The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปไตรมาสที่ 2/2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lpdc, 2020-06-23 04:29:29

สรุปไตรมาสที่ 2/2563

สรุปไตรมาสที่ 2/2563

Keywords: LPDC YRU

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

คานา

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จัดทารายงานผลการดาเนินโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (ไตรมาสท่ี 1) โดยได้ดาเนินโครงการ เพ่ือสนองตอบ
พระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 10 ในการเป็นสถาบนั การศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน สอดคล้องกับ
แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่ือการพัฒนาท้องถ่ิน ระยะ 20 ปี มีพ้ืนที่ให้บริการในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (จังหวัด
ยะลา ปตั ตานี และนราธิวาส) ผา่ นการลงพ้นื ทีบ่ รกิ ารวิชาการรับใช้สงั คม ภายใตก้ ารบรู ณาการศาสตร์องค์ความรู้ของมหาวิทยาลัย
ราชภฏั ยะลา และการทางานอย่างมีสว่ นรว่ มกบั หนว่ ยงานภาคเี ครอื ข่าย ประกอบไปดว้ ย 1) โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลตาบล
ในจังหวัด 2) โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น 3) โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชน
ฐานราก 4) โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษา 5) โครงการอบรมเพ่ือสร้างความรู้ทักษะด้านภาษาอังกฤษให้แก่นักศึกษาตาม
พระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 10 6) โครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี ความเข้าใจ
ในสิทธิหน้าท่ีของตนเองและผู้อ่ืนภายใต้พ้ืนฐานของประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข และ 8) โครงการตามบริบท
ของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา

ในการน้ี เพ่ือให้การขับเคลื่อนโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2563 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ด้วยการบูรณาการความร่วมมือทั้งหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภาคีเครือข่ายภายนอก
จึงได้นาเสนอกระบวนการทางาน และผลการดาเนินโครงการดังกล่าวเป็นระยะ ซ่ึงเป็นการรายงานความก้าวหน้าผลการดาเนิน
โครงการพัฒนาท้องถ่ิน เพื่อให้คณะผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และหน่วยงานภาคีเครือข่ายท่ีเกี่ยวข้องในพื้นที่ ได้รับทราบผล
การดาเนินงานในรอบไตรมาส ก่อให้เกิดการประสานความร่วมมืออย่างต่อเนื่อง อันเป็นผลสาคัญต่อการขับเคลื่อนโครงการ
ดงั กล่าว ให้บรรลุเปา้ หมายตามตัวชี้วดั ทกี่ าหนดไว้ โดยมงุ่ เน้นใหป้ ระชาชนในพื้นท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับผลกระทบเชิง
บวก จากการพัฒนาท้องถิ่นอย่างแท้จริง หากรายละเอียดท่ีนาเสนอผิดพลาดประการใด ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถ่ิน
ตอ้ งขออภัยมา ณ โอกาสนี้

ศูนย์สง่ เสริมและพฒั นาทอ้ งถน่ิ
มหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา
พฤษภาคม 2563

ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาท้องถน่ิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

สารบัญ

รายงานการเบิกจ่ายงบประมาณ 2563 รายงานผลการดาเนินงาน ไตรมาส 2
ไตรมาสที่ 2 โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย แบ่งตามรายโครงการ
ราชภฏั เพ่อื การพัฒนาท้องถิ่น
โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลตาบลในจงั หวดั
ความก้าวหน้าโครงการตามยุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น โครงการพฒั นาผลิตภัณฑช์ ุมชนท้องถิน่
ประจาปี 2563
โครงการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และยกระดับรายได้ให้กบั
แ ผ น ท่ี ก า ร ด า เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร คนในชมุ ชนฐานราก
ยทุ ธศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพอ่ื การพัฒนา
ท้องถิน่ ประจาปี 2563 โครงการยกระดับคณุ ภาพการศึกษา

โครงการอบรมเพอ่ื สร้างความรู้ทักษะดา้ นภาษาอังกฤษ
ให้แกน่ ักศกึ ษาตามพระบรมราโชบายของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั รัชกาลที่ 10

โครงการส่งเสริมความรกั ความสามัคคี ความเข้าใจ
ในสทิ ธิหน้าที่ของตนเองและผอู้ ่นื ภายใตพ้ ้ืนฐานของ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์เปน็ ประมขุ

โครงการตามบริบทของมหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา

ตดิ ตามและประเมินผลการดาเนนิ งานของ
ศูนยส์ ่งเสริมและพฒั นาทอ้ งถ่นิ

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทอ้ งถ่นิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

รายงานการเบกิ จ่ายงบประมาณ 2563 ไตรมาสที่ 2
โครงการยุทธศาสตรม์ หาวิทยาลัยราชภัฏเพือ่ การพัฒนาทอ้ งถิ่น

งบประมาณปี 2563 ยอดเบิกจ่าย 48.49 %

30,978,800 บาท 15,022,244 บาท

ภาพรวมการเบิกจา่ ยโครงการยทุ ธศาสตรม์ หาวิทยาลัยราชภัฏเพือ่ การพฒั นาทอ้ งถน่ิ

รายงานการเบิกจ่ายงบประมาณปี 2563 แต่ละโครงการ

3.45 % 46.91 % 66.16 % 77.46 % 28.02 % 23.68 % 26.32 % 21.23 %
พัฒนาระบบฐานข้อ ูมลตาบลในจังหวัด
ัพฒนาผลิตภัณ ์ฑชุมชน ้ทอง ่ิถน

พัฒนา ุคณภาพชีวิตและยกระดับรายไ ้ดให้ ักบคนในชุมชนฐานราก
ยกระดับ ุคณภาพการศึกษา

อบรมเ ่พือสร้างความรู้ ัทกษะด้านภา ัองกฤษ
่สงเส ิรมความรักความสา ัมค ีค ความเข้าใจใน ิสทธิหน้าท่ี

ตามบริบทของมหา ิวทยาลัยราชภัฏยะลา
ติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน ูศนย์ส่งเสริมฯ

ศนู ยส์ ่งเสริมและพฒั นาท้องถ่นิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

ความก้าวหนา้ โครงการตามยทุ ธศาสตรม์ หาวิทยาลยั ราชภัฏ
เพื่อการพัฒนาทอ้ งถิ่น ประจาปี 2563

โครงการพฒั นาระบบฐานขอ้ มูลตาบลในจังหวัด สดั สว่ นความสาเรจ็ ณ ปัจจุบัน
SEO Maximisation
30 %

โครงการพฒั นาผลิตภัณฑ์ชุมชนทอ้ งถ่นิ Graphic Design 30 %
โครงการพฒั นาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก 30 %

โครงการยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา Web Development 40 %
20 %
โครงการอบรมเพื่อสร้างความรู้ทักษะดา้ นภาษาอังกฤษใหแ้ ก่นกั ศึกษา
AB C ตามพระบรมราโชบายของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั รชั กาลที่ 10 Architecture Design

โครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี ความเขา้ ใจในสิทธิหน้าทข่ี องตนเอง 20 %
และผอู้ ืน่ ภายใตพ้ ืน้ ฐานของประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยเ์ ป็นประมุข 20 %
โครงการตามบริบทของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 10 %

กลุ่มโครงการรว่ ม 5 โครงการตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาเนินงานของศูนย์ส่งเสริมและพฒั นาท้องถน่ิ

แผนที่การดาเนินงานโครงการยุทธศาสตรม์ หาวิทยาลัยราชภัฏ
เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นประจาปี 2563

จังหวัดปัตตานี ยะหริ่ง

ปานาเระ สายบุรี
มายอ
เมืองปัตตานี ไมแ่ กน่ จังหวัดนราธิวาส
ยะรัง
หนองจิก ทงุ่ ยางแดง กะพอ้ บาเจาะ
โคกโพธิ์ แม่ลาน
รามนั ยีง่ อ
เมืองยะลา รือเสาะ ระแงะ เมืองนราธิวาส ตากใบ
เจาะไอร้อง
ยะหา สไุ หงโก-ลก
สไุ หงปาดี
กาบงั กรงปินัง ศรีสาคร

บนั นังสตา จะแนะ แว้ง
สุคิริน

จังหวัดยะลา ธารโต 3 จงั หวัด 26 อาเภอ
เบตง

ศูนยส์ ่งเสริมและพัฒนาท้องถน่ิ

3 รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

รายงานผลการดาเนินงาน ไตรมาส 2 แบ่งตามรายโครงการ

1โครงการพฒั นาระบบฐานข้อมลู ตาบลในจงั หวัด

โครงการพฒั นาระบบฐานขอ้ มลู ตาบลในจังหวดั เรม่ิ ดาเนนิ โครงการปีงบประมาณ 2563 โดยการดาเนินงานในไตรมาสที่ 1
ทีผ่ า่ นมา ไดป้ ระชุมหารอื รว่ มกบั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ท้งั 38 แห่งทั่วประเทศ และสานักงานกองทุนสนบั สนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
(สสส.) สาหรับมหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา ได้คดั เลอื กพืน้ ท่ีนาร่องในการดาเนนิ งานประจาปี 2563 ไดแ้ ก่ ตาบลท่าสาป อาเภอเมือง
จังหวัดยะลา ตาบลซากอ อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส และ ตาบลแม่ลาน อาเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี สาหรับการ
ดาเนินงานในไตรมาสที่ 2 ไดด้ าเนนิ การดังนี้

1. วันท่ี 11 มีนาคม 2563 อาจารย์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พร้อมด้วยเจ้าหน้าท่ี ลงพื้นท่ีชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับ
การดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาระบบฐานข้อมูลตาบล
ในจังหวัด ณ องค์การบริหารส่วนตาบลซากอ อาเภอศรี
สาคร จังหวัดนราธิวาส

2. วนั ที่ 17 มีนาคม 2563 อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบโครงการ
พร้อมด้วยเจ้าหน้าท่ี ลงพื้นท่ีชี้แจงรายละเอียดเก่ียวกับ
การดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาระบบฐานข้อมูลตาบล
ในจังหวัด ณ สานักงานเทศบาลตาบลท่าสาป อาเภอ
เมือง จงั หวดั ยะลา

3. วันที่ 18 มีนาคม 2563 อาจารย์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พร้อมด้วยเจ้าหน้าท่ี ลงพื้นท่ีช้ีแจงรายละเอียดเก่ียวกับ
การดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาระบบฐานข้อมูลตาบล
ในจังหวัด ณ องค์การบริหารส่วนตาบลแม่ลาน อาเภอ
แม่ลาน จังหวดั ปัตตานี

ศนู ยส์ ่งเสริมและพัฒนาทอ้ งถ่นิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

2โครงการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ชุมชนทอ้ งถิ่น

โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถ่ิน เร่ิมดาเนินโครงการต้ังแต่ปี 2562 โดยได้ดาเนินงานยกระดับกลุ่มผู้ประกอบการ
OTOP ในพื้นท่ีเปา้ หมายจานวน 26 กลุ่ม แบง่ เปน็ จงั หวัดยะลา 10 กล่มุ จังหวัดปตั ตานี 8 กลมุ่ และจงั หวัดนราธิวาส 8 กล่มุ

ปี 2563 โครงการได้ดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง โดยมีการยกระดับกลุ่ม OTOP กลุ่มเดิมท่ีพัฒนาต่อเน่ืองจานวน
14 กลุ่ม และกลมุ่ ใหม่จานวน 16 กลุ่ม ดงั น้ี

การดาเนินงานในไตรมาสที่ 1 ได้ดาเนนิ การลงวเิ คราะห์ศกั ยภาพกล่มุ ผู้ประกอบการ OTOP กลุม่ ใหม่ที่จะเข้าร่วมโครงการ
และจดั เตรียมวัสดอุ ุปกรณใ์ นการดาเนินกจิ กรรม

การดาเนนิ งานในไตรมาสที่ 2 ไดด้ าเนนิ การดังน้ี
กิจกรรมยอ่ ยท่ี 2.1 พฒั นาออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์

กจิ กรรมพฒั นาออกแบบพัฒนาตราสินค้าและบรรจภุ ณั ฑ์ ไดด้ าเนนิ การจดั อบรมและพัฒนาผลิตภณั ฑ์ ดงั น้ี
 กลมุ่ แม่บ้านทหาร (กล่มุ สมุนไพรที่ไม่ใช้อาหาร)

1.ทางคณะดาเนินกิจกรรมได้ส่งมอบวัสดุ/อุปกรณ์แก่กลุ่มแม่บ้านทหาร เพ่ือใช้ในพัฒนาผลิตภัณฑ์และต้นแบบบรรจุ
ภัณฑใ์ หม่ ณ สถานประกอบการห้างหุน้ ส่วนสามัญวิสาหกิจชุมชนแม่บ้านกองพลทหารราบที่ 15 สาขาหน่วยข่าวกรองทางทหาร
อาเภอหนองจิก จังหวัดปตั ตานี

2.คณะดาเนินกิจกรรมได้ดาเนินการพัฒนาต้นแบบบรรจุภัณฑ์ของแชมพูและครีมนวดจากสมุนไพร ดาเนินการ
ออกแบบโดย อาจารย์สวพร จันทรสกุล

 กลุ่มเลี้ยงผึ้งจิ๋วชันโรงครรู วนิ (กลมุ่ สมนุ ไพรทไ่ี ม่ใชอ้ าหาร)
1.คณะดาเนนิ งานจัดประชมุ หารอื แนวทางการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ และส่งมอบวัสดุ/อุปกรณ์ในการ

ดาเนินงานภายใต้การกากับดูแลของ อาจารย์เวคิน วุฒิวงศ์ และอาจารย์ศฤงคาร กิติวินิต ณ ท่ีทาการกลุ่มเลี้ยงผ้ึงจ๋ิวชันโรง
ครรู วิน อาเภอเบตง จงั หวดั ยะลา

ศูนยส์ ่งเสริมและพัฒนาทอ้ งถน่ิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ป4ี 2563

กิจกรรมยอ่ ยท่ี 2.2 พัฒนาคณุ ภาพผลิตภณั ฑ์

2.2.1 กิจกรรมพฒั นาสถานประกอบการ จานวน 4 กลมุ่
กิจกรรมพัฒนาสถานประกอบการ มีกลุ่ม OTOP ท่ีได้รับการพัฒนาทั้งหมด 4 กลุ่ม มีรายละเอียดการดาเนินงาน

ในไตรมาสท่ี 2 ตามรายกลุ่ม ดงั น้ี
1) กลุ่มวสิ าหกิจชุมชนขา้ วกล้องหอมมะลแิ ดงทา่ ดา่ น
- การดาเนินงานเดือนมกราคม

คณะดาเนินงานกิจกรรม พร้อมด้วยเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข
จังหวัดปัตตานี ได้ลงพื้นที่ให้คาแนะนาในการพัฒนาสถาน
ประกอบการให้ได้มาตรฐาน และให้คาแนะนาด้านการ
ปรับปรุงสถานประกอบการให้ได้มาตรฐานและยกระดับ
มาตรฐานเครื่องหมายอาหารและยา (อย.)

- วันท่ี 3 - 27 มีนาคม 2563 เจ้าหน้าท่ีนักวิทยาศาสตร์การอาหาร ประสานผู้ประกอบการให้ดาเนินการ
ปรบั ปรุงสถานประกอบการตามคาแนะนาของสานกั งานสาธารณสขุ พรอ้ มตดิ ตามความกา้ วหน้าในการปรบั ปรงุ สถานประกอบการ
2 คร้งั ตอ่ 1 สัปดาห์

กอ่ นการพัฒนา หลังการพฒั นา
- ประตทู างเขา้ ไมต่ ิดตง้ั ม้งุ ลวด - ประต้หู น้าต่างไมต่ ิดตัง้ มงุ้ ลวด
- ประตูทางเข้าติดตง้ั มุง้ ลวด -ประตู้หน้าตา่ งตดิ ตัง้ ม้งุ ลวด

2) กลุ่มเจป้ ูกุยชา่ ย
- วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2563 คณะดาเนินงานได้ลงพ้ืนที่ให้คาแนะนาปรับปรุงสถานประกอบการเบื้องต้น

ณ สถานประกอบการกลุ่มเจ้ปกู ุยช่าย อาเภอเบตง จังหวัดยะลา
3) กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอนิ ทรีย์และสมุนไพรบ้านประชานมิ ติ ร
- วันที่ 11 -14 กุมภาพันธ์ 2563 คณะดาเนินงาน พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่นักวิทยาศาสตร์การอาหาร ออกแบบ

แผงผังโครงสร้างสถานประกอบการของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์และสมุนไพรบ้านประชานิมิต เพื่อส่งเอกสารไปยัง
สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดนราธิวาส ตรวจสอบแกไ้ ขใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานอาหารและยา

4) กลมุ่ ปลาส้มแดนใต้
- วั น ที่ 1 7 มี น า ค ม 2 5 6 3 ล ง พื้ น ท่ี ติ ด ต า ม

ความก้าวหน้าในการปรับปรุงสถานประกอบการให้เป็นไปตาม
มาตรฐาน และสอบถามข้อมูลปัญหาในการปรับปรุงสถาน
ประกอบการเพื่อแก้ปัญหาการปรับปรุงให้เร็วที่สุด ณ สถาน
ประกอบการกลุ่มปลาส้มชายแดนใต้ อาเภอตันหยงมัส
จังหวัดนราธิวาส

ศนู ย์สง่ เสริมและพัฒนาทอ้ งถน่ิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

2.2.1 กิจกรรมพฒั นาผลิตภัณฑ์อาหารจานวน 6 กลมุ่

กิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มีกลุ่ม OTOP ท่ีได้รับการพัฒนาท้ังหมด 6 กลุ่ม มีรายละเอียดการดาเนินงานใน
ไตรมาสท่ี 2 ตามรายกลุ่ม ดงั น้ี

1) กลุ่มส่งเสรมิ อาชีกาแฟฮางสุ
- คณะดาเนินงานได้ดาเนินการพัฒนา

ผลิตภัณฑ์ใหม่ต่อยอดจากกาแฟเบตง มีการทดลองพัฒนา
ผลิตภัณฑ์เฉาก๊วยสูตรดั่งเดิม (เฉาก๊วยรสกาแฟพร้อม
รับประทาน /กา แฟคั่ว ) ณ ห้อง ปฏิบัติการ สาข า
วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ก า ร อ า ห า ร ค ณ ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ
เทคโนโลยกี ารเกษตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

2) กลมุ่ คณุ ลาเบเกอรี่

วันท่ี 11 - 25 มีนาคม 2563 คณะดาเนินงาน พร้อมทีมงาน
เตรียมอุปกรณ์การทาแล็บ (Lab) เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ซาลาเปาไส้
ไก่เห็ดหอมไข่เค็ม และวิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพ
ประกอบด้วยค่าสี ความชื้น และปริมาณน้าอิสระ รวมท้ังวิเคราะห์
คุณสมบัติทางกาย และทดสอบทางประสาทสัมผัสผลิตภัณฑ์
ซาลาเปาแช่แข็งไส้ไก่เห็ดหอมไข่เค็ม ประกอบไปด้วยคุณลักษณะ
ทางด้านสี กล่ินรสชาติ เนื้อสัมผัส และด้านความชอบรวม
เพื่อศึกษาอายุการเก็บของกลุ่มคุณลาเบเกอรี่ อาเภอย่ีงอ จังหวัด
นราธิวาส ไดว้ ิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ ณ อาคาร 16 ห้องเคมี พร้อมด้วย
เครื่องมือพิเศษ ชั้น 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

3) บริษัทซนั โฟรเซ่น ฟรุต่ จากัด

- เดือนมกราคมทผี่ า่ นมา ทีมอาจารย์ผู้รับผิดชอบกิจกรรม ร่วมกับนักวิทยาศาสตร์การอาหาร ทดลองผลิตไส้
และขนมไหวพ้ ระจนั ทรร์ สทุเรยี น โดยการทดลองศึกษาการทาแป้งขนมไหว้พระจันทร์ ซ่ึงมีการทดสอบทางประสาทสัมผัส พัฒนา
จนไดส้ ตู รท่ีดที สี่ ุดตามความต้องการของผู้ประกอบการทเ่ี ข้าร่วมกจิ กรรม

- วันท่ี 3 - 24 มีนาคม 2563 คณะ
ดาเนินงาน ร่วมกับเจ้าหน้าท่ีวิทยาศาสตร์การอาหาร
ดาเนินผลิตขนมไหว้พระจันทร์ไส้ทุเรียน ซี่งได้ผลิตขนมไหว้
พระจันทร์สาหรับวิเคราะห์ฉลากคุณค่าทางโภชนาการแบบ
เต็ม ทดสอบชิมโดยผู้บริโภค จานวน 100 คน พร้อมด้วย
ศึกษาระดับการยอมรับของผู้บริโภคต่อขนมไหว้พระจันทร์
ไส้ทุเรียน

ศูนยส์ ่งเสริมและพฒั นาทอ้ งถน่ิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

4) กลุ่มวนุ้ มะพรา้ วคุณพมิ าน
- เดอื นมกราคมที่ผา่ นมา คณะดาเนนิ งาน ลงพ้นื ทีพ่ บกลุ่มผู้ประกอบการเพื่อให้คาแนะนาในการพัฒนาสถาน

ประกอบการให้ได้มาตรฐาน พร้อมเจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสุขจงั หวัดนราธวิ าส แนะนาจุดท่ีต้องปรับปรุงสถานประกอบการอาหารให้ได้
มาตรฐาน และสามารถยกระดับมาตรฐานเคร่ืองหมายอาหารและยา (อย.) ในการปรับปรุงสถานประกอบการและคานวณ
งบประมาณทั้งหมดทีใ่ ช้ในปรับปรุงสถานประกอบการ

- วันที่ 9-24 มีนาคม 2563 ดาเนินการ
จัดทาเครื่องกรองน้าให้กับผู้ประกอบการ เพ่ือปรับปรุง
สถานประกอบการให้ได้มาตรฐานและสามารถนาไป
ขอเคร่ืองหมายอาหารและยา (อย.) ให้ผ่านเกณฑ์ และ
ได้มีการประสานงานไปยังเจ้าหน้าท่ีเพื่อติดตั้งเครื่องกรอง
น้าให้กับผู้ประกอบการทาการวิเคราะห์ฉลากคุณค่า
ทางโภชนาการแบบเต็มจากบริษัทห้องปฏิบัติการกลาง
(แห่งประเทศไทย) จากัด สาขาสงขลา และนอกจากน้ี
ได้มีการวิเคราะห์คุณภาพน้าในการประกอบอาหาร เพื่อ
ใ ห้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ มี คุ ณ ภ า พ ต า ม ม า ต ร ฐ า น ที่ ก า ห น ด
ของกลุ่มวุ้นมะพร้าวคุณพิมาน ตาบลยี่งอ อาเภอย่ีงอ
จังหวดั นราธวิ าส

5) กลมุ่ วสิ าหกิจชมุ ชนปลาแห้งทา่ ยาลอ
- เดือนมกราคมทีผ่ า่ นมา คณะดาเนนิ งาน ศกึ ษาพฒั นาสตู รน้าราดปลากเุ ลา พรอ้ มบริโภค
- วันท่ี 11 - 18 มีนาคม 2563 ดาเนินการวิเคราะห์ปริมาณความช้ืน aw pH TBAR และปริมาณเกลือของ

กลุม่ วิสาหกจิ ชมุ ชนปลาแห้งท่ายาลอ กลมุ่ แมบ่ ้านศรบี ารู และวิสาหกจิ ชมุ ชนแปรรปู อาหารทะเลบางตาวา

6) กลุ่มเตา้ ส้อคุณเย็น
- การดาเนินงานเดือนมกราคมที่ผา่ นมา ลงพ้นื ทคี่ ร้ังที่ 1 เพ่อื ประชุม หารือ พรอ้ มระดมความคดิ เหน็ ในการ

ทาผลติ ภัณฑเ์ ต้าสอ้ ไส้ใหม่ ใหค้ าแนะนาในการพัฒนาสถานประกอบการใหไ้ ด้มาตรฐาน พรอ้ มเจ้าหน้าท่สี าธารณสขุ จงั หวัดปัตตานี
และชีจ้ ดุ ท่ีต้องปรับปรงุ สถานประกอบการอาหารใหไ้ ด้มาตรฐาน และสามารถนาไปขอเครือ่ งหมายอาหารและยา (อย.) และดาเนิน
การพฒั นาผลิตภณั ฑเ์ ตา้ ส้อไสม้ ันม่วง เพ่อื ทดสอบชมิ ในผู้บริโภคทว่ั ไป จานวน 100 คน

ศูนยส์ ง่ เสริมและพัฒนาทอ้ งถ่นิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

- วันที่ 9 - 13 มีนาคม 2563 อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบกิจกรรม และทีมงาน ดาเนินการจัดส่งผลิตภัณฑ์เต้าส้อไส้
มันม่วงและไส้เผือก เพ่ือตรวจวิเคราะห์ฉลากคุณค่าโภชนาการแบบยาว และพัฒนาไส้เต้าส้อให้มีความหลากหลาย ณ บริษัท
หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารกลางประเทศไทย จากดั

2.2.1 กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผลิตภณั ฑอ์ าหาร จานวน 5 กลมุ่
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหาร มีกลุ่ม OTOP ท่ีได้รับการพัฒนาท้ังหมด 5 กลุ่ม มีรายละเอียดการดาเนิน

งานในไตรมาสที่ 2 ตามรายกลมุ่ ดงั นี้
1) กลมุ่ แม่บ้านมดตะนอย
- การดาเนินงานเดือนมกราคมที่ผ่านมา ดาเนินการส่งตัวอย่างผลิตภัณฑ์น้าพริกปลานิล รสเผ็ดน่ารัก

และรสเผด็ โหด ตรวจวิเคราะห์ตามมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชุมชน (มผช.) และศกึ ษาอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์น้าพริกปลานิล พร้อม
ตรวจวิเคราะห์คณุ ลักษณะทางเคมี ประกอบด้วย ค่าสี และความชื้น คณุ ลักษณะทางประสาทสัมผัส ประกอบด้วย สี กลิ่น กลิ่นรส
เนอื้ สมั ผสั และความชอบรวม โดยมกี ารส่มุ ตรวจตัวอย่างทกุ 15 วนั ทีอ่ ณุ หภมู หิ อ้ ง เป็นเวลา 3 เดอื น

- วันที่ 20 - 28 มกราคม 2563 เจ้าหน้าที่นักวิทยาศาสตร์การอาหาร ดาเนินการพัฒนาผลิตภัณฑ์
ปลานิลหยอง จานวน 4 สูตร โดยวิธีการทดสอบทางประสาทสัมผัส วิธี 9 Point Hedonic Scale ประเมินคุณลักษณะด้านการ
ปรากฏสี กลิ่น รสชาติ เน้ือสัมผัส และความชอบโดยรวม โดยใช้ผู้ทดสอบ จานวน 10 คน ใช้วิธีการคัดเลือกชุดการทดลอง
ที่มีคะแนนความชอบรวมสูงสุดในการศึกษาผลิตภัณฑ์ พร้อมทั้งดาเนินการศึกษาอายุการเก็บรักษาน้าพริกปลานิล โดยการตรวจ
วิเคราะห์คุณลักษณะทางเคมีประกอบด้วย ค่าสี และความชื้น และดาเนินการทดสอบทางประสาทสัมผัส ของวันท่ี 45 และวันท่ี
60 ด้วยวธิ ี 9 Point Hedonic Scale ประเมินคุณลักษณะด้านลักษณะปรากฏ สี กลิ่น รสชาติ เน้ือสัมผัส และความชอบโดยรวม
ทาการส่มุ ตรวจตัวอยา่ งทกุ ๆ 15 วัน/ครั้ง ท่ีอุณหภูมหิ อ้ ง เปน็ เวลา 3 เดือน โดยใชผ้ ูท้ ดสอบ จานวน 30 คน

ศูนยส์ ง่ เสริมและพฒั นาทอ้ งถน่ิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

2) กลุม่ วสิ าหกจิ ชมุ ชนกลุม่ รบั ซือ้ ผลไม้และแปรรูปผลไม้ผลผลิตเกษตรบ้านวังใหม่
- เดือนมกราคมท่ีผ่านมา คณะดาเนินงาน ลงพื้นที่ดาเนินการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

ผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) พร้อมตรวจวิเคราะห์คุณภาพเบื้องต้น ค่าความชื้น และค่า Aw และวิเคราะห์ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ทุเรียน
ทอด เพือ่ ศึกษาอายกุ ารเก็บรกั ษาผลิตภัณฑ์ ภายใน ระยะเวลา 3 เดือน

- เดือนมีนาคมท่ีผ่านมา คณะดาเนินงาน ศึกษาอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ทุเรียนทอด วิเคราะห์ตัวอย่าง
ผลิตภัณฑ์เพ่ือศึกษาสภาวะทุเรียนหลังทอดและหลังการอบ โดยวิเคราะห์ทางกายภาพ วิเคราะห์ค่าสี ความช้ืน และ aw
ใช้ระยะเวลาทาการศึกษา จานวน 1 เดอื น

3) กลมุ่ วิสาหกิจชุมชนเครื่องแกงสาเรจ็ รูปบ้านตน้ โตนด
- วันท่ี 9 - 11 มีนาคม 2563 คณะดาเนินงาน ลงพื้นท่ีติดตั้งเครื่องกรองน้าให้กับสถานประกอบการเพื่อให้มี

น้าที่ได้มาตรฐาน สามารถใช้ในการผลิตเคร่ืองแกง โดยมีอาจารย์จุฑามาศ แก้วมณี จากสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม เป็นผู้ให้
ความรเู้ ก่ียวกบั น้า ณ สถานประกอบการกลุม่ วิสาหกจิ ชุมชนเคร่ืองแกงสาเร็จรปู บา้ นต้นโตนด อาเภอแมล่ าน จงั หวดั ปัตตานี

4) กลุ่มวสิ าหกจิ ชมุ ชนสตรีบา้ นเปย๊ี ะ
- วันที่ 16 - 23 มีนาคม 2563 คณะดาเนินงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมทองม้วนสดเพื่อคัดเลือกสูตรพ้ืนฐาน

จานวน 4 สูตร โดยทาการทดสอบทางประสาทสัมผัส จานวน 30 คน ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนสตรีบ้านเป๊ียะ อาเภอหนองจิก
จังหวดั ปตั ตานี

5) กลมุ่ วสิ ากจิ ชุมชนผเู้ ลี้ยงชนั โรงเพ่อื การอนุรักษ์และสง่ เสริมอาชพี แบบวธิ ีพอเพียง
- เดือนมกราคมท่ีผ่านมา เจ้าหน้าท่ี

นักวิทยาศาสตร์การอาหาร นาตัวอย่างผลิตภัณฑ์น้าผึ้งจาก
ผู้ประกอบการ ส่งตรวจวิเคราะห์ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์
ชุมชน (มผช.) และวิเคราะห์ฤทธ์ิทางเคมี เพื่อวิเคราะห์
คุณภาพน้าผ้ึงให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
(มผช.) ตามเป้าหมายของกจิ กรรม

- วั น ท่ี 1 6 - 3 0 มี น า ค ม 2 5 6 3
เจา้ หนา้ ทีน่ ักวิทยาศาสตร์การอาหาร ดาเนินการส่งตัวอย่าง
ผลติ ภณั ฑน์ ้าผึ้ง และสง่ วิเคราะหฉ์ ลากคณุ คา่ ทางโภชนาการ
แบบเต็ม ณ บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (แห่งประเทศไทย)
จากัด สาขาสงขลา เพ่ือให้ทราบถึงคุณค่าต่อหน่วยในการ
บริโภคทแ่ี ทจ้ รงิ

ศูนย์ส่งเสริมและพฒั นาทอ้ งถน่ิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

กิจกรรมยอ่ ยท่ี 2.3 พฒั นาผลิตภัณฑช์ มุ ชน OTOP ประเภทตดั เย็บและปกั ผา้

การดาเนนิ งานกิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP ประเภทตัดเย็บละปักผ้า โดยในไตรมาสที่ 1 ได้ดาเนินการลงพ้ืนที่
วิเคราะหศ์ กั ยภาพกลุม่ OTOP เพ่ือเขา้ รว่ มโครงการ ผลการดาเนนิ งานไดก้ ลมุ่ OTOP จานวน 3 กลุ่ม

การดาเนินงานไตรมาส 2 ได้ดาเนินการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ไดร้ ายละเอยี ด ดังน้ี
1. คณะดาเนินงานกิจกรรม และทีมงาน ลงพื้นที่

ณ กลุ่มผู้ประกอบการ SN-DESIGN, กลุ่ม Lawa Laweng
และกลุ่มปักจักรบ้านกลูบี อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส
เพ่ือวางแผนการพัฒนาออกแบบผลิตภัณฑ์ พร้อมนามอบ
วัสดุอุปกรณ์ท่ีจาเป็น ได้แก่ ผ้าสักหลาด ลูกปัด ด้ินเงินด้ิน
ทอง กระดุม มุก แก่กลุ่มผู้ประกอบการ ให้สามารถนาไป
พัฒนาต่อยอดการพฒั นาผลิตภณั ฑ์ชมุ ชนท้องถนิ่

2. คณะดาเนินงานกิจกรรม และทีมงานคณาจารย์
และทีมงาน ลงพื้นที่ ณ กลุ่มผู้ประกอบการ SN-DESIGN,
กลุ่ม Lawa Laweng และกลุ่มปักจักรบ้านกลูบี อาเภอศรีสาคร
จังหวัดนราธิวาส เพ่ือพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์ของแต่ละ
กล่มุ เพื่อนาไปต่อยอดการพัฒนาผลิตภัณฑช์ ุมชนท้องถ่ินได้
1. กลุ่มผู้ประกอบการ SN-DESIGN พัฒนากระเป๋าแบบที่ 1 และ
แบบที่ 2 ใช้วัสดผุ ้าคุณภาพดี สีไมต่ ก
2. กลุ่มผู้ประกอบการ Lawa Laweng พัฒนาเข็มกลัดและผ้านุ่ง
ใชว้ ัสดุผา้ ปักมอื ด้วยไหมวนี สั และลูกปดั
3. กลุ่มผู้ประกอบการ ปักจักรบ้านกลูบี พัฒนาเสื้อคลุมและผ้า
คลมุ ใชว้ สั ดุผ้าปักมอื ด้วยไหมวีนัส

3 . วั น ท่ี 4 - 5 มี น า ค ม 2 5 6 3 อ า จ า ร ย์
จิราพร เกียรต์นฤมล อาจารย์ผู้รับผิดชอบกิจกรรม พร้อม
ด้วยทีมงาน ดาเนินการลงพ้ืนท่ีมอบอุปกรณ์ให้กับกลุ่ม
ผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP พร้อมวางแผนการดาเนินงาน
เพ่ือจัดทาผลิตภัณฑ์เพิ่มเติมในปีงบประมาณ 2563
ณ กลุ่มOTOP ท่ีเข้าร่วมโครงการในพ้ืนท่ีอาเภอศรีสาคร
จังหวดั นราธิวาส

สาหรับการดาเนินงานในไตรมาสต่อไป ทางคณะดาเนินงาน มีการวางแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้กลุ่ม Lawa Laweng โดย
การทาเขม็ กลดั และผ้านุ่งลายวิถีชีวิต ซ่ึงจะใช้วัสดุผ้าปักมือด้วยไหมวีนัส และลูกปัด อีกท้ังยังเตรียมแพทเทิร์นหน้ากากผ้าให้กับ
ทางกลุ่มจัดทาเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ด้วย สาหรับกลุ่มปักจักรบ้านกลูบี ได้วางแผนจะพัฒนาผลิตภัณฑ์ ได้แก่ เสื้อคลุม และผ้าคลุม
โดยใช้วัสดุผ้าปักมือด้วยไหมวีนัส และกลุ่ม SN Design ได้วางแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์กระเป๋ารูปแบบใหม่ๆ โดยใช้วัสดุคุณภาพดี
และสีไม่ตก

ศูนย์ส่งเสริมและพฒั นาทอ้ งถน่ิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

กิจกรรมย่อยท่ี 2.4 พฒั นาผลิตภณั ฑผ์ ้าและเครื่องแตง่ กายจงั หวัดยะลา ปตั ตานี และนราธิวาส

การดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าและเครื่องแต่งกายจังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาส โดยในไตรมาสท่ี 1
ท่ีผ่านมา ได้ดาเนินการลงพื้นที่วิเคราะหศ์ ักยภาพกล่มุ OTOP ในพ้ืนทข่ี องจงั หวดั นราธวิ าส เพ่อื คดั เลือกกลุ่มท่ีมีศักยภาพท่ีจะเข้า
ร่วมโครงการ และคณะทางานได้ศกึ ษาดูงานกลมุ่ วิสาหกจิ ชมุ ชนกลุม่ ทอผ้าย้อมสธี รรมชาติหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ และชุมชน
ทอผา้ ย้อมครามบ้านอูนดง-หนองไชยวาลย์ จงั หวดั สกลนคร โดยได้ศกึ ษากระบวนการทอผ้าโดยใช้ก่ีกระทบ การทาฝ้าย การย้อม
สธี รรมชาติ และการจดั จาหน่ายผลิตภณั ฑ์ผา้ ทอ

การดาเนินงานไตรมาส 2 ได้ดาเนนิ งานไดร้ ายละเอยี ด ดังน้ี

1. วันท่ี 11 - 12 มกราคม 2563 คณะดาเนินงาน
ลงพ้ืนท่ีสารวจ ติดต่อ ประสานงานกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน จานวน
2 กลุ่ม ได้แก่ 1.ศูนย์ศิลปาชีพบ้านพิเทน ตาบลพิเทน อาเภอทุ่ง
ยางแดง 2.กลุ่มผ้าบาติกเมืองยอน ตาบลลุโบะยิไร อาเภอมายอ
จังหวัดปัตตานี เพื่อช้ีแจงวัตถุประสงค์การดาเนินงานกิจกรรมฯ
และคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายท่ีจะเข้าร่วมโครงการ จังหวัดละ
3 กลุ่ม โดยมุ่งเน้นกระบวนการย้อมเส้นใย การเขียนบาติกด้วยสี
ธรรมชาติ และสรา้ งลวดลายอนั เปน็ เอกลกั ษณป์ ระจากล่มุ

2. วันท่ี 17- 18 มกราคม 2563 คณะดาเนินงาน
ลงพื้นท่ีสารวจ ติดต่อ ประสานงาน กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน
จานวน 3 กลุ่ม ไดแ้ ก่
1) OTOP พารวย ตาบลตลงิ่ ชัน อาเภอบังนงั สตา
2) กลุ่มบา้ นตาพะเยา ตาบลแม่หวาด อาเภอธารโต
3) กลุ่มสดุ สยามบาตกิ ตาบลตาเนาะแมเราะ อาเภอเบตง
จงั หวดั ยะลา เพ่ือชแ้ี จงวตั ถุประสงค์การดาเนินงานกิจกรรม
และคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายท่ีจะเข้าร่วมโครงการ จังหวัดละ
3 กลุ่ม โดยมุ่งเน้นกระบวนการย้อมเส้นใย การเขียนบาติก
ด้วยสีธรรมชาติ และสร้างลวดลายอันเป็นเอกลักษณ์ประจา
กล่มุ

3. วันท่ี 11 - 12 มกราคม 2563 คณะดาเนินงาน
ลงพ้ืนที่สารวจ ติดต่อ ประสานงานกลุ่มทอผ้าปาตาติมอ ตาบล
ตะลุบัน อาเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี เพ่ือชี้แจงวัตถุประสงค์
การดาเนนิ งานกิจกรรมฯ และคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายท่ีจะเข้าร่วม
โครงการ จังหวัดละ 3 กลุ่ม โดยมุ่งเน้นกระบวนการย้อมเส้นใย
ดว้ ยสธี รรมชาติ และสรา้ งลวดลายอันเปน็ เอกลักษณ์ประจากลุ่ม

ศนู ยส์ ง่ เสริมและพฒั นาท้องถ่นิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

4. วันที่ 26 - 27 มกราคม 2563 คณะดาเนินงาน
ลงพ้ืนท่ีสารวจ ติดต่อ ประสานงานกลุ่มทอผ้า จานวน
3 กลุม่ ได้แก่
1. กลมุ่ ทอผ้าบา้ นสารวนั ตาบลไทรทอง
2. กลุ่มทอผ้าบ้านละเวง ตาบลดอนทราย
3. กลุ่มทอผ้าบ้านไม้แก่น ตาบลไม้แก่น
อาเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์
การดาเนินงานกิจกรรมฯ และคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายที่จะ
เข้าร่วมโครงการจงั หวัดละ 3 กลุ่ม โดยมุ่งเน้นกระบวนการ
ย้อมเส้นใยด้วยสีธรรมชาติ และสร้างลวดลายอันเป็น
เอกลักษณ์ประจากลุ่ม

5. วันท่ี 6, 18 -21, 25-26 กุมภาพันธ์ 2563
คณะดาเนินงานวิเคราะห์ ทดลองการย้อมเส้นใยฝ้าย
การทามัดย้อมผ้าฝ้าย และการเขียนภาพด้วยสีจาก
วัสดุธรรมชาติ ได้แก่ ใบจันทน์กะพ้อ เปลือกต้นมะม่วง-
หิมพานต์ เปลอื กตน้ จาปาดะ ฝกั ราชพฤกษ์ ครง่ั และแก่นเข
โดยมีจุดประสงค์เพ่อื

1) ทดสอบสีท่ีได้จากวัสดุธรรมชาติและศึกษาผลลัพธ์
ท่ีได้จากการใชส้ ารช่วยยอ้ ม (มอร์แดนท์ธรรมชาติ)

2) ทดสอบความคงทนของสธี รรมชาติ
3) เตรียมความพร้อมในการบริการวิชาการแก่กลุ่ม
ผลติ ภัณฑช์ มุ ชน
ผลจากการทดสอบย้อม เส้นใยฝ้ายและผ้าฝ้ายท่ีได้ทาการ
ย้อม และมัดย้อมด้วยสีจากใบจันทน์กะพ้อ เปลือกต้น
มะม่วงหิมพานต์ เปลือกต้นจาปาดะ ฝักราชพฤกษ์ คร่ัง
และแก่นเข ล้วนให้สีสันที่สวยงาม และเม็ดสีมีความชัดเจน
ซง่ึ วสั ดธุ รรมชาตใิ น 1 ชนิด สามารถให้สีได้หลายเฉดสี ทั้งนี้
ขึ้นอยู่กบั มอรแ์ ดนท์ท่ีเลือกใช้

6. วันท่ี 17 กุมภาพันธ์ 2563 คณะดาเนินงาน
ลงพื้นท่ี ณ กลุ่มบือแนบาติก ตาบลบุดี อาเภอเมือง จังหวัดยะลา
โดยมีจุดประสงค์เพ่ือชี้แจงแนวทางการดาเนินงานการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ และกระบวนการสร้างลวดลายผ้า โดยมุ่งเน้นการใช้
สีธรรมชาติในการสร้างสรรค์ผลงานผ้า ผลท่ีได้รับจากการ
ลงพื้นท่ี กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนมีความเข้าใจในจุดประสงค์
ของโครงการ และมีความถนัดในการสร้างสรรค์ผลงานบาติก
โดยใช้สธี รรมชาติ

ศนู ย์ส่งเสริมและพัฒนาทอ้ งถ่นิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

7. วันท่ี 19 - 23 มีนาคม 2563 คณะดาเนินงาน ทดสอบการย้อมเส้นใยฝ้ายด้วยสีจากวัสดุธรรมชาติ มีวัตถุประสงค์
1) เพอ่ื ทดสอบการย้อมสีเส้นฝ้ายท้ังเส้นยืนและเส้นพุ่งให้มีประสิทธิภาพสูงสุด สาหรับใช้ในการทอผ้า 2) เพื่อเตรียมความพร้อม
ในการลงพื้นที่บริการวิชาการแก่กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน และ 3) เพื่อให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมและเรียนรู้กระบวนการย้อมผ้า
ด้วยสีธรรมชาติ จากผลการทดสอบ พบว่า วัสดุธรรมชาติท่ีให้สีเพื่อการย้อมได้ มีได้ตั้งแต่สัตว์ (ตัวคร่ัง) พันธ์ุไม้ขนาดเล็กไป
จนถึงพันธ์ุไม้ขนาดใหญ่ ซ่ึงทุกส่วนของวัสดุธรรมชาติเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นผล เปลือก แก่น สามารถให้สีได้ แต่ทว่าความเข้มข้น
ของสีนั้นขึ้นอยู่กับอายุ ความอ่อน แก่ ของพืชพรรณนั้นๆ รวมถึงฤดูกาลที่เก็บเกี่ยวก็มีผลเช่นกัน ท้ังน้ีจากผลการทดสอบ
ยังพบอีกว่าในหมู่พืชพรรณต่างๆ ที่สามารถให้สีติดเส้นฝ้ายได้ดีน้ัน ส่วนใหญ่เป็นพืชที่มีสารเทนนินหรือความฝาด โดยพืช
ที่มีความฝาดน้ันใบ ดอก ผล และเปลือกจะมียางติดมือเม่ือผ่านการขย้ีหรือขูด การปฏิบัติการทดลองในคร้ังน้ี จึงได้เลือกใช้วัสดุ
ธรรมชาติ ทงั้ หมด 5 ชนิด ได้แก่ เปลอื กประดู่ ฝกั ราชพฤกษ์ ครั่ง มะเกลือดอง และใบมะม่วงเบาผสมใบแก้ว โดยใช้กรรมวิธีการ
สกัดสีโดยวธิ กี ารย้อมรอ้ น และการยอ้ นเย็นผสมการย้อมร้อน

8. วันท่ี 1 - 31 มนี าคม 2563 คณะดาเนนิ งาน ออกแบบลวดลายผ้าทอ และผ้าบาติกประจากลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับ
การคดั เลือกเขา้ โครงการยทุ ธศาสตรม์ หาวิทยาลัยราชภัฏเพอ่ื การพัฒนาท้องถน่ิ ปงี บประมาณ 2563 โดยวาง Concept ลวดลาย
ผา้ ของท้ัง 10 กลมุ่ ผลิตภัณฑช์ ุมชนไวเ้ บ้ืองต้น ไดแ้ ก่
1) กล่มุ OTOP พารวย ผ้าฝ้าย 2 ตะกอมดั หมส่ี เี ดียว ลายดอกจนั ทรก์ ะพอ้ สที ใ่ี ช้ ได้แกส่ คี ร่งั เปลอื กประดูห่ มกั โคลน
2) กลุ่มบือแนบาติก ผ้าบาติกลายดอกจันทร์กระพ้อ โดยเทคนิคที่ใช้สร้างสรรค์ สร้างลวดลายด้วยการเขียน การหยดสี การมัด
ย้อม สีที่ใช้ ไดแ้ ก่ ใบจันทนก์ ะพอ้ เปลือกมะมว่ งหิมพานต์ ฯลฯ
3) กลมุ่ สดุ สยามบาติก ผ้าบาติก ลายอิสระ Abstract สที ่ใี ช้
ไดแ้ ก่ สจี ากเมลด็ กาแฟ ดอกดาวเรือง
4) กลมุ่ บาติกมัดย้อมบา้ นตาพะเยา ผ้ามัดยอ้ มจากสธี รรมชาติ
สที ใี่ ช้ ได้แก่ ยางกลว้ ย
5) ศูนยศ์ ลิ ปาชพี ปาตาตมี อ ผา้ ทอลายลกู แกว้ ดอกเลก็ แบบ
ฟันปลา สีทใ่ี ช้ ได้แก่ สีจากลูกจาก เปลอื กตน้ โกงกาง
6) กลมุ่ ทอผ้าบ้านไม้แกน่ โสร่งตาหมากรกุ (โสรง่ มีปาตะ๊ ) ยกดอกลายโบราณ สที ี่ใช้: ต้นลูกหว้า เปลือกสเม็ด เปลือกต้นมะม่วง
หมิ พานต์ ฝกั ราชพฤกษ์ ฯลฯ
7) กลุม่ ผา้ พมิ พช์ าววัง ผ้าบาติก ลายดอกจกิ (ดอกมจุ ลินทร)์ สที ี่ใช้ ไดแ้ ก่ สจี ากใบสัก ใบมังคดุ
8) กลมุ่ ทอผา้ บา้ นเชงิ เขา ผ้าทอยกดอก ลายเชิงเขา สที ี่ใช้ ไดแ้ ก่ สีจากแกน่ ขนุน เปลือกหมาก ใบมะม่วงเบา ฯลฯ
9) ศูนย์ศิลปาชีพบ้านกาหลง ผ้าทอยกดอก ลายดอกจันทน์กะพ้อ (ดอกกาหลง) สีท่ีใช้ ได้แก่ สีจากใบหูกวาง เปลือกเพกา
เปลอื กลกู เนียง และแกน่ ขเ้ี หลก็ ฯลฯ
10) ศูนยศ์ ิลปาชีพบ้านสายบน ผา้ ทอลายสายฝน เทคนคิ เกาะลว้ ง สที ีใ่ ช้ ไดแ้ ก่ สจี ากคาแสด มะเกลอื ฯลฯ

ศูนยส์ ่งเสริมและพัฒนาท้องถน่ิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

9. วันท่ี 24-26 มีนาคม 2563 คณะดาเนินงานจัดทาแผนการดาเนินกิจกรรมและเตรียมความพร้อมในการลงพ้ืนที่ปฏิบัติ
กิจกรรมในเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2563 เพื่อวางแผนติดต่อ ประสานงานไปยังกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกเข้า
รว่ มโครงการ ฯ จานวน 10 กลมุ่ หนว่ ยงานท่ีรับผิดชอบในพ้ืนท่ี พัฒนาชุมชนประจาอาเภอและพัฒนาชุมชนจังหวัด และทาการ
ลงพื้นท่ีปฏิบัติกิจกรรม “พัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าและเคร่ืองแต่งกายจังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาส” ตามแผนการดาเนิน
กิจกรรมในเดือนเมษายนและพฤษภาคม 2563

กิจกรรมยอ่ ยท่ี 2.5 ส่งเสรมิ การตลาดผลิตภณั ฑ์ชุมชนจงั หวดั ชายแดนใต้

การดาเนินงานกิจกรรมส่งเนริมการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชนจังหวัดชายแดนใต้ในไตรมาสที่ 1 ท่ีผ่านมาได้ดาเนินการจัด
อบรมให้ความรู้เร่ืองการตลาดออนไลน์ การเลือกผลิตภัณฑ์ การสร้าง Content และการปล่อยโฆษณาผ่าน Page Facebook
โดยมีวิทยากร ซึ่งเป็น CEO of Pinsouq มาให้ความรู้ อีกทั้งยังประชุมวางแผนและพิจารณาคัดเลือกผลิตภัณฑ์เพ่ือจัดจาหน่าย
ทางตลาดออนไลน์ท่ีทางณะผู้ดาเนินงานจัดทาขึ้น ซ่ึงมีผลิตภัณฑ์ท่ีผ่านการคัดเลือกท้ังหมด 17 ผลิตภัณฑ์ จาก 13
ผู้ประกอบการ

การดาเนนิ งานไตรมาส 2 ได้ดาเนนิ งานได้รายละเอียด ดังน้ี
1.วันที่ 6 มีนาคม 2563 คณะดาเนินงานได้สร้างช่องทางในการจัดจาหน่ายสินค้าผลิตภัณฑ์ที่เข้าร่วมโครงการ โดย
ดาเนินการสร้างเพจ Facebook ประชาสัมพันธ์การลงชายสินค้าในระบบออนไลน์ และออฟไลน์ ซึ่งมีการวางระบบการตลาด
ออนไลน์ ผ่านชอ่ งทางเพจ Wele’ca ภายในแบรนด์ Local Love

ช่องทางในการเขา้ ถงึ เพจและ Facebook

สามารถสแกน QR CORD

เพือ่ เข้าถึงรา้ นคา้

ศนู ย์สง่ เสริมและพัฒนาท้องถน่ิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

ขอ้ มลู การซือ้ ขายจากลูกคา้

2.วนั ท่ี 18 มีนาคม 2563 คณะดาเนินงานลงพ้ืนที่กลุ่มแม่บ้านมดตะนอย(น้าพริกปลานิล) อาเภอเบตง จ.ยะลา เพื่อสร้าง
ความรู้ ความเข้าใจ รวมถึงการพัฒนาทางการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชน ถ่ายภาพผลิตภัณฑ์ สร้างแบรนด์ผลิตภัณฑ์และพัฒนา
ช่องทางการจดั จาหนา่ ยผลติ ภัณฑช์ ุมชนในพ้นื ทีจ่ งั หวัดชายแดนใต้

กิจกรรมย่อยที่ 2.5 บม่ เพาะนักศึกษาผ้ปู ระกอบการใหมโ่ ดยใช้ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจเปน็ ฐาน (UBI)

การดาเนินงานในไตรมาส 1 คณะดาเนนิ งานไดค้ ัดเลือกผูป้ ระกอบการนักศกึ ษาทส่ี นใจเข้าร่วมโครงการ และมีศักยภาพและ
สอดคล้องกบั บริบทพนื้ ท่ีชายแดนใต้ ซึง่ มีธรุ กจิ ท่ีสนใจได้แก่ การเลีย้ งไกเ่ บตง การเล้ยี งผึ้งชันโรง และการเพาะเห็ด อีกท้ังยังดาเนิน
กิจกรรมวิเคราะห์สภาพทางธุรกิจ ซ่ึงการการวิเคราะห์ปัจจัยภายใน ภายนอก วิเคราะห์ด้าน MC-STEPS และการวิเคราะห์
การตลาดให้แกน่ กั ศึกษาท่ีเขา้ รว่ มโครงการ

การดาเนินงานไตรมาส 2 ไดด้ าเนนิ งานดงั รายละเอียด ดงั นี้
คณะดาเนินงานสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในการประกอบธุรกิจให้แก่นักศึกษา และจัดอบรม

การตลาดออนไลน์และแผนการตลาดให้นักศึกษาท่ีท่ีผ่านการคัดเลือกในโครงการบ่มเพาะนักศึกษาผู้ประกอบการใหม่โดยใช้
ศูนยบ์ ่มเพาะวิสาหกจิ เปน็ ฐาน ภายใต้โครงการยุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฎเพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น ปีงบประมาณ
2563 จานวน 9 ราย โดยแบ่งเป็น 3 ธุรกิจ ได้แก่ ธุรกิจการ
เล้ียงไก่เบตง ธุรกิจการเล้ียงผ้ึงชันโรง และธุรกิจการเพาะ
เห็ด ณ ห้องสานักงานศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ ช้ัน 1 อาคาร
ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล (อาคาร 3 ) มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ยะลา ในวันศุกร์ท่ี 13 มีนาคม 2563 โดยมี อาจารย์มูฮัม
หมัด ปุ ประธานหลักสูตรสาขาวิชาการจัดการธุรกิจดิจิทัล
และนวัตกรรม คณะวิทยาการจัดการ เปน็ วิทยากร

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถ่นิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

กิจกรรมย่อยท่ี 2.6 พฒั นาต้นแบบการปลกู กุยช่ายและส่งเสรมิ การปลูกกยุ ชา่ ยเบตง สนับสนนุ
การพฒั นาอาหารอตั ลกั ษณ์และการสร้างอาชีพ

การดาเนินงานในไตรมาส 1 คณะดาเนนิ งานลงพื้นท่ีอาเภอเบตง ซึ่งเป็นพ้ืนท่ีเป้าหมายในการดาเนินกิจกรรม ประชุมสร้าง
ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั วัตถปุ ระสงคข์ องกจิ กรรม โดยมีผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมเขา้ ร่วมประชมุ จานวน 4 ราย พร้อมท้ังประสานสนับสนุนปุ๋ย
อินทรีย์เพื่อการเพาะปลูกกุยช่าย นอกจากน้ียังดาเนินการจัดซ้ือชุดตรวจสอบความเป็นกรดเป็นด่าง ไนไตรเจน ฟอสฟอรัส และ
โพแทสเซยี มในดิน

การดาเนินงานไตรมาส 2 ไดด้ าเนนิ งานดังรายละเอยี ด ดังน้ี
1. วันที่ 21-22 มกราคม 2563 คณะดาเนินงาน ลงพ้ืนท่ีอบรมและแลกเปล่ียนเรียนรู้การตรวจสอบความอุดมสมบูรณ์

ของดิน และการจัดการดินปุ๋ยเพ่ือปลูกกุยช่าย อีกทั้งยังลงพ้ืนที่เย่ียมแปลงปลูกกุยช่ายของผู้เข้าร่วมโครงการ และ เย่ียมเยียน
ฟาร์มตวั อยา่ งของอาเภอเบตง

2. การพัฒนาต้นแบบการปลูกกุยช่ายเบตง เริ่มดาเนินการต้ังแต่เดือนพฤศจิกายน 2562-กุมภาพันธ์ 2563

ณ อาเภอเบตง และศนู ย์การเรียนรู้แม่ลาน มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาเป็นต้นแบบการปลูกกุยช่ายเบ
ตง และเป็นแหลง่ เรยี นรใู้ หก้ ับนกั ศกึ ษา และผอู้ ื่นทสี่ นใจ มีผลการดาเนินงาน ณ ปัจจุบนั ดังน้ี

การดาเนินการปลูกและดูแลรักษาแปลงปลูกกุยช่าย ประกอบด้วยแปลงปลูกกุยช่ายพันธ์ุเบตงจานวน 2 แปลง
และกุยช่ายพันธ์ุท่ขี ายในท้องตลาดทัว่ ไป 1 แปลง ดังน้ี

แปลงที่ 1 ปลูกกุยช่ายพันธุ์เบตง วันท่ี 28 สิงหาคม 2562 จานวนกอท่ีเหลืออยู่ในแปลง 44 กอ ทาการตัดใบแล้ว 5 ครั้ง
ดังน้ี

ครงั้ ท่ีตดั 1 1 3 45
พ.ย.62 ธ.ค.62 ม.ค.63 4 ก.พ. 63 27 ก.พ. 63

นา้ หนัก (กรมั ) ตัดให้แตกกอ 700 1,100 3,400 4,500

แปลงท่ี 2 ปลูกกุยช่ายพันธุ์เบตง วันท่ี 19 ธันวาคม ขนาดแปลง 1.2x9 เมตร ปริมาณต้นพันธุ์ 3 กิโลกรัม (นน.ยังไม่ตัด
แต่ง) ยังไมใ่ หผ้ ลผลติ

แปลที่ 3 ปลกู กุยช่ายพนั ธุ์เกษตร ปลกู เดือนมกราคม 2563 ใบแขง็ ขนาดแปลง 12. X 9 เมตร

ศนู ย์ส่งเสริมและพัฒนาทอ้ งถน่ิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

แปลงต้นแบบของเกษตรกรที่เข้าร่วมกิจกรรมในอาเภอเบตง ของนางสุภา ปลอ่ งบรรจง พน้ื ท่ี ต.ยะรม
เป็นแปลงหลักผลิตต้นพันธ์ุกระจายให้กลุ่มสมาชิก ได้ประสบปัญหาโรคราน้าค้างระบาด เกษตรกรตัดใบท้ิง และรื้อ

แปลงปลูกใหม่ และได้ขยายพืน้ ท่ปี ลกู ตามปริมาณตน้ พนั ธทุ์ สี่ ามารถขยายได้

เป็นแปลงหลักผลิตต้นพันธุ์กระจายให้กลุ่ม
สมาชิก ได้ประสบปัญหาโรคราน้าค้างระบาด เกษตรกรตัด
ใบทิ้ง และรื้อแปลงปลูกใหม่ และได้ขยายพ้ืนที่ปลูกตาม
ปริมาณตน้ พันธุ์ท่ีสามารถขยายได้

3.วนั ท่ี 19-20 กุมภาพันธ์ 2563 คณะดาเนนิ งานลงพนื้ ทตี่ ดิ ตามผลการปลูกกุยชา่ ยของกลุ่มเกษตรกร และจัดอบรมให้
ความรูด้ า้ นการจดั การดินและปยุ๋ ในการปลกู กุยช่าย ณ พืน้ ที่อาเภอเบตง จงั หวดั ยะลา ซง่ึ ผลการติดตามการปลกู กยุ ช่าย ดังน้ี

1) นางสุภา ปลอ่ งบรรจง บ้านเลขที่ 1 หมู่ 4 ต.ยะรม เบอร์โทรศัพท์ 0622064571 มีแปลงปลูกขนาด 1x5 เมตร
จานวน 5 แปลง

- ขนาด 1x8 เมตร จานวน 7 แปลง
- ขนาด 1x10 เมตร จานวน 4 แปลง
- ขนาด 1x17 เมตร จานวน 3 แปลง
ผลผลติ 30 กโิ ลกรัม
2) นางมาลัย คุ้มวา บ้านเลขที่ 436/7 ถ.สุขยางค์ ต.เบตง อ.เบตง เบอร์โทรศัพท์ 0936629975 พื้นที่ปลูกเป้าหมาย
ประมาณ 1 ไร่
- แปลง ปลูกขนาดแปลง 1.2 X 5 เมตร จานวน 9 แปลง
ผลผลติ 600 กรมั
3) นางสาวรุง่ นภา สมปรดี า บ้านเลขที่ 113/7 หมทู่ ี่ 4 ต.ธารนา้ ทิพย์ เบอรโ์ ทรศพั ท์ 0937613551

ไมม่ ีขอ้ มูล
4) นางอามุ้ย ฟุ้งนาเจริญทรัพย์ บ้านเลขที่ 132 หมู่ท่ี 4 ต.ตาเนาะแมเราะ เบอร์โทรศัพท์ 0864913789 แปลงปลูก
ขนาด 1 X 8 เมตร จานวน 11 แปลง

- ผลผลิต 15 กิโลกรมั
นอกจากนี้คณะดาเนินงานยังจดั อบรมให้ความรูด้ ้านการจดั การดนิ และป๋ยุ ในการปลูกกยุ ชา่ ย เนื้อหาประกอบด้วย

1) ปัญหาโรคราสนมิ ในกยุ ช่ายและการป้องกนั กาจัด
2) การเพิ่มมลุ คา่ กุยชา่ ยโดยทากุยชา่ ยขาว
3) การเก็บตัวอยา่ งดนิ และการตรวจสอบความอดุ มสมบรู ณข์ องดิน
3) การทาปยุ๋ หมักนา้ และการใช้กับการปลูกกยุ ช่าย
4) การทาแบคทีเรียสงั เคราะหแ์ สงและการใชส้ าหรับปลกู กยุ ช่าย
คณะดาเนินงานได้ดาเนินการมอบวัสดุอุปกรณ์ประกอบด้วยชุดตรวจสอบธาตุอหารในดิน ถังทาปุ๋ยหมักน้า
กากน้าตาล และหัวเชื้อจุลินทรีย์ และหัวเชื้อแบคทีเรียสังเคราะห์แสงให้กับ คุณยายสุภา ปล่องบรรจง ซึ่งเป็นพื้นที่ต้นแบบการ
ปลูก สาหรับพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นต่อไป ส่วนเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้มอบกากน้าตาล และหัวเช้ือแบคทีเรีย
สังเคราะหแ์ สงเพื่อนาไปทาเองทบี่ า้ น

ศนู ยส์ ่งเสริมและพัฒนาทอ้ งถ่นิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

4.การดาเนนิ งานเดือนมีนาคม 2563 คณะดาเนินงานลงพ้นื ทีต่ ิดตามผลการปลูกกุยช่ายของกลุ่มเกษตรกร และขยายพ้ืนท่ี
เป้าหมาย เพือ่ ส่งเสรมิ ให้เกษตรกรหรอื ผู้ที่สนใจได้พัฒนาและปลกู กุยชา่ ย ซ่ึงมีกล่มุ ที่สนใจ ไดแ้ ก่

1) กลุ่มส่งเสริมอาชีพ (คุณวิทยา ตาพ่วง) ตาบลยะรม
อาเภอเบตง จงั หวัดยะลา

2) ฟารม์ ตวั อย่างอาเภอเบตง
นอกจากน้ีคณะดาเนินงานยังได้มอบมูลไก่ให้กลุ่มท่ี
เข้ารว่ มกิจกรรม จานวน 100 กระสอบ ให้แก่

1) คณุ วิทยา ตาพ่วง
2) คณุ ปา้ สุภา ปลอ่ งบรรจง

หมายเหตุ: มูลไก่ที่ซ้ือท้ังหมดฝากไว้ท่ีฟาร์ม
และทยอยแจกจ่ายให้แก่เกษตรกรเน่ืองจากเกษตรกรไม่มี
โรงเก็บ และแจกจ่ายตามขนาดพ้นื ท่ปี ลูก

3) มอบต้นพันธ์ุกุยช่ายให้กับโครงการฟาร์ม
ตัวอย่างเบตง เพอ่ื ทดลองปลูก จานวน 5 กก.

4) คุณป้าสุภา ปล่องบรรจง ขยายผลจากการรับ
การอบรมความรู้เรื่องการจัดการดินปุ๋ย ได้ผลิตปุ๋ยหมักใช้
เองเพิ่มขน้ึ มแี นวคดิ ผลติ จาหนา่ ย

3โครงการพัฒนาคุณภาพชวี ิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชมุ ชนฐานราก

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก เร่ิมดาเนินโครงการต้ังแต่ปี 2562
โดยการประสานงานกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายต่างๆ อาทิ องค์การบริหารส่วนตาบล สานักงานพัฒนาชุมชน และหน่วยงาน
อ่ืนๆ เพื่อบูรณาการการทางานร่วมกัน มีการทา MOU กับสานักงานที่ว่าการอาเภอในพ้ืนท่ีเป้าหมาย 7 อาเภอ ได้แก่ อาเภอ
กรงปินัง อาเภอธารโต อาเภอเบตง อาเภอศรีสาคร อาเภอแม่ลาน และอาเภอหนองจิก มีครัวเรือนท่ีตกเกณฑ์ จปฐ.ประจาปี
2561 เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 300 ครัวเรือน โดยแบ่งเป็นจังหวัดละ 100 ครัวเรือน ในพื้นท่ีจังหวัดยะลา จังหวัดปัตตานี และ
จงั หวัดนราธวิ าส ซ่งึ มกี ิจกรรมการส่งเสรมิ ทกั ษะการประกอบอาชีพ ประกอบด้วย

- การเลย้ี งผึง้ ชันโรงเพื่อสร้างอาชพี - การเล้ียงไกเ่ บตงเพ่ือสรา้ งอาชพี - พฒั นาอาชีพการเพาะเห็ด
- การทาของทรี่ ะลกึ เพอ่ื สรา้ งอาชีพ - การแปรรปู ผลติ ภัณฑจ์ ากมะพร้าว - การนวดแพทยแ์ ผนไทยเพอื่ สรา้ งอาชพี
- อบรมเชิงปฏบิ ัติการผลิตเบเกอรรแ่ี ละขนมไทย
ปี 2563 โครงการได้ดาเนินงานอย่างต่อเน่ือง โดยมีครัวเรือนที่ตกเกณฑ์ จปฐ.ประจาปี 2561 และครัวเรือนที่ตกเกณฑ์
จปฐ.ประจาปี 2562 เขา้ รว่ มกิจกรรม 572 ครัวเรือน ในพื้นที่ 3 จงั หวัด 10 อาเภอ ได้แก่
1) จังหวัดนราธิวาส ได้แก่ อาเภอระแงะ อาเภอศรีสาคร อาเภอสุคริ นิ และอาเภอสุไหงปาดี
2) จังหวัดยะลา ได้แก่ อาเภอเบตง อาเภอกรงปนิ ัง อาเภอธารโต และอาเภอเมืองยะลา
3) จงั หวัดปตั ตานี ได้แก่ อาเภอหนองจกิ อาเภอโคกโพธิ์ และอาเภอแมล่ าน
ซงึ่ มีกจิ กรรมการสง่ เสรมิ ทกั ษะการประกอบอาชพี ประกอบด้วย
- การเลี้ยงผ้งึ ชันโรงเพือ่ สร้างอาชีพ - การเลี้ยงไกเ่ บตงเพอื่ สร้างอาชพี - พฒั นาอาชพี การเพาะเหด็
- การทาของท่ีระลึกเพื่อสรา้ งอาชพี ได้แก่ การทาว่าวบุหลนั การทาผา้ มดั ย้อม การทากลองบานอ ตดั เยบ็

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทอ้ งถน่ิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

การดาเนนิ งานในไตรมาส 2 ไดด้ าเนนิ การแยกตามรายกจิ กรรมดงั นี้
กิจกรรมยอ่ ยท่ี 3.1 การแปรรปู ผลิตภัณฑ์ผา้ มดั ย้อมสีธรรมชาติ

1.วันท่ี 7-8 มกราคม 2563 คณะดาเนินงานลงพ้ืนท่ี
ณ อาเภอสุคิริน และอาเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส เพื่อ
พบปะพัฒนากรท้ัง 2 อาเภอ โดยช้ีแจงรายละเอียด
โครงการฯ ซ่ึงกิจกรรมนี้มีรายช่ือครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ.
ประจาปี 2562 สนใจเข้าร่วมกิจกรรมจานวน 10 ครัวเรือน
และมีครัวเรือนเดิมท่ีพัฒนาต่อยอดจากปีท่ีแล้ว จานวน 10
ครัวเรือน รวมท้ังสิ้น 20 ครัวเรือน ที่จะเข้าร่วมอบรมการ
แปรรูปผลิตภณั ฑ์ผ้ามดั ย้อมสีธรรมชาติ

2.การดาเนินงานเดือนกุมภาพันธ์ คณะดาเนินงานได้
ดาเนินการเตรียมวสั ดุอุปกรณ์ และเอกสารประกอบการฝึกอบรม
โดยมีกาหนดการฝึกอบรมในช่วงต้นเดือนเมษายน 2563
นอกจากน้ีคณะดาเนินงานยังลงพื้นที่สารวจความพร้อมของ
สถานทท่ี ี่จะดาเนินการฝกึ อบรม ณ ทวี่ า่ การอาเภอสุคิริน จังหวัด
นราธวิ าส

กิจกรรมยอ่ ยท่ี 3.2 การอบรมอาชีพตดั เย็บ

1.วันท่ี 16 มกราคม 2563 คณะดาเนินงาน
ดาเนินการจดั ซ้ือวสั ดอุ ปุ กรณ์ 12 รายการ เพื่อเตรียมความพร้อม
สาหรับการจัดอบรม ซึ่งมครัวเรือนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม
5 ครัวเรอื น

2.วันท่ี 17 กุมภาพันธ์ 2563 คณะดาเนินงานจัดซ้ือ
วัสดุเพื่อใช้ในการฝึกอบรม โดยทางผู้รับผิดชอบกาหนดวันอบรม
วันท่ี 21-22 และ 28-29 มนี าคม 2563 ณ อาคารเรยี นศิลปกรรม
10A นอกจากน้ีดาเนินการเอกสารประสานครัวเรือนท่ีเข้าร่วม
กิจกรรม การแต่งต้ังวิทยากร และเตรียมเอกสารในการฝึกอบรม
อาชพี ตดั เยบ็

3. วันท่ี 21-22 และ 28-29 มีนาคม 2563
คณะดาเนินงานจัดอบรมอาชีพตัดเย็บ โดยมีอาจารย์
พอหทัย ซนุ่ สนั้ เป็นวทิ ยากร มีครวั เรือนตกเกณฑ์ จปฐ. เข้า
ร่วมโครงการท้ังหมด 12 ครัวเรือน แบ่งเป็นครัวเรือนใหม่
จานวน 10 ครัวเรือน และครัวเรือนเดิม 2 ครัวเรือน โดย
แบ่งเป็นจังหวัดยะลา 8 ครัวเรือน จังหวัดปัตตานี 2
ครัวเรอื น และจงั หวัดนราธวิ าส 2 ครัวเรือน

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทอ้ งถ่นิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

กิจกรรมยอ่ ยท่ี 3.3 การแปรรปู ผลิตภณั ฑ์กลองบานอและว่าวบหุ ลนั จาลอง
1.วันที่ 7-8 มกราคม 2563 คณะดาเนินงานลงพื้นที่

ณ อาเภอสุคิริน และอาเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส เพ่ือ
พบปะพัฒนากรท้ัง 2 อาเภอ โดยช้ีแจงรายละเอียด
โครงการฯ ซึ่งกิจกรรมน้ีมีรายชื่อครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ.
ประจาปี 2562 สนใจเข้าร่วมกิจกรรมจานวน 7 ครัวเรือน
และมีครัวเรือนเดิมท่ีพัฒนาต่อยอดจากปีท่ีแล้ว จานวน 3
ครัวเรือน รวมท้ังสิ้น 10 ครัวเรือน ที่จะเข้าร่วมอบรมการ
แปรรูปผลิตภัณฑก์ ลองบานอและวา่ วบุหลนั

2.วันท่ี 19 มกราคม 2563 คณะดาเนินงายลงพ้ืนท่ี
ติ ด ต า ม ค ว า ม คื บ ห น้ า ก า ร ท า ก ล อ ง บ า น อ ท่ี สั่ ง ท า จ า ก
ครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. เพื่อเป็นของทีระลึกให้ท่าน
องคมนตรี และคณะทีมงาน ในการลงมาตรวจเย่ียม
ความกา้ วหน้าของการดาเนนิ โครงการ ประจาปี 2563

3.วันที่ 16 มกราคม 2563 คณะดาเนินงานดาเนินการจัดซ้ือวัสดุอุปกรณ์ 12 รายการ เพื่อเตรียมความพร้อมสาหรับ
การจดั อบรม ซ่ึงมครวั เรือนทส่ี นใจเขา้ รว่ มกิจกรรม 5 ครัวเรือน

2.วันท่ี 17 กุมภาพันธ์ 2563 คณะดาเนินงานจัดซ้ือวัสดุเพ่ือใช้ในการฝึกอบรม โดยทางผู้รับผิดชอบกาหนดวันอบรม
วันท่ี 21-22 และ 28-29 มีนาคม 2563 ณ อาคารเรียนศิลปกรรม 10A นอกจากน้ีดาเนินการเอกสารประสานครัวเรือนท่ีเข้าร่วม
กิจกรรม การแต่งตัง้ วทิ ยากร และเตรยี มเอกสารในการฝกึ อบรมอาชพี ตัดเยบ็

ศูนยส์ ง่ เสริมและพฒั นาทอ้ งถน่ิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

กิจกรรมย่อยท่ี 3.4 การเลี้ยงไกเ่ บตงเพือ่ สรา้ งอาชีพ
1.ลงพื้นที่ดาเนินกิจกรรมและติดตามการดาเนินงานการฝึกเลี้ยงไก่เบตงของครัวเรือนท่ีได้รับในปี 2562 ในพื้นท่ี อาเภอ

เบตง จังหวัดยะลา อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี และอาเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส ซ่ึงติดตามถึงพัฒนาการเจริญเติบโตของ
ไก่เบตง รวมถึงติดต่อพ่อค้าคนกลางให้มารับซ้ือไก่เบตง สาหรับไก่เบตงท่ีพร้อมสาหรับการขาย อีกทั้งยังรับฟังปัญหาและ
ข้อเสนอแนะของชาวบ้าน โดยทางอาจารย์ผู้รับผิดชอบกิจกรรมและเจ้าหน้าที่ประสานงานโครงการได้มีแผนลงพ้ืนที่ติดตามทุก
เดอื น

2.ลงพื้นที่ดาเนินแจก ไก่เบตงเพ่ือฝึกชาว บ้านให้เลี้ยง ไก่เบ ตง ประจาปี 2563 จานว นครัว เรือนละ 5
ตัว ทง้ั หมดจานวน 24 ครวั เรือน ณ อาเภอเบตง จงั หวัดยะลา

3.ลงพ้ืนที่เทศบาลตาบลมะรือโบตก อาเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส เพื่อปรึกษาหารือถึงการดาเนินงานกิจกรรมประจาปี
2563 รว่ มกบั นายกเทศมนตรีเทศบาลตาบลมะรอื โบตก เจ้าหนา้ ที่ท่ีเกี่ยวขอ้ ง และชาวบา้ นทเ่ี ขา้ รว่ มกจิ กรรม อีกทั้งยังรับฟังปัญหา
และข้อเสนอแนะสาหรบั กิจกรรมเลย้ี งไก่ ประจาปี 2562 ทผ่ี ่านมา

กิจกรรมย่อยท่ี 3.5 การเลี้ยงผึง้ ชันโรงมาตรฐานเพื่อสร้างอาชีพ
ลงพื้นที่ติดตามและแจกรังผ้ึงชันโรงในพ้ืนท่ีอาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี และอาเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ซ่ึงมี

รายละเอียดการดาเนนิ งานดังน้ี
- จากการดาเนินงานและแจกรังผึ้งชันโรงในท้องถิ่นของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามรายช่ือตกเกณฑ์ของ จปฐ

แบง่ พ้ืนท่ีเป็น 3 กลุ่ม คือ
1.กลมุ่ จงั หวัดยะลา ไดแ้ ก่ อาเภอกรงปินงั จานวนครัวเรือนที่ผ่านเกณฑ์ 28 ครวั เรอื น
2. กลุ่มจังหวัดปัตตานี ไดแ้ ก่ อาเภอหนองจิก จานวนครวั เรือนทผี่ า่ นเกณฑ์ 72 ครัวเรอื น
3. กลุ่มจังหวดั นราธวิ าส ได้แก่ อาเภอระแงะ 1 ครัวเรอื น

ซึ่งจากการติดตามการเลี้ยงผึ้งชันโรงในพื้นที่อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จานวน 72 ครัวเรือน ปรากฏว่าครัวเรือน
ท่ีสามารถติดตามได้ท้ังหมด 58 ครัวเรือนเนื่องจากครัวเรือนไม่ได้อาศัยในพ้ืนที่และขาดการติดต่อ อีก 3 ครัวเรือน ไม่ประสงค์รับ
เลีย้ ง คือ ตาบลท่ากาชา อาเภอหนองจกิ จังหวดั ปตั ตานี จานวน 3 ครัวเรอื น

ศูนย์สง่ เสริมและพฒั นาทอ้ งถ่นิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

ผลการติดตามอาเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ได้แจกรังผ้ึงชันโรงไปแล้ว 50% เน่ืองจากช่วงเวลาดังกล่าวเกิดฝนตกหนัก
ทาใหร้ ังผึง้ ขน้ึ เชื้อรา จงึ ไม่สามารถแจกรังได้ครบถ้วนได้

ติดตามและแจกรังผง้ึ ชันโรงอาเภอหนองจิก

ติดตามและแจกรังผง้ึ ชนั โรงอาเภอกรงปินงั

กิจกรรมย่อยที่ 3.6 การพฒั นาต่อยอดการผลิตเหด็ แบบรวมกล่มุ แบบเข้าสูก่ ารแปรรูปเพือ่ เพม่ิ มลู ค่า
1.ลงพื้นที่ปรึกษาหารือกับกลุ่มเพาะเห็ด ณ เทศบาลตาบลมะรือโบตก อาเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส เพ่ือรวม

ปรกึ ษาหารอื ถึงผลการดาเนินการที่ผ่านมาถึงปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการแก้ไข ซ่ึงจากการพูดคุยและร่วมหารือ ทาง
กลุ่มผู้เพาะเห็ดมีปญั หาเรอื่ งนา้ ที่ใชใ้ นการรดเหด็ ปัญหาเร่ืองแมลงรบกวน ขโมย การแก้ปัญหาเบ้ืองต้นคือการเฝ้าระวัง และมีการ
วางแผนการดาเนินการในรอบปีถัดไปในรูปแบบการรวมกลุ่มเชิงสหกรณ์ โดยตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ให้มีการดาเนินการแบบกลุ่ม
มีการจัดต้ังกลุ่มหัวหน้า กรรมการ เหรัญญิก เพ่ือให้การดาเนินการของโครงการเป็นไปได้ง่าย เนื่องจากชาวบ้านไม่สามารถ
ดาเนนิ การกจิ กรรมในแตล่ ะครวั เรอื นได้เพราะมอี ุปสรรคของพ้ืนท่ี และน้า

2. ลงพ้ืนท่ีสารวจพื้นท่ีสาหรับการจัดต้ังศูนย์ของกลุ่มการเพาะเห็ดเทศบาลตาบลมะรือโบตก อาเภอระแงะ จังหวัด
นราธิวาส เพื่อตรวจสอบพืน้ ท่ีสาหรับการตง้ั ศูนยก์ ารดาเนินการสาหรบั ให้กลุ่มเพาะเห็ดได้ มีพ้ืนท่ีสาหรับการรวมกันเพาะเห็ด โดย
ทางานรวมกนั เป็นกลุ่มสมาชกิ ซ่ึงพ้ืนท่ีดังกล่าวเป็นพื้นท่ีของกลุ่มสมาชิกที่สามารถจัดตั้งศูนย์ได้ เป้าหมายของกลุ่ม คือ การจัดทา
กอ้ นเห็ดนางฟ้า สาหรบั แจกจ่ายใหก้ ลมุ่ สมาชิกในโครงการ และมกี ารจาหน่ายกอ้ นเห็ดจากกลุ่มให้กบั กล่มุ ผู้สนใจเพาะเห็ด

ศูนยส์ ่งเสริมและพฒั นาท้องถ่นิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ป1ี 22563

กิจกรรมย่อยท่ี 3.7 พฒั นาพืชเศรษฐกิจตวั รอง (อัตลกั ษณ์พน้ื ถ่นิ
กจิ กรรมพฒั นาพชื เศรษฐกิจตัวรอง (อตั ลกั ษณพ์ ้ืนถน่ิ ) มกี ิจกรรมยอ่ ยอยู่ 3 กจิ กรรม ได้แก่
1) ผลติ ผักปลอดสารเคมีเพอ่ื สขุ ภาพดีของชาวยะลา
2) การพัฒนาแปลงและขยายพันธกุ์ ลว้ ยหินปลอดเช้ือโรคในกล้วยหนิ
3) พฒั นาฐานการเรยี นรู้ตน้ แบบการผลติ ไผ่ พืชเศรษฐกจิ ตวั ใหม่
โดยมพี นื้ ทด่ี าเนนิ กจิ กรรม ณ ศนู ยก์ ารเรยี นรู้แมล่ าน มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา
1) ผลติ ผกั ปลอดสารเคมีเพอ่ื สุขภาพดขี องชาวยะลา
การดาเนนิ งานในไตรมาสที่ 1 ไดด้ าเนนิ การเตรยี มพืน้ ท่ปี ลูกสาหรบั การปลูกพืชหมุนเวียน โดยการไถเตรียมดิน 8 ร่อง

เน้ือที่ประมาณ 2 ไร่ เตรียมพ้ืนท่ีปลูกพืชสมุนไพรยืนต้น โดยการตัดวัชพืชในร่องจานวน 12 ร่อง เนื้อที่ประมาณ 2 ไร่ สามารถ
จัดซ้อื แปลงปลูกผกั ยกพืน้ ขนาด 3*1.5*0.65 เมตร จานวน 16 แปลง

2) การพฒั นาแปลงและขยายพนั ธ์กุ ลว้ ยหนิ ปลอดเชื้อโรคในกล้วยหิน
ผลการดาเนินการ ในไตรมาสที่ 1 ได้ดาเนินการเบิกจ่ายค่าวัสดุ ในส่วนของการลงพ้ืนท่ีเพ่ือเตรียมแปลงกล้วยหิน

อยใู่ นขน้ั ตอนการลงตน้ อ่อนกล้วยหิน และประสานงานคนงานในการปรบั พ้นื ท่แี ปลง

3) พฒั นาฐานการเรยี นรูต้ ้นแบบการผลติ ไผ่ พืชเศรษฐกจิ ตัวใหม่
ดาเนินการล้มต้นยาง ขุดตอยาง และ ไถ 3 จาน เพื่อปรับพ้ืนที่ จานวน 5 ไร่ จากน้ันได้ขุดตอยางและเก็บกวาด

เศษก่ิงไม้เสร็จเรียบ หลังจากนั้นทาการไถคร้ังที่ 1 เป็นการไถ 3 จาน เพ่ือพลิกหน้าดิน และตากดินไว้ประมาณ 7 วัน จึงสามารถ
ดาเนินการขั้นตอนต่อไป นอกจากน้ีได้ดาเนินการปรับแต่งภูมิทัศน์ด้วยการขุดลอกคูระบายน้า และต้นไม้บริเวณรอบ เพ่ือปลูกไผ่
ตามแนวถนนต่อไป

ศูนย์สง่ เสริมและพัฒนาทอ้ งถ่นิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษา 4

โครงการยกระดับคณุ ภาพการศึกษา หรอื โครงการยกระดับคุณภาพการเรยี นรู้ด้านการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์

ของนกั เรยี นในระดบั การศึกษาขน้ึ พื้นฐานในพนื้ ที่ชายแดนใต้ ในปีงบประมาณ 2562 และโครงการได้ดาเนินการอย่างต่อเนื่อง ในปี
2563 มกี จิ กรรมหลัก 6 กจิ กรรม ไดแ้ ก่ 1) การติดตามผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนด้านการอ่าน การเขียนและการคิดวิเคราะห์ของแต่ละ
โรงเรียน 2) การพัฒนาส่ือประกอบการสอนใช้นวัตกรรมแบบเริ่มเรียนภาษาไทย (มูลาบาฮาซา) เพ่ือยกระดับของผู้เรียนด้านการ
อ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ ที่เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน 3) พัฒนาศักยภาพครูในการใช้ส่ือประกอบการใช้
นวัตกรรมแบบเร่ิมเรียนภาษาไทย 4) การประเมินคุณภาพของนักเรียนที่ใช้นวัตกรรม 5) การประยุกต์ใช้บัตรคาและโปรแกรม
ส่ือสารผา่ นภาษาภาพ และ 6) การอบรมปฏิบัติการหลักสูตร “ครูของครูชายแดนใต้” โดยจัดอบรมปฏิบัติการให้กับอาจารย์ สาย
ครุศาสตร์ และครูศษิ ยเ์ กา่ โครงการครคู นื ถ่นิ

ซ่ึงในไตรมาส 1 ทีผ่ ่านมา มีการดาเนินงานลงพืน้ ที่จัดเก็บข้อมลู การใชบ้ ตั รคาและโปรแกรมสื่อสารผา่ นภาษาภาพของหนังสือ
แบบเรม่ิ เรียน ภาษาไทย มลู าบาฮาซา ป.1 - ป.6 ณ โรงเรียนต้นแบบท้ัง 3 จังหวดั ประกอบด้วย โรงเรียนชุมชนบ้านซากอ อาเภอ
ศรสี าคร จังหวัดนราธิวาส โรงเรียนบ้านเยาะ อาเภอธารโต จังหวัดยะลา และโรงเรียนบ้านน้าดา อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
และกิจกรรมอบรมพัฒนาส่ือประกอบการสอนในการใช้นวัตกรรมแบบเร่ิมเรียนภาษาไทยมูลาฮาซา ป .1 - ป.6 ครั้งที่ 1 และ
คร้งั ที่ 2 โดยใหค้ รูที่เขา้ รว่ มอบรมร่วมสรา้ งส่ือประกอบการใชน้ วตั กรรมแบบเริ่มเรียนภาษาไทย มูลาบาฮาซา ป.1-ป.6 เพ่ือเป็นสื่อ
นวัตกรรม หนงั สอื เรยี น มลู าบาฮาซา ณ หอ้ งประชมุ นา้ พราว 2 โรงแรมซีเอส ปตั ตานี จังหวดั ปตั ตานี

โดยการดาเนินงานในไตรมาส 2 มีดงั น้ี

1) อบรมปฏิบัติการครูของครูชายแดนใต้ ได้รับเกียรติ
จาก ดร.สุพจน์ ศรีนุตพงษ์ ตัวแทนจากบริษัทไมโครซอฟท์
(ประเทศไทย) จากดั เป็นวิทยากรใหค้ วามรเู้ ร่ืองการจัดการข้อมูล
การออกแบบส่ือนวัตกรรมและการจัดการเรียนการสอนในยุค
ใหม่ของศตวรรษที่ 21 โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมคร้ังน้ี
ประกอบด้วย มีบุคลากรทางการศึกษาสายครุศาสตร์ จานวน
61 ท่าน ศิษย์เก่าโครงการครูคืนถิ่น จานวน 19 ท่าน และ
เจ้าหน้าท่ี จานวน 25 ท่าน กิจกรรมจัดขึ้น ณ โรงแรมหาดแก้ว
รสี อร์ท อาเภอสิงหนคร จงั หวัดสงขลา

ศูนยส์ ่งเสริมและพฒั นาท้องถน่ิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

2) บุคลากรครูจากโรงเรียนเป้าหมายร่วมงานมหกรรม "มูลาบาฮาซาสู่สถานศึกษา
ต้นแบบพื้นท่ีชายแดนใต้ กิจกรรมส่ือนวัตกรรม การอ่าน การเขียนและการคิดวิเคราะห์ "
ประกอบการใช้นวัตกรรมแบบเร่ิมเรียนภาษาไทย มูลาบาฮาซา ป.1 - ป.6 เพ่ือคัดเลือก
สถานศึกษาต้นแบบกับการใช้นานวัตกรรม โดยมีการแบ่งกลุ่มตามแต่ละจังหวัดเพ่ือคัดเลือก
ตัวแทนของแต่ละจังหวัดให้เป็นสถานศึกษาต้นแบบในการใช้นวัตกรรม มีการเปิดเวทีเสวนา
แลกเปลี่ยนถามตอบปัญหาภาษาไทยให้คุณครูที่เข้าร่วมกิจกรรม มีโอกาสสอบถามปัญหา
ภาษาไทยจากท่าน ที่มากประสบการณ์ในแต่ละด้าน พร้อมทั้งเปิดเวทีพูดคุยแลกเปลี่ยนปัญหา
การศึกษาของภาษาไทย ช้ีแนะวิธีการแก้ปัญหา การอ่านออกเขียนได้ ของนักเรียนสามจังหวัด
ชายแดนใต้ต่อไปในอนาคต กิจกรรมจัดข้ึน ณ โรงแรมณันนะตีย์ หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
มีผู้เขา้ รว่ ม จานวน 170 คน จาก 60 โรงเรยี น

3) วันท่ี 21 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ห้องประชุมกลาดี
ช้ัน 2 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 กิจกรรมวิเคราะห์และวิพากษ์
นวัตกรรมแบบเร่ิมเรียนภาษาไทย มูลาบาฮาซา ป.1 - ป.6
เพ่ือนาไปต่อยอดพัฒนานวัตกรรมในอนาคต ได้รับเกียรติ
จากผู้ช่วยศาสตราจารย์ซอและ เกปัน ผู้อานวยการสถาบัน
พัฒนาครูฯ เป็นประธานประชุมวิพากษ์ฯ และมีผู้ทรงคุณวุฒิ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัชศรัณย์ จิตคงคา อาจารย์ศิรประภา เซ้ง
เถียร, อาจารย์จิราภรณ์ ก่อเกีตรติยากุล, อาจารย์ไซหนับ เอสเอ
และกรรมการประชุมวิพากษ์อาจารย์นูรีดา จะปะกียา และ
อาจารย์ปนัดดา เรืองสงค์ พร้อมเจ้าหน้าท่ีรับผิดชอบกิจกรรม
ยกระดับคุณภาพการศึกษา ภายใต้โครงการยุทธศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพ่อื การพฒั นาทอ้ งถน่ิ

ศูนยส์ ่งเสริมและพัฒนาทอ้ งถ่นิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

โครงการอบรมเพือ่ สร้างความรู้ทักษะด้านภาษาอังกฤษในแกน่ กั ศกึ ษาตาม

5A B C พระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั รชั กาลที่ 10

โครงการอบรมเพ่ือสร้างความรู้ทักษะด้านภาษาอังกฤษให้แก่นักศึกษาตามพระบรมรา โชบายของพระบาท
สมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั รัชกาลที่ 10 ในโครงการปีงบประมาณ 2562 และได้ดาเนินการอย่างต่อเนื่อง ในปี 2563 กลุ่มเป้าหมาย
สาหรับปี 2563 เปิดโอกาสให้นักศึกษาช้ันปีท่ี 1 – 4 ทุกสาขาวิชา ที่สนใจ สามารถสมัครเข้าร่วมอบรมได้ โดยการดาเนินงาน
ในไตรมาส 1 ท่ีผ่านมา ศูนย์ภาษาและอาเซียนศึกษาได้เปิดรับสมัครนักศึกษา เพ่ือเข้าร่วมอบรม “เสริมสร้างทักษะด้านภาษา
ตามมาตรฐาน CEFR” YRU - English Camp 2020 มนี กั ศกึ ษาสมัครเข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 565 คน แยกเปน็ ดังนี้

1) นักศกึ ษาชน้ั ปีที่ 4 หลกั สตู รทัว่ ไป และช้นั ปีที่ 5 หลักสตู รครุศาสตรบ์ ัณฑติ จานวน 115 คน
2) นักศึกษาช้นั ปที ี่ 1,2 และ 3 หลักสูตรทั่วไป และนักศึกษาช้นั ปที ่ี 4 หลักสูตรครศุ าสตร์ จานวน 410 คน

โดยการดาเนนิ งานในไตรมาส 2 มีดังน้ี

1) อบรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษตามผลการสอบ
การอบรมทักษะภาษาอังกฤษตามมาตรฐาน CEFR A1 ค่ายที่ 1 กลุ่มท่ี
1 จั ด อ บ ร ม วั น ที่ 2 5 - 2 6 ม ก ร า ค ม 2 5 6 3 มี นั ก ศึ ก ษ า
เข้าร่วมอบรมจานวน 409 คน และกลุ่มที่ 2 จัดอบรมวันท่ี 1 - 2
กุมภาพันธ์ 2563 มีนักศึกษาเข้าร่วมอบรมจานวน 402 คน
เพื่อสอบคัดเลือกเข้าสู่ค่ายท่ี 2 ซึ่งการจัดอบรมดังกล่าวมีวิทยากรที่ให้
ความรู้เก่ียวกับการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ 3 ท่าน คือ อาจารย์
อรรถวิทย์ บวั หงส์ อาจารยพ์ นิตตา อทุ ัยเภตรา และอาจารย์ ดร.อัฐพล
อัฐนาค อาจารย์จากสถาบันภาษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น กิจกรรม
จัดขน้ึ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา

2) ฝึกอบรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษตามผลการสอบ
การอบรมทักษะภาษาอังกฤษตามมาตรฐาน CEFR A1 ค่ายท่ี 2
จัดอบรมระหว่างวันท่ี 15 – 16 และ 22 - 23 กุมภาพันธ์ 2563
ณ ห้องประชุมหยาง ถาว (23-301) และห้องประชุมนังกา
(23-303) ช้ัน 3 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ยะลา มีนักศึกษาที่เข้าร่วมอบรมจานวน 340 คน เพื่อสอบ
คัดเลือกเข้าสู่ค่ายท่ี 3 โดยวิทยากรจากบริษัท สยามจุลละ
มณฑล จากดั เป็นผู้ใหค้ วามรู้ในการอบรมคร้ังน้ี

- ผลท่ีได้คือ ค่าเฉล่ียคะแนน Post-Pre อยู่ที่ 4.42%
คิดจากจานวนนักศึกษาท้ังสิ้น 64 คน ท่ีเข้าร่วมอบรมสอบ
Pre-test และ Post-test มีผลคะแนนหลังจากการอบรมสูงสุด
โดยเฉล่ีย 4.42% ซ่ึงเช่ือว่านักศึกษากลุ่มนี้ผ่านการอบรมในค่าย
ท่ี 3 จะมีทักษะด้านภาษาอังกฤษมาตรฐานและจะสามารถทา
คะแนนสอบ TOEFL ITP ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานของ TOEFL
ITP

ศูนย์สง่ เสริมและพฒั นาทอ้ งถน่ิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ป1ี 24563

3) ฝึกอบรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษตามผลการสอบ

การอบรมทักษะภาษาอังกฤษตามมาตรฐาน CEFR A1 ค่ายท่ี 3
จัดอบรมระหว่างวันที่ 6 - 7 มีนาคม 2563 ณ ห้องประชุม
หยาง ถาว (23 – 301) และห้องประชุมนังกา (23 – 303) ชั้น 3
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีนักศึกษา
เข้าร่วมอบรมจานวน 185 คน เพื่อเข้าสู่การสอบ TOEFL ITP
โดยมีวิทยากรจากบริษัท สยามจุลละมณฑล จากัด เป็นผู้ให้
ความรู้ในอบรมคร้ังน้ี

ผลท่ไี ด้คอื
1. ก่อนการอบรมมีการการสอบ Pre-test เพื่อวัด

ความรู้ของนักศึกษาท่ีเข้าอบรม โดยมีนักศึกษาเข้าสอบ
Pre-test จานวน 24 คน มคี ่าเฉล่ียร้อยละ 7

2. นักศึกษาจานวน 185 คน เข้ารับการทดสอบ
Post-test ภายหลังการเข้าอบรมในวันท่ี 7 มีนาคม 2563
ดงั น้ี Post-test มีคา่ เฉลยี่ ร้อยละ 17

3. ค่าเฉลี่ยคะแนนระหว่าง Post และ Pre-test
มคี ่าเฉลีย่ ร้อยละอยทู่ ี่ 10% คิดจากนกั ศึกษาท่ีเข้าร่วมสอบ
Post-test จานวน 84 คน

7โครงการตามบริบทของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา

โครงการตามบริบทของมหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา ปงี บประมาณ 2563 มกี ิจกรรมย่อย จานวน 3 กิจกรรม ไดแ้ ก่
1) กจิ กรรมวิเคราะห์ตวั อย่างพชื สมนุ ไพรในพนื้ ทีป่ ่าฮาลา-บาลา
2) กจิ กรรมการจัดเตรยี มความพร้อมเพื่อขอข้นึ ทะเบยี นพน้ื ที่ป่าฮาลา-บาลา สู่มรดกโลก
3) กจิ กรรมพฒั นาและส่งเสริมสุขภาพผูส้ งู อายุ

ซึ่งในไตรมาส 1 ทีผ่ า่ นมา โครงการได้ดาเนนิ กจิ กรรม ดังน้ี
1) กจิ กรรมวิเคราะห์ตวั อย่างพืชสมนุ ไพรในพนื้ ทป่ี ่าฮาลา-บาลา
2) กิจกรรมการจัดเตรียมความพร้อมเพอ่ื ขอขึ้นทะเบยี นพน้ื ที่ปา่ ฮาลา-บาลาสู่มรดกโลก
3) กิจกรรมพฒั นาและสง่ เสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

ศนู ย์สง่ เสริมและพัฒนาท้องถน่ิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

โดยการดาเนนิ งานในไตรมาส 2 มดี ังนี้
1) กิจกรรมวิเคราะห์ตวั อยา่ งพชื สมนุ ไพรในพื้นท่ีปา่ ฮาลา-บาลา
- วนั ท่ี 18 – 19 มกราคม 2563 คณะดาเนินงานกิจกรรม ลง
พ้ืนที่ ณ หมู่บ้านปิยะมิตร อาเภอเบตง จังหวัดยะลา เพ่ือทาการ
สารวจสมนุ ไพร และพูดคุยกับผู้นากลุ่มสมุนไพรอุโมงค์ปิยะมิตร และ
ได้นาตัวอย่างสมุนไพรกลับมาวิเคราะห์เพ่ิมเติมอีก 10 ตัวอย่าง
แบง่ เปน็ ชนิดน้า 4 ตวั อยา่ ง และชนิดแห้ง 6 ตวั อยา่ ง

- ศูนย์วิทยาศาสตร์ และคณะผู้บริหาร ได้ดาเนินการส่งสมุนไพร ไปยัง
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ เพื่อทาการตรวจวิเคราะห์ทาง
วิทยาศาสตร์ ได้แก่ เห็ดหลินจือ โสมเจียวกู่หลาน เข็มสองหน้า ยาสิบแปดเจ้ิน
หวาย เลือดไก่ โดยแยกเป็นสมุนไพรชนิดแห้งแบบบด 6 ตัวอย่าง และสมุนไพร
ชนิดน้า 4 ตัวอย่าง ซ่ึงตอนนี้อยู่ระหว่างการตรวจวิเคราะห์ท่ีศูนย์เคร่ืองมือ
ทางวิทยาศาสตรม์ หาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

2) กิจกรรมการจดั เตรียมความพรอ้ มเพ่อื ขอขน้ึ ทะเบยี นพืน้ ท่ปี ่าป่าฮาลา-บาลา สูม่ รดกโลก
- วันท่ี 14 มกราคม 2563 อาจารย์ ดร.นิรันดิ์เกียรติ ล่ิวคุณูปการ รองอธิการบดีฝ่ายนโยบายและแผน และผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ ดร.ฐานกลุ กฏุ ภิ กั ดี ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดีฝ่ายสิทธิประโยชน์และรายได้ เข้าพบผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิคม แหลม
สัก คณบดคี ณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ และคณาจารย์ในหลักสูตร เพ่ือหารือแนวทางการศึกษาความเป็นไปได้
ในการผลักดันผนื ปา่ ฮาลาบาลาเปน็ มรดกโลกทางธรรมชาติ ท้ังนี้ ได้ร่วมวางแผนการรวบรวมขอ้ มูล พืน้ ฐานและงานวิจัยในผืน
ป่าฮาลาบาลาเตรียมความพร้อมสู่การยกระดับเป็นมรดกอาเซียนและมรดกโลกต่อไป เพ่ือการอนุรักษ์และบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้คงความอุดมสมบูรณ์ รวมทั้งให้ประชาชน ในพื้นที่ได้รับประโยชน์จากการพัฒนา
โดยร่วมหาข้อเสนอแนะเกี่ยวข้องกับประเด็นการอนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมตามแผนพัฒนา
ซึ่งมีการบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในพ้ืนท่ี เช่น สานักงานเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลา สานักงาน
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มจงั หวดั นราธิวาส

ศูนยส์ ่งเสริมและพฒั นาท้องถน่ิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ป1ี 26563

- อาจารย์ ดร.นิรันด์ิเกียรติ ล่ิวคุณูปการ รองอธิการบดีฝ่ายนโยบายและ 7
แผน และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐานกุล กุฏิภักดี ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายสิทธิ
ประโยชน์และรายได้ เข้าพบนายณรงค์พล หมึกทอง ผู้อานวยการสานักบริหาร
พื้นที่อนุรักษ์ที่ 6 สาขาปัตตานี เพ่ือร่วมหารือแผนการผลักดันผืนป่าฮาลาบาลา
เป็นมรดกโลกทางธรรมชาติ และขอคาแนะนาในการทางานร่วมกับหน่วยงาน
ภาคีเครือข่ายด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นท่ีสามจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ รวมทั้งการดูแผนท่ีทางอากาศ และข้อมูลการสารวจระบบนิเวศ
และความหลากหลายทางชีวภาพ เพ่ือวางแผนการลงพื้นท่ีสารวจผืนป่าฮาลา
บาลาในครง้ั ต่อไป

- อาจารย์ ดร.นิรันด์ิเกียรติ ลิ่วคุณูปการ รองอธิการบดีฝ่ายนโยบายและ
แผน และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐานกุล กุฏิภักดี ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายสิทธิ
ประโยชน์และรายได้ เข้าพบนายณรงค์พล หมึกทอง ผู้อานวยการสานักบริหาร
พ้ืนที่อนุรักษ์ท่ี 6 สาขาปัตตานี เพื่อร่วมหารือแผนการผลักดันผืนป่าฮาลาบาลา
เป็นมรดกโลกทางธรรมชาติ และขอคาแนะนาในการทางานร่วมกับหน่วยงาน
ภาคีเครือข่ายด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในพื้นท่ีสามจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ รวมท้ังการดูแผนที่ทางอากาศ และข้อมูลการสารวจระบบนิเวศ
และความหลากหลายทางชีวภาพ เพ่ือวางแผนการลงพื้นที่สารวจผืนป่าฮาลา
บาลาในคร้ังตอ่ ไป

- จากการประชุมมีมติร่วมกัน ในการแผนการดาเนินงานระยะเร่ิมต้น คือ
การศกึ ษา ค้นคว้า และรวบรวมขอ้ มลู /องค์ความรู้ งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องและศึกษา
ความหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภายในพื้นท่ีป่าฮาลา
บาลา และการนาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ในเชิงพัฒนา เพ่ือนาข้อมูล
มาประมวลผลและวางแผนการดาเนินงานตามข้ันตอนการขอขึ้นทะเบียนมรดก
โลก โดยมีการบูรณาการความร่วมมือทางด้านแหล่งข้อมูลการศึกษาจาก
หน่วยงานทุกภาคส่วนท่ีมีส่วนเก่ียวข้องในพื้นท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซ่ึง
เป็นการชี้แจงวัตถุประสงค์ให้กับผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้อง เพ่ือสร้างความเข้าใจและ
กาหนดแนวทางการทางานให้บรรลุตามเป้าหมายร่วมกัน ซึ่งอาจารย์ที่มีความ
เช่ียวชาญในแต่ละศาสตร์จะต้องศึกษาความเป็นไปได้ในการผลักดันผืนป่าฮาลา
บาลาสมู่ รดกโลกทางธรรมชาติให้ครอบคลุมทุกมิติ เพ่ือนาข้อมูลมาสู่ข้ันตอนการ
วิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดระบบข้อมูล เพื่อใช้ในการตัดสินใจและวางแผน
การศึกษาในระยะการลงพื้นท่ีสารวจผืนป่าฮาลาบาลา ร่วมกับหน่วยงานท่ี
เกี่ยวข้องตอ่ ไป

ศนู ยส์ ง่ เสริมและพฒั นาท้องถ่นิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ป1ี 26563

- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ฐานกุล กุฏิภักดี ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายสิทธิ 7
ประโยชน์และรายได้ เข้าร่วมสังเกตการณ์การประชุมคณะกรรมการมรดก
อาเซียน (ASEAN Heritage Parks) คร้ังที่1/2563) ณ อาคารศูนย์ปฏิบัติการ
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เพ่ือเป็นแนวทางวางแผนการจัด
ประชุมศึกษาความเป็นไปได้ในการเตรียมความพร้อมเพ่ือขอข้ึนทะเบียนพ้ืนท่ีป่า
ฮาลา-บาลาสูม่ รดกโลก

3) กิจกรรมพฒั นาและสง่ เสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
- วันท่ี 19 มกราคม 2563 ลงพ้ืนท่ี ณ อาเภอเบตง เพื่อ
เข้าร่วมสังเกตการณ์และร่วมทากิจกรรม ประจาเดือนมกราคม
ร่วมกับสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ พบปะช้ีแจงเก่ียวกับโครงการ
กิจกรรมการดาเนินงานพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดย
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พร้อมท้ังปรึกษาหารือในการทา
กิจกรรมสง่ เสรมิ สุขภาพการบริหารรา่ งกายดว้ ยมณเี วช

- วนั ที่ 18 กุมภาพนั ธ์ 2563 อาจารย์สุนีย์ เครานวล และ
อาจารยอ์ นงภัทร์ ประสทิ ธภ์ิ ัทรเวช อาจารย์ผู้รับผิดชอบกิจกรรม
จัดกิจกรรมอบรมการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพ ให้แก่
อาสาสมัครสาธารรณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) อาเภอเบตง
จังหวัดยะลา โดยอาจารย์ ดร.นิรันดิ์เกียรติ ลิ่วคุณูปการ เป็น
ประธานเปิดการจัดอบรม วัตถุประสงค์การจัดอบรมเพื่อนา
องค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ ในการช่วยเหลือผู้ได้รับอุบัติเหตุอย่าง
ถูกต้องและเหมาะสม โดยร่วมกับโรงพยาบาลเบตง ณ ห้อง
ประชมุ มงคลฤทธ์ิ โรงแรมการ์เดน้ วิว อาเภอเบตง จังหวัดยะลา

- วันที่ 13 มีนาคม 2563 คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร
พร้อมด้วยอาจารย์สุนีย์ เครานวล และอาจารย์อนงภัทร์ ประสิทธิ์ภัทรเวช
ไดด้ าเนนิ การจดั กิจกรรมอบรมการส่งเสริมสุขภาพด้วยท่าบริหารเพ่ือปรับสมดุล
ร่างกายด้วยท่ามณีเวช ให้แก่ผู้สูงอายุ ณ อาเภอเบตง จังหวัดยะลา และในการ
จัดกิจกรรมในคร้ังนี้มีอาจารย์ ดร.นิรันด์ิเกียรติ ล่ิวคุณูปการ เป็นประธานเปิด
การอบรม วัตถุประสงค์เพ่ือจัดอบรมให้ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ
เบื้องต้นเกี่ยวกับการปรับสมดุลร่างกายด้วยมณีเวช สามารถประยุกต์ใช้ศาสตร์
ท่ามณีเวช ในการดูแลสขุ ภาพตนเองได้อย่างถกู ตอ้ ง และการจัดกิจกรรมครั้งนี้ได้
ดาเนินการจดั ณ หอ้ งประชุมมงคลฤทธิ์ โรงแรมการ์เด้นวิว อาเภอเบตง จังหวัด
ยะลา

ศูนยส์ ่งเสริมและพฒั นาทอ้ งถน่ิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ป1ี 26563

โครงการ โครงการส่งเสริมความรกั ความสามัคคี ความเขา้ ใจในสทิ ธิ 6
หนา้ ทข่ี องตนเองและผู้อ่นื ภายใตพ้ ืน้ ฐานของประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษตั ริย์เป็นประมขุ

โครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี ความเข้าใจในสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่นภายใต้พื้นฐานของประชาธิปไตย

อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เร่ิมดาเนินการต้ังแต่ปี 2562 และดาเนินการต่อเนื่องในปี 2563 โดยกองพัฒนานักศึกษาได้
บรู ณาการรว่ มกบั ฝ่ายพัฒนานักศกึ ษาของแต่ละคณะและหน่วยงานภายนอกจดั กจิ กรรมย่อยต่างๆ ไดแ้ ก่

1) จัดประกวดกล่าวสุนทรพจน์สามจังหวัดชายแดนใต้ ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย
อุดมศึกษา และประชาชนท่วั ไป ในหวั ข้อ “ร้รู ักสามคั ค”ี

2) เผยแพร่การแสดงนวตั กรรมชุดมลายชู ายแดนใต้
3) จดั ประกวดคลิปวดิ ีโอร้รู ักสามคั คชี ายแดนใต้
4) ประกวดเล่านิทานอาเซียน ส่งเสรมิ ความรักความสามคั คี
5) จดั ประกวดละครเวทรี รู้ กั สามคั คนี าร่องวิทยาศาสตรส์ ชู่ มุ ชนชายแดนใต้
6) จดั มหกรรมพลงั ชุมชนสืบสานวฒั นธรรม รู้รักสามัคคี
7) จติ อาสา
การดาเนินงานในไตรมาส 1 ทีผ่ า่ นมา กองพัฒนานักศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบโครงการหลัก ได้จัดประชุมคณะทางาน
ขับเคล่ือนโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน ปีงบประมาณ 2563 กิจกรรมส่งเสริมความรักความ
สามัคคี ความเข้าใจในสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่นภายใต้พ้ืนฐานของประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
โดยมีกิจกรรมย่อย 8 กิจกรรม กิจกรรมส่งเสริมความรักความสามัคคี ความเข้าใจในสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อ่ืน ภายใต้
พ้ืนฐาน ของประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์เป็นประมุข โดยการจัดกิจกรรมต่างๆ จะดาเนนิ การในไตรมาส 2

โดยการดาเนนิ งานในไตรมาส 2 มดี งั นี้

1) กิจกรรมจัดประกวดกล่าวสุนทรพจน์สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอน
ปลาย อดุ มศึกษาและประชาชนทั่วไป ในหวั ขอ้ “ร้รู ักสามคั คี”

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2563 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลลา ดาเนินการจัดโครงการ
ส่งเสริมความรักความสามัคคี ความเข้าใจในสิทธิหน้าท่ีของตนเองและผู้อ่ืนภายใต้พื้นฐานของประชาธิปไตย อันมี
พระมหากษัตริย์เป็นประมุข กิจกรรมประกวดกล่าวสุนทรพจน์ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ในหัวข้อ“รู้รักสามัคคี” ณ
ห้องประชุมเซอรา ห้องประชุมกานเฉ่า และห้องประชุมเซียนตานฮวา อาคารสังคมศาสตร์ (เปิดรับสมัครเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม
2563–6 มกราคม 2563) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้าง ความรักความสามัคคี และความปรองดองสมานฉันท์ของประชาชน
ในพื้นท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยแบ่งการประกวดเป็น 3 ระดับ 1.ประเภทมัธยมตอนต้น 2.มัธยมตอนปลาย
3.อุดมศกึ ษาและประชาชนทั่วไป

ศูนย์สง่ เสริมและพัฒนาท้องถ่นิ

17 รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

กิ จ ก ร ร ม จั ด ป ร ะ ก ว ด ค ลิ ป วิ ดี โ อ รู้ รั ก
สามคั คีชายแดนใต้

วันท่ี 21 กุมภาพันธ์ 2563 คณาจารย์
และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกิจกรรม ดาเนินการ
ประชุมวางแผนดาเนินกิจกรรมจัดประกวดคลิป
วิดีโอ รู้รักสามัคคี ซ่ึงได้ร่วมกาหนดเกณฑ์การ
ตัดสินผลงานการประกวด การวางแผนแนว
ทางการรับสมัคร และกาหนดการพิจารณา
ผลงานจดั ประกวด ในวนั ท่ี 1 เมษายน 2563

ประกวดเล่านิทานอาเซียน ส่งเสรมิ ความรกั ความสามัคคี
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ดาเนินการจัดกิจกรรม
ประกวดเล่านิทานอาเซียน ในหัวข้อ “รู้รักสามัคคี” ภายใต้กิจกรรมส่งเสริม
ความรักความสามัคคี ความเข้าใจในสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อ่ืนภายใต้
พนื้ ฐานของประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ เป็นประมุข เพ่ือสนองตอบพระ
บรมราโชบายด้านการศึกษาในการเป็นสถาบันการศึกษาเพ่ือพัฒนาท้องถิ่น
ชงิ เงนิ รางวัลพร้อมโลร่ วมกวา่ 50,000 บาท
โดยเรมิ่ ดาเนนิ การรับสมัครต้งั แต่วันที่ 1–29 กุมภาพันธ์ 2563 และจัดการแขง่ ขันในวันที่ 21 มีนาคม 2563 แบ่งประเภท
ของการแข่งขันออกเป็น 3 ประเภท ประเภทมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 5 ทีม ประเภทมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน
5 ทีม และประเภทอุดมศึกษาและประชาชนท่ัวไป จานวน 5 ทีม

ประกวดละครเวทนี ารอ่ งวทิ ยาศาสตรส์ ่ชู ุมชนชายแดนใต้
คณะวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร จัดประกวดแสดงละครเวที
ภายใต้ คอนตเซิด็ปตตา์ม“แรู้รลักะสปารมะัคเคมี ินนาผรล่อกงวาิทรยดาาศเนาสินตงรา์ นสู่ชขุมอชงนศชนู ายย์สแดง่ เนสใรตมิ้”แโลดยะพฒั นาทอ้ งถิน่
รับสมัครในระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษาจัดประกวดในรูปแบบละครเวที
การดาเนินเรอ่ื งใหส้ อดคลอ้ งกบั คาว่า “สามคั คแี ละวทิ ยาศาสตร์” รับจานวน 20
ทีมๆ ละไมเ่ กิน 15 คน เวลาที่ในการใช้แข่งขัน 20 นาที โดยเปิดรับสมัครต้ังแต่
วันท่ี 1 – 29 กุมภาพันธ์ 2563

กจิ กรรมจิตอาสา
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2563 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาสนา พิทักษ์ธรรม
รองผู้อานวยการศูนย์จิตอาสา นาคณาจารย์ บุคลากร นักศึกษาหลักสูตร
ออกแบบนวัตกรรมทศั นศลิ ปแ์ ละนักศึกษา ชมรม มรย. จิตอาสาร่วมกับหัวหน้า
ส่วนราชการ ประชาชนในพ้ืนท่ีลงพ้ืนที่ดาเนินกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาท้องถิ่น
บาเพ็ญประโยชน์ด้วยการเขียนภาพระบายสีบนผนังอาคารเรียนและเรือนนอน
การแต่งกายกลุม่ ประเทศอาเซียน สนาม BBL เพ่ือพัฒนาสมอง และอาหารหลัก
5 หมู่ ผลไม้เพื่อสขุ ภาพ ณ ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็กบ้านสันติ 2 หมู่ 6 ตาบลแม่หวาด
อาเภอธารโต จังหวดั ยะลา

ศนู ยส์ ่งเสริมและพฒั นาท้องถน่ิ

17 รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

วันท่ี 14 มีนาคม 2563 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาสนา พิทักษ์ธรรม รองผู้อานวยการศูนย์จิตอาสา ร่วมกับศูนย์
ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น นาโดยอาจารย์ชินวัจน์ งามวรรณากร ผู้อานวยการศูนย์ฯ พร้อมด้วยคณาจารย์ บุคลากร
เจ้าหน้าท่ี และนักศึกษา ลงพื้นท่ีจัดกิจกรรมบาเพ็ญประโยชนปรับภูมิทัศน์ ณ โรงเรียนบ้านยาบี ตาบลยาบี อาเภอ
หนองจกิ จังหวดั ปตั ตานี มีนายชวนชิด รักเถาว์ ผ้อู านวยการโรงเรียน และคณะครูโรงเรียนบ้านยาบี อีกทั้งหน่วยราชการ
ในพน้ื ท่ใี หก้ ารตอ้ นรับ โดยเปน็ การรวมพลังความสมคั รสมานสามัคคีของจิตอาสาพัฒนาทุกภาคส่วน ร่วมกันพัฒนาชุมชน
ท้องถ่ินให้มคี ณุ ภาพชีวติ ที่ดี

ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานของศนู ยส์ ่งเสรมิ และพฒั นาทอ้ งถิน่

ศนู ยส์ ่งเสริมและพฒั นาท้องถ่นิ

17 รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานของศูนย์ส่งเสรมิ และพัฒนาทอ้ งถิ่น
การติดตามและประเมินผลการดาเนินงานของแต่ละกิจกรรม โดยมีอาจารย์ประจาศูนย์ฯ เจ้าหน้าท่ีประจาศูนย์ฯ และ
เจ้าหน้าท่ีประสานงานโครงการ ลงพื้นท่ีติดตามและประเมินความก้าวหน้าของกิจกรรมแต่ละกิจกรรมในแต่ละเดือนเพ่ือจัดทา
ข้อมูลสรปุ ผล ปัญหาและขอ้ เสนอแนะ ในการทจี่ ะพฒั นากจิ กรรมให้บรรลุเปา้ หมายและวัตถุประสงค์ทว่ี างไว้
1.ลงพ้นื ท่วี ิเคราะห์ศักยภาพกลมุ่ OTOP เขา้ รว่ มโครงการปี 2563
1) ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น ร่วมกับคณะดาเนินงานโครงการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน นาโดย อาจารย์ ดร.ภัทรวดี
เอียดเต็ม อาจารย์ ดร.กูรอซียะห์ ยามิรูเด็ง นักวิทยาศาสตร์การอาหาร และเจ้าหน้าที่ศูนย์ฯ ร่วมลงพ้ืนท่ีวิเคราะห์ศักยภาพกลุ่ม
ผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP ในอาเภอย่ีงอ อาเภอระแงะ และอาเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จานวน 9 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มสตรีทาขนม
อิสลามบ้านใหม่ กลมุ่ อาชีพเสริมสตรีบ้านไอร์เจ้ียะ (เครื่องแกง) กลุ่มพัฒนาอาชีพบ้านไอร์ตืองอ (ขนมกะหร่ีป๊ับ) กลุ่มสตรีนางโล๊ะ
(ขนมซาลาเปา) กลุ่มปลาส้มแดนใต้บ้านบือนังกือเปาะ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้านประมง กลุ่มน้าผึ้งชันโรง กลุ่มน้าจ้ิมกือโปะ
มุสลมิ ลุโบะบายะ โดยคณะทางานได้รว่ มพูดคยุ กับประธานและสมาชิก กลมุ่ เพ่อื วิเคราะหศ์ กั ยภาพของกลุ่มพร้อมศึกษาแนวทางใน
การพฒั นาและยกระดับคุณภาพและมาตรฐานผลติ ภัณฑข์ องกล่มุ ผลิตภณั ฑช์ มุ ชน OTOP

8

2) ศนู ย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถ่นิ ร่วมกับคณะดาเนินงานโครงการยกระดับผลติ ภัณฑช์ ุมชน ลงพ้ืนที่วิเคราะห์
ศักยภาพกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ณ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรอุมมีฟาร์เมอร์บ้านเปี๊ยะ กลุ่มมาเรียม ฮาลาล
วิสาหกิจชุมชนข้าวกล้องหอมมะลิแดงท่าด่าน และกลุ่มแม่บ้านนูรอามีน อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี เพ่ือสารวจกลุ่ม
ผู้ประกอบการทม่ี ีศักยภาพในการพัฒนาสถานประกอบการอาหารให้ได้มาตรฐานเครอื่ งหมายอาหารและยา (อย.)

ศูนยส์ ่งเสริมและพฒั นาท้องถน่ิ

รายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ป1ี 28563

3) ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น ร่วมกับคณะดาเนินงานโครงการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน ลงพืน้ ที่
วิเคราะห์ศกั ยภาพกล่มุ เปา้ หมายในพืน้ ที่จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ณ กลมุ่ สตรีสหกรณ์บ้านมาลา ตาบลตาเนาะแมเราะ กม.9
บ้านมาลา กล่มุ แม่บ้านเกษตรกรศาลเจ้าพฒั นา และกล่มุ แม่บ้านเกษตรกรแปรรูปไม้ผลบ้านดอนอาเภอเบตง จงั หวดั ยะลา
เพ่ือสารวจกลมุ่ ผ้ปู ระกอบการที่มีศกั ยภาพในการพฒั นาคณุ ภาพผลติ ภณั ฑ์ให้เป็นตามมาตรฐาน

ศนู ยส์ ง่ เสริมและพัฒนาท้องถน่ิ

Editorial boardรายงานผลการดาเนินงานไตรมาส 2 ปี 2563

กองบรรณาธิการ

คณะท่ปี รึกษา

1.ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบตั ิ โยธาทพิ ย์

อธิการบดีมหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา
2.อาจารย์ ดร.นิรันดิเ์ กียรติ ลิ่วคณุ ูปการ
รองอธิการบดีฝ่ายนโยบายและแผน

บรรณาธิการ

อาจารย์ชินวจั น์ งามวรรณากร
ผอู้ านวยการศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาท้องถิน่

กองบรรณาธิการ

1.อาจารย์ ดร.ภัทรวดี เอียดเต็ม

อาจารย์ประจาศูนย์สง่ เสริมและพัฒนาท้องถิน่
2.อาจารยส์ นุ ีย์ เครานวล
อาจารย์ประจาศูนย์สง่ เสริมและพัฒนาท้องถิ่น
3.อาจารย์เกตวรรณ บุญเทพ
อาจารย์ประจาศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาท้องถิ่น
4.อาจารย์ธนวัฒน์ พรหมสขุ
อาจารย์ประจาศูนย์สง่ เสริมและพฒั นาท้องถิน่
5.อาจารย์ผูป้ ระผิดชอบแตล่ ะกิจกรรม
6.เจา