: นางสาวพมิ ใจ ศาทสทิ ธิ์ ผู้อนมุ ัติ: นพ.ทวีทรพั ย์ ศริ ประภาศิริ

5. รำยละเอยี ดของขนั้ ตอนกำรทำงำน
5.1การประเมินคุณภาพบริการแบบรวดเรว็ เป็นการดาเนินการในชว่ งระยะเวลาการดาเนินงานโครงการ โดยขอ้ ค้นพบจากการ
ประเมินจะครอบคลุมตัวชีว้ ัดอืน่ ๆ ที่เกย่ี วข้องกับกรอบการปฏบิ ัตงิ าน (Performance framework: PF) ซ่ึงดาเนินการ
ร่วมกับการตรวจวัดคุณภาพข้อมูล (OSDV) การประเมินคุณภาพบริการ แบ่งเป็น 2 ระดบั ได้แก่ ระดบั ส่วนกลาง/นโยบาย
และระดับหน่วยบริการ โดยการจดั บรกิ ารท่ีมคี ุณภาพเพียงพอ มีเงือ่ นไขท่ตี ้องมีการประเมนิ คุณภาพบริการแบ่งเป็น 2
ระดับ ดังนี้
5.1.1 ระดับสว่ นกลาง/นโยบาย เปน็ การประเมนิ ความพร้อมนโยบายโปรแกรมโรคระดบั ประเทศและแนวทางการจดั บรกิ าร
ในพน้ื ท่ีท่ีไดร้ ับทุนจากกองทนุ โลก รวมทั้งท่ีสอดคล้องกับข้อเสนอแนะต่างประเทศลา่ สดุ ท่เี กีย่ วข้องกับการป้องกัน
และการรักษาเอชไอวี วัณโรค และมาลาเรีย เชน่ คาแนะนาขององค์การอนามัยโลก โดยการประเมินคุณภาพบริการ
อ้างอิงตามแนวทางหรือคู่มือการจดั บริการระดับประเทศทมี่ ีอยู่ และสอดคล้องกับข้อเสนอแนะของต่างประเทศ และ
หรือมาตรฐานต่างประเทศ เช่น การวินจิ ฉัยโรค การรักษา เป็นตน้ สาหรบั เหตุการณ์ หรือบริบทเฉพาะทีม่ ีแนวทาง
หรอื แนวปฏบิ ตั ิทีแ่ ตกต่างจากข้อเสนอแนะของหน่วยงานต่างประเทศหากมีความจาเป็นจะตอ้ งมีการหาผเู้ ชีย่ วชาญมา
ให้ความเห็น
5.1.2 ระดบั หน่วยบริการ เป็นการประเมนิ การปฏิบัติตามการใหบ้ ริการภายใตก้ ิจกรรมหลกั ทีจ่ ดั บริการภายใตก้ องทุน
โลกซึ่งสอดคล้องกบั มาตรฐานท่กี าหนดไว้ในระดับประเทศ
5.2โดยมีขั้นตอนการประเมนิ คุณภาพบริการแบบรวดเร็ว ดงั นี้
5.2.1 ขออนุมัตโิ ครงการประเมินคุณภาพบรกิ าร โดยผ้ปู ระสานงานโปรแกรมและติดตามประเมนิ ผล
5.2.2 ผอู้ านวยการสานกั งานบริหารโครงการกองทุนโลกพจิ ารณาและอนุมัตโิ ครงการประเมินคุณภาพบริการ
5.2.3 ทบทวนกระบวนการประเมนิ คุณภาพบริการแบบรวดเร็ว
1) ดาเนินการทบทวนขอ้ ค้นพบและขอ้ เสนอแนะครง้ั ลา่ สดุ วางแผนและกาหนดโครงสร้างการประเมนิ คุณภาพ
บริการแบบรวดเรว็ ระดบั ประเทศ รวมทั้งการคัดเลือกพน้ื ที่ที่จะไดร้ ับการประเมินฯ และแจ้งให้พน้ื ทที่ ราบใน
เวลาทเี่ หมาะสม แบ่งเปน็

• ผูป้ ระสานงานโปรแกรมและติดตามประเมินผลดาเนินการทบทวนขอ้ คน้ พบและข้อเสนอแนะครง้ั ล่าสดุ
วางแผนและกาหนดโครงสรา้ งการประเมินคุณภาพบริการแบบรวดเรว็ ระดบั ประเทศ

• ผูป้ ระสานงานโปรแกรมและติดตามประเมินผลส่งผลการทบทวนข้อค้นพบและข้อเสนอแนะครัง้ ลา่ สุด
ให้กบั หวั หน้าทีมโปรแกรมและติดตามประเมินผล

• หัวหน้าทมี โปรแกรมและติดตามประเมินผลทบทวนอีกครัง้ สง่ ให้นกั วิชาการผ้รู ับผิดชอบแต่ละโรค

• นกั วชิ าการผรู้ บั ผิดชอบแต่ละโรค ส่งใหก้ บั ผอู้ านวยการสานักงานบรหิ ารโครงการกองทุนโลก

• ผู้อานวยการสานักงานบรหิ ารโครงการกองทุนโลกให้ขอ้ เสนอแนะต่อทีมแตล่ ะโรค และติดตามระหวา่ ง
การดาเนนิ งาน

2) ประชุมทมี การประเมินคุณภาพบริการแบบรวดเร็ว เพอ่ื สรุปการวางแผนและกาหนดโครงสร้างการประเมิน
คุณภาพบริการแบบรวดเร็วระดบั ประเทศ

3

หมำยเลขเอกสำร:…SOP-MIS-PRDDC-013 แผน่ ท่ี:4/18

สำนักงำนบรหิ ำรโครงกำรกองทุนโลก วันทม่ี ผี ลบังคับใช้: 31 มกรำคม 2561 แก้ไขครง้ั ท่:ี 1

มำตรฐำนกำรปฏบิ ัติงำน: การประเมนิ คุณภาพบรกิ ารแบบรวดเร็ว (Rapid Service Quality Assessment: RSQA)

ผจู้ ัดทำ: นางบุษบา ตนั ติศักดิ์ ผู้ตรวจทำน: นางสาวพิมใจ ศาทสทิ ธ์ิ ผูอ้ นมุ ตั :ิ นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศริ ิ

5.2.4 แจง้ หนว่ ยงานผู้รับทนุ รองที่จะไดร้ ับการประเมินคุณภาพบริการระดับประเทศ เพ่ือเตรียมการรองรับการประเมิน
คุณภาพบริการกับหน่วยงานบริการในพ้นื ท่ี

5.2.5 หน่วยงานรับทุนรองทจี่ ะได้รับการประเมินคณุ ภาพบริการเตรียมการและรองรบั การประเมนิ คุณภาพบริการกบั
หนว่ ยงานบริการในพนื้ ที่

5.2.6 ดาเนินการประเมนิ คุณภาพบรกิ าร เป็นการลงพื้นท่ีเก็บรวมรวมและทบทวนข้อมูลที่เกี่ยวขอ้ งจากผู้ท่ีจะได้รับการ
ประเมินฯ จากหน่วยงานส่วนกลางหรอื นโยบาย และพ้ืนทีท่ ไี่ ดร้ ับการคัดเลอื กการประเมนิ ฯ โดยมีตวั แทนของ
SRs, SSRs, IAs เข้าร่วมสังเกตุการณ์

1) ระดบั ส่วนกลาง การประเมนิ ฯ จะประเมนิ กับผรู้ ับผิดชอบของหน่วยงานผู้กาหนดนโยบาย/วชิ าการ
ระดับประเทศ ไดแ้ ก่ BATS, BTB, BVBD เพ่ือให้ขอ้ มลู เกย่ี วกบั คู่มือการจดั บนริการระดับประเทศซึ่งสอดคล้อง
กบั แนวทางของตา่ งประเทศ เปน็ การสอบถามปลี ะ 1 ครั้ง

2) ระดบั หน่วยบริการ เกบ็ ขอ้ มลู จากผู้ปฏิบตั งิ านหรอื ผใู้ หบ้ ริการ และยืนยันข้อมลู กับแบบลงทะเบียน หรือ
ประวัติผู้รบั บริการ ได้แก่

• เงือ่ นไขการจัดบริการประกอบดว้ ย เช่น เวชภัณฑท์ ี่มีอยู่ในคลงั เพยี งพอตอ่ การให้บริการ แนวทางการ
จดั บรกิ ารระดบั ประเทศมีไวใ้ นระดับหนว่ ยบรกิ าร เป็นต้น

• การจดั บรกิ ารมีคณุ ภาพเพยี งพอตามกิจกรรมหลักของโรคเอดส์ วณั โรค และมาลาเรยี รวมท้ังการประเมิน
การบริหารจดั การเวชภณั ฑย์ า (คลงั เวชภณั ฑ์ การมีอยู่ของเวชภณั ฑ์ การนเิ ทศ ติดตาม และการกระจาย)
ซึ่งหวั ขอ้ คาอธบิ ายรายละเอียดข้อคาถามใหร้ ะบุในเคร่ืองมือการประเมนิ

5.2.7 หนว่ ยงานบริการในพน้ื ทร่ี องรับการประเมินคุณภาพบรกิ ารรว่ มกบั หน่วยงานรับทนุ รอง
5.2.8 ประชุมนาเสนอสรุปผลการประเมนิ คุณภาพบริการแบบรวดเร็ว ใหก้ ับผ้เู กย่ี วข้องระดับประเทศ หน่วยงานรับทุน

รอง หนว่ ยงานรบั ทุนย่อย และหน่วยบรกิ ารในพ้ืนที่
5.2.9 จัดทาข้อแสนอแนะในเครอื่ งมือการประเมนิ คุณภาพบริการแบบรวดเร็ว
5.2.10 สง่ ผลการประเมนิ คณุ ภาพบริการแบบรวดเรว็ และข้อเสนอแนะต่อผอู้ านวยการสานักงานบรหิ ารโครงการกองทนุ

โลก เพือ่ ลงนามแจ้งต่อหนว่ ยงานรบั ทุนรอง หนว่ ยงานรบั ทุนยอ่ ย หนว่ ยงานดาเนินงานในพน้ื ที่
5.2.11 หนว่ ยงานรบั ทนุ รองดาเนนิ การตามข้อเสนอแนะของการประเมนิ คุณภาพบริการ
5.2.12 ติดตามกจิ กรรมการดาเนินงานตามข้อเสนอแนะหรือขอ้ ค้นพบของการประเมินคณุ ภาพบริการแบบรวดเร็วจาก

หนว่ ยงานรับทนุ รองเพื่อติดตามความก้าวหน้าของการดาเนนิ งานตามข้อเสนอแนะของการประเมินคุณภาพบริการ
แบบรวดเรว็
1) แยกแยะประเด็นสาคัญของการประเมินคุณภาพบริการแบบรวดเรว็ ระดบั ประเทศ ว่ามปี ระเดน็ มากน้อย

เพยี งใด หากมปี ระเด็นสาคญั ให้มีการติดตามวา่ มกี ารดาเนนิ งานตามข้อเสนอแนะ และพัฒนาสมรรถนะผู้
จัดบริการใหม้ ีการปรบั ปรุงคุณภาพบริการ
2) ติดตามการประเมนิ คุณภาพบรกิ ารรายโรค ใหม้ ีการปรึกษาประเด็นสาคัญกบั หน่วยงานวิชาการระดับประเทศ
ท่รี บั ผิดชอบคณุ ภาพบริการโรคนั้นๆ รวมท้งั การดาเนนิ การตามข้อเสนอแนะ เพื่อปรบั ปรุงการจัดบรกิ าร

4

หมำยเลขเอกสำร:…SOP-MIS-PRDDC-013 แผน่ ท:่ี 5/18

สำนกั งำนบรหิ ำรโครงกำรกองทนุ โลก วันทมี่ ีผลบังคบั ใช้: 31 มกรำคม 2561 แก้ไขคร้ังท่:ี 1

มำตรฐำนกำรปฏบิ ตั ิงำน: การประเมินคุณภาพบรกิ ารแบบรวดเรว็ (Rapid Service Quality Assessment: RSQA)

ผู้จัดทำ: นางบุษบา ตันติศักด์ิ ผู้ตรวจทำน: นางสาวพมิ ใจ ศาทสิทธิ์ ผอู้ นมุ ตั ิ: นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ

3) ติดตามการดาเนินงานตามข้อเสนอแนะ ประกอบดว้ ย ข้อเสนอแนะสาหรบั ขอ้ คน้ พบเล็กน้อย กจิ กรรมการ
ดาเนนิ งานสาหรบั ข้อคน้ พบปานกลาง เง่ือนไขสาคญั ก่อนการดาเนินงานสาหรบั ข้อค้นพบสาคญั

4) ติดตามเพ่มิ เตมิ ในการรายงานรายไตรมาส เพ่ือให้ระบุการบรหิ ารจดั การและการดาเนินงานตามข้อเสนอแนะ
การประเมนิ คณุ ภาพบริการ

5

หมำยเลขเอกสำร:…SOP-MIS-PRDDC-013 แผ่นที:่ 6/18

สำนกั งำนบรหิ ำรโครงกำรกองทนุ โลก วันที่มีผลบังคับใช้: 31 มกรำคม 2561 แกไ้ ขครั้งท่ี: 1

มำตรฐำนกำรปฏบิ ตั งิ ำน: การประเมนิ คุณภาพบริการแบบรวดเรว็ (Rapid Service Quality Assessment: RSQA)

ผูจ้ ดั ทำ: นางบษุ บา ตันติศักดิ์ ผู้ตรวจทำน: นางสาวพิมใจ ศาทสทิ ธิ์ ผ้อู นมุ ตั ิ: นพ.ทวที รัพย์ ศริ ประภาศิริ

6. แผนผังกำรทำงำน

(RSQA)

1. 2.

3.
4.

3.1

5.

3.2

6. 7.

9.
8.

10.

11.
12.

6

หมำยเลขเอกสำร:…SOP-MIS-PRDDC-013 แผ่นที:่ 7/18

สำนกั งำนบรหิ ำรโครงกำรกองทุนโลก วนั ทม่ี ีผลบังคบั ใช้: 31 มกรำคม 2561 แกไ้ ขครั้งท่ี: 1

มำตรฐำนกำรปฏบิ ัติงำน: การประเมนิ คุณภาพบริการแบบรวดเร็ว (Rapid Service Quality Assessment: RSQA)

ผจู้ ัดทำ: นางบุษบา ตนั ตศิ ักด์ิ ผตู้ รวจทำน: นางสาวพิมใจ ศาทสิทธิ์ ผู้อนุมตั ิ: นพ.ทวที รัพย์ ศิรประภาศริ ิ

7. เอกสำรอำ้ งองิ
7.1LFA_OSDV_RSQA_Guidelines_en
7.2ME_QualityServices_RSQA_HIV_en
7.3ME_QualityServices_RSQA_TB_en
7.4ME_QualityServices_RSQA_Malaria_en

8. แบบฟอร์มและเครอ่ื งมอื ที่เก่ียวข้อง
8.1เครื่องมอื การประเมนิ คุณภาพบริการ ประกอบดว้ ย 3 ส่วน
8.1.1 ข้อมลู ท่ัวไปเพื่อแจง้ การประเมินคุณภาพบรกิ าร
8.1.2 แบบสอบถามการประเมนิ คุณภาพบริการระดบั ประเทศ/นโยบาย โดยหน่วยงานรบั ทนุ รองสนับสนนุ แนวทาง/คมู่ ือ
การจัดบรกิ าร
8.1.3 แบบสอบถามการประเมินคุณภาพบริการของหนว่ ยบริการ กรอกข้อมลู โดยหน่วยงานรับทุนรอง แบ่งเป็น 5 สดมภ์
1) สดมภ์ที่ 1 ขอ้ มูลท่วั ไปของมาตรฐานคุณภาพบริการ
2) สดมภ์ที่ 2 ขอ้ คาถาม
3) สดมภ์ที่ 3 สาหรับการตอบข้อคาถามตาม hard copy
4) สดมภ์ที่ 4 สาหรับการตอบข้อคาถามตาม electronic version ซ่งึ คาตอบถกู แสดงรหสั สตี ามคาตอบ
5) สดมภท์ ่ี 5 สาหรับการใหข้ ้อคิดเหน็ /คาอธิบายเพิ่มเติม
8.2แบบสอบถามการประเมนิ คณุ ภาพบรกิ ารแบบรวดเรว็ แบง่ เป็น
8.2.1 ระดบั ส่วนกลาง/นโยบายเป็นการประเมนิ ความพรอ้ มนโยบายโปรแกรมโรคระดบั ประเทศและแนวทางการ
จัดบริการในพ้นื ที่ที่ไดร้ บั ทนุ จากกองทนุ โลกรวมทั้งทีส่ อดคล้องกบั ข้อเสนอแนะตา่ งประเทศล่าสุดทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับ
การป้องกันและการรักษาเอชไอวี วัณโรค และมาลาเรยี แบง่ ตาม 3 โรค ดงั นี้
1) AIDS grant

7

หมำยเลขเอกสำร:…SOP-MIS-PRDDC-013 แผน่ ท:ี่ 8/18

สำนกั งำนบริหำรโครงกำรกองทุนโลก วันทีม่ ผี ลบงั คับใช้: 31 มกรำคม 2561 แก้ไขคร้งั ท่:ี 1

มำตรฐำนกำรปฏบิ ัติงำน: การประเมินคุณภาพบรกิ ารแบบรวดเร็ว (Rapid Service Quality Assessment: RSQA)

ผจู้ ัดทำ: นางบษุ บา ตนั ติศักด์ิ ผตู้ รวจทำน: นางสาวพมิ ใจ ศาทสทิ ธิ์ ผูอ้ นุมัต:ิ นพ.ทวีทรัพย์ ศริ ประภาศิริ

2)TB grant

8

หมำยเลขเอกสำร:…SOP-MIS-PRDDC-013 แผน่ ท่:ี 9/18

สำนักงำนบรหิ ำรโครงกำรกองทนุ โลก วนั ท่มี ีผลบงั คบั ใช้: 31 มกรำคม 2561 แก้ไขคร้ังท่:ี 1

มำตรฐำนกำรปฏิบัตงิ ำน: การประเมินคุณภาพบริการแบบรวดเร็ว (Rapid Service Quality Assessment: RSQA)

ผจู้ ัดทำ: นางบษุ บา ตันติศักดิ์ ผตู้ รวจทำน: นางสาวพมิ ใจ ศาทสิทธ์ิ ผอู้ นมุ ตั ิ: นพ.ทวที รพั ย์ ศริ ประภาศริ ิ

3)Malaria grant

8.2.2 ระดับหน่วยบริการ เป็นการประเมนิ การปฏบิ ตั ติ ามการให้บรกิ ารภายใต้กจิ กรรมหลกั ทจ่ี ดั บรกิ ารภายใตก้ องทุนโลก
ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานที่กาหนดไว้ในระดบั ประเทศ แบ่งแบบสอบถามตาม 3 โรค ดงั นี้
1) AIDS grant

9

หมำยเลขเอกสำร:…SOP-MIS-PRDDC-013 แผน่ ที:่ 10/18

สำนกั งำนบริหำรโครงกำรกองทนุ โลก วันทีม่ ีผลบังคับใช้: 31 มกรำคม 2561 แกไ้ ขครั้งท:่ี 1

มำตรฐำนกำรปฏบิ ัติงำน: การประเมนิ คุณภาพบริการแบบรวดเรว็ (Rapid Service Quality Assessment: RSQA)

ผู้จัดทำ: นางบุษบา ตันตศิ ักดิ์ ผู้ตรวจทำน: นางสาวพิมใจ ศาทสิทธิ์ ผู้อนุมตั ิ: นพ.ทวที รพั ย์ ศริ ประภาศริ ิ

10

หมำยเลขเอกสำร:…SOP-MIS-PRDDC-013 แผน่ ท:่ี 11/18

สำนักงำนบรหิ ำรโครงกำรกองทนุ โลก วนั ทมี่ ีผลบงั คบั ใช้: 31 มกรำคม 2561 แก้ไขครง้ั ท:ี่ 1

มำตรฐำนกำรปฏิบัติงำน: การประเมนิ คุณภาพบรกิ ารแบบรวดเร็ว (Rapid Service Quality Assessment: RSQA)

ผจู้ ดั ทำ: นางบุษบา ตนั ติศักดิ์ ผ้ตู รวจทำน: นางสาวพมิ ใจ ศาทสทิ ธ์ิ ผ้อู นุมตั :ิ นพ.ทวที รัพย์ ศริ ประภาศริ ิ

2) TB grant

3) Malaria grant

11

หมำยเลขเอกสำร:…SOP-MIS-PRDDC-013 แผ่นที่:12/18

สำนักงำนบริหำรโครงกำรกองทนุ โลก วันที่มผี ลบงั คบั ใช้: 31 มกรำคม 2561 แกไ้ ขคร้ังท:ี่ 1

มำตรฐำนกำรปฏิบตั งิ ำน: การประเมนิ คุณภาพบริการแบบรวดเรว็ (Rapid Service Quality Assessment: RSQA)

ผูจ้ ดั ทำ: นางบุษบา ตันติศักด์ิ ผ้ตู รวจทำน: นางสาวพมิ ใจ ศาทสิทธ์ิ ผ้อู นมุ ตั :ิ นพ.ทวที รัพย์ ศริ ประภาศิริ

8.2.3 ผลผลิตของการประเมนิ คณุ ภาพบรกิ ารแบบรวดเรว็
1) ผลการประเมนิ คุณภาพบริการแบบรวดเร็วแสดงใน worksheet ของเครื่องมือการประเมินคณุ ภาพบรกิ ารฯ
โดยแสดงนา้ หนักคะแนนตามรหสั สี เพอ่ื ระบวุ า่ “ไม่มีประเด็น” “มีประเด็นเลก็ น้อย” “มปี ระเดน็ ” “มีประเดน็
สาคัญ”
2) การประเมนิ คณุ ภาพบริการแบบรวดเร็ว ดาเนินการปีละ 1 ครั้ง ช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม ของปี พ.ศ. 2561
- 2563

8.3การรายงานข้อค้นพบของการประเมินคุณภาพบริการ At least one
8.3.1 HIV findings: distribution of issues by countries issue
identified
Supervision
Strategy and policy No issues
Recording and reporting identified
Provider practices and knowledge
Product Management
Pharmacovigilance
Guidelines and protocols
Facility conditions

Coordination
Access to care

8.3.2 HIV: illustrative findings by type

Supervision “Support supervision and mentoring of service providers, especially those offering ART
services, is weak”

Strategy and policy “There are no clear and formally established mechanisms for the referral of HIV
positive pregnant women, before and after delivery, and neither is there an
established linkage to the care of the HIV exposed babies”

Recording and reporting “Recording of the assessment of TB status is not systematic done in the medical
files”

Provider practices and “Recommendations on repeat HIV test after equivocal test are not homogenously

knowledge followed-up”

12

หมำยเลขเอกสำร:…SOP-MIS-PRDDC-013 แผน่ ท่ี:13/18

สำนักงำนบรหิ ำรโครงกำรกองทนุ โลก วันที่มผี ลบงั คบั ใช้: 31 มกรำคม 2561 แก้ไขครงั้ ท่ี: 1

มำตรฐำนกำรปฏิบตั งิ ำน: การประเมนิ คุณภาพบริการแบบรวดเรว็ (Rapid Service Quality Assessment: RSQA)

ผจู้ ัดทำ: นางบษุ บา ตันติศักด์ิ ผตู้ รวจทำน: นางสาวพมิ ใจ ศาทสิทธิ์ ผู้อนุมตั ิ: นพ.ทวที รัพย์ ศิรประภาศริ ิ

Product management “Inadequate storage space for drugs, irregular use of shelves and wooden pallets due
(storage conditions) to insufficient space and unavailability of wooden pallets/shelves”

Pharmacovigilance “Absence of any documents or written guidance on pharmacovigilance and lack of
systematic reporting of adverse drugs reactions”

Guidelines and “The national PMTCT guidelines, specifically the PMTCT circular, have not been fully

protocols (distribution) disseminated to all PMTCT sites”

Facility conditions “Used injecting equipment is not properly disposed of; in all places there is no
adequate mechanism for disposal of containers”

Coordination “Weak collaboration between TB and HIV programs”

Access to care “Beneficiaries' and implementers consider Methadone Maintenance Treatment (MMT)
as not accessible to most of those in need”

8.3.3 TB findings: distribution of issues by countries At least one
issue
Supervision identified
Resistance and efficacy studies
No issues
Quality Assurance identified
Product management
Guidelines and protocols

Access to care

8.3.4 TB: illustrative findings by type

Supervision “No feedback is given after any supervision visit to the pharmacy”

Strategy and policy “Lack of national training plan”

13

หมำยเลขเอกสำร:…SOP-MIS-PRDDC-013 แผ่นที่:14/18

สำนักงำนบรหิ ำรโครงกำรกองทุนโลก วันที่มผี ลบงั คบั ใช้: 31 มกรำคม 2561 แก้ไขคร้ังท่ี: 1

มำตรฐำนกำรปฏิบตั งิ ำน: การประเมนิ คุณภาพบริการแบบรวดเร็ว (Rapid Service Quality Assessment: RSQA)

ผจู้ ัดทำ: นางบษุ บา ตนั ติศักดิ์ ผตู้ รวจทำน: นางสาวพิมใจ ศาทสิทธิ์ ผ้อู นมุ ตั ิ: นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ

Resistance and efficacy studies “Drug resistance study is outdated”

“The use of different versions of reporting forms at particularly the facility

Recording and reporting and LGA levels leading to the inability to capture and report some relevant

indicators”

“Although the percentage of agreement among of the laboratories

Quality assurance participating in EQA was high, the percentage of laboratories that

participated in EQA was low (67%)”

Provider practices and knowledge “Not all TB/HIV patient are on CPT and ART even when they meet the
eligibility criteria”

Product management (Stock out “In most facilities, there were some stock-out of health products, in

commodities) particular sputum containers”

Pharmacovigilance “Adverse drug reactions seems to be a topic that is not given sufficient
attention. Report of a Suspected Adverse Drug Reaction (ADR) was known
Guidelines and protocols by none of them”
(amendment/creation)
Coordination “TB guidelines are in place, but these are not updated (2007)”

“The sputum scoring system used by MRC is different from the scoring
system of the NTP (scanty, 1+, 2+, 3+)”

Access to care (financial) “The isolated perception from the exit interviews suggest that patients may
be paying some user fees particularly for diagnosis of TB”

8.3.5 Malaria findings: distribution of issues by countries

14

หมำยเลขเอกสำร:…SOP-MIS-PRDDC-013 แผน่ ที:่ 15/18

สำนักงำนบริหำรโครงกำรกองทนุ โลก วันที่มีผลบงั คับใช้: 31 มกรำคม 2561 แกไ้ ขคร้ังที:่ 1

มำตรฐำนกำรปฏบิ ตั งิ ำน: การประเมนิ คุณภาพบรกิ ารแบบรวดเรว็ (Rapid Service Quality Assessment: RSQA)

ผจู้ ดั ทำ: นางบษุ บา ตันตศิ ักด์ิ ผูต้ รวจทำน: นางสาวพิมใจ ศาทสิทธิ์ ผูอ้ นุมตั :ิ นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศริ ิ

Supervision At least one
Resistance and efficacy studies issue
identified
Recording and reporting
Provider practices and knowledge No issues
identified
Product Management
Pharmacovigilance

Guidelines and protocols
Access to care

8.3.6 Malaria: illustrative findings by type

Supervision “Supervision is minimal and written feedback for the facilities to implement
absent in most facilities”

Resistance and efficacy “According to the central policy level review, the most recent efficacy tests
studies took place in 2003”

Recording and reporting “Retrieving cards after names had been selected from the register was difficult
because of poor record keeping”
Provider practices and
knowledge “Some facilities are practicing polypharmacy, others still using chloroquinine or
giving non recommended medication”

Product management “Stockouts of IPT drug (sulfadoxine+pyrimethamine) found in facilities”

Pharmacovigilance “Pharmacovigilance not in practice at most service delivery points

Guidelines and protocols “New policy and guidelines developed in 2011 have not been disseminated to

(distribution) facilities”

Access to care: system issues “Virtually no diagnostic capacity exists outside the major hospitals and diagnosis
is considered to be unreliable even at these facilities”

15

หมำยเลขเอกสำร:…SOP-MIS-PRDDC-013 แผ่นที:่ 16/18

สำนักงำนบริหำรโครงกำรกองทนุ โลก วนั ทม่ี ีผลบงั คับใช้: 31 มกรำคม 2561 แกไ้ ขครัง้ ที:่ 1

มำตรฐำนกำรปฏบิ ตั งิ ำน: การประเมินคุณภาพบรกิ ารแบบรวดเร็ว (Rapid Service Quality Assessment: RSQA)

ผ้จู ัดทำ: นางบษุ บา ตนั ตศิ ักด์ิ ผ้ตู รวจทำน: นางสาวพิมใจ ศาทสิทธิ์ ผ้อู นุมตั :ิ นพ.ทวที รพั ย์ ศริ ประภาศริ ิ

8.4การใหข้ ้อมลู ย้อนกลบั เบื้องต้นแก่หน่วยงานท่ีไดร้ บั การประเมินคุณภาพบริการเบื้องต้น
8.4.1 ประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับจากการประเมนิ คณุ ภาพบริการ – นาเสนอข้อมลู การจัดบริการท่ีให้เปน็ อย่างไร
8.4.2 นาเสนอโอกาสการบูรณาการคุณภาพบริการเข้าสู่กระบวนการบริหารจดั การโครงการ
8.4.3 การประเมินคณุ ภาพบริการให้ขอ้ มลู เชงิ ลกึ กว่าการประเมินแบบอืน่ (การตรวจขอ้ มูลในพื้นท่ใี ห้ข้อมูลเชิงโปรแกรม
แตย่ งั ไม่เปน็ ระบบ)
8.4.4 นาเสนอข้อมูลสาคัญสาหรบั การบริหารจัดการความเส่ียงได้

8.5แนวทางการเขียนรายงานผลการประเมนิ คุณภาพบรกิ ารแบบรวดเร็ว
8.5.1 ข้อเสนอแนะต่างๆ ควรมรี ายละเอียดที่แม่นยาและถูกต้อง
8.5.2 ขอ้ เสนอแนะควรเขยี นตามบริบทของวงจรทุนโครงการ
1) ระยะเวลาโครงการ
2) แหล่งทุนตา่ งๆ
3) ผ้รู ับผิดชอบดาเนินงาน
8.5.3 จดั ลาดับความสาคัญของประเด็นค้นพบโดยเฉพาะประเด็นที่รา้ ยแรง
8.5.4 ควรเนน้ ประเด็นท่ีคน้ พบรว่ มกนั ของหลายหน่วยบริการ หรอื ประเด็นทีม่ คี วามเฉพาะเจาะจง
8.5.5 ให้รวมขอ้ เสนอแนะทหี่ ลากหลายเปน็ กลมุ่ เดียวกนั
8.5.6 ตัวอยา่ งการรายงานผลการประเมนิ คุรภา่ พบริการแบบรวดเร็ว แบง่ ตาม
1) ปญั หาที่พบ
2) เสนอการติดตามกิจกรรมตามขอ้ ค้นพบ
3) ระบุประเภทของการติดตามกิจกรรม

Problem identified Proposed follow up action Type of follow up action

The current National Guideline Complete the on-going process of producing
for Diagnosis and Treatment of a guideline in view of the current changes in Management Action
malaria was produced in 2006 the field of malaria

Lack of temperature chart in Measure and record temperatures to ensure
the storage room and shelves proper storage of commodities, and move Recommendation
being closed to the walls shelves from the walls as instructed

Guidelines for good storage are The team recommended the facility to

not available and the shelves reposition the shelves. The facility need to Recommendation

were close to the wall be provided with SOP for storage.

Storage shelves placed against Repositioning Recommendation
walls

16

หมำยเลขเอกสำร:…SOP-MIS-PRDDC-013 แผน่ ที่:17/18

สำนักงำนบริหำรโครงกำรกองทนุ โลก วนั ที่มีผลบงั คับใช้: 31 มกรำคม 2561 แก้ไขครัง้ ท:่ี 1

มำตรฐำนกำรปฏิบัติงำน: การประเมนิ คุณภาพบรกิ ารแบบรวดเรว็ (Rapid Service Quality Assessment: RSQA)

ผจู้ ดั ทำ: นางบุษบา ตนั ติศักด์ิ ผู้ตรวจทำน: นางสาวพิมใจ ศาทสิทธิ์ ผ้อู นมุ ตั ิ: นพ.ทวีทรพั ย์ ศริ ประภาศิริ

Problem identified Proposed follow up action Type of follow up action

There was no evidence of There is need for conducting supportive

supportive supervision be supervision and documenting Recommendation

conducted

Verification of malaria This facility should use HMIS books for

treatment regimens was not registering patients

possible due to lack of

documents. No OPD register Management Action

was available for review and

the recently introduced HMIS

books were not used

Very congested store room with Proper arrangement of commodities is

cartons on the floor. There is required as well monitoring and recording of Recommendation

no monitoring of temperature temperature

Frequent stock out of HIV test Both Determine and Unigold HIV test kits Recommendation
kits especially Determine, which should always be available. Testing of
the first HIV test kit according to patients for HIV infection should follow
the National Algorithm for HIV national guidelines i.e. Determine followed
testing by Uniglot (for those testing positives with
Determine)

The facility experiences

frequent shortage of CD4 At this level of health service delivery

reagents for assessing ARV emphasis should be on clinical staging of

eligibility and monitoring of patients for ARV eligibility.

patients on ARVs

Lack of awareness on

availability of the yellow forms Yellow forms be provided and staff be Recommendation
used to monitor adverse drug trained on their use

reactions

This facility continues to use This regimen should be changed to conform Management Action
single dose nevirapine for with the current guidelines

17

หมำยเลขเอกสำร:…SOP-MIS-PRDDC-013 แผน่ ท่:ี 18/18

สำนกั งำนบรหิ ำรโครงกำรกองทุนโลก วันที่มผี ลบงั คบั ใช้: 31 มกรำคม 2561 แก้ไขครง้ั ท:ี่ 1

มำตรฐำนกำรปฏบิ ตั ิงำน: การประเมินคุณภาพบริการแบบรวดเรว็ (Rapid Service Quality Assessment: RSQA)

ผู้จดั ทำ: นางบษุ บา ตนั ตศิ ักด์ิ ผู้ตรวจทำน: นางสาวพมิ ใจ ศาทสิทธิ์ ผู้อนุมตั :ิ นพ.ทวที รพั ย์ ศิรประภาศิริ

Problem identified Proposed follow up action Type of follow up action
prophylaxis

Outdated national guidelines

for HIV counselling and testing The facility should acquire the most recent Recommendation
dated 2006, with SD-bioline guidelines which came out in 2012

and Determine as test kits

Lack of paediatric ARV Provide Pediatric ARV formulations Recommendation
formulations

9 ตัวอยำ่ งเอกสำร (ถ้ำมี)

18


Click to View FlipBook Version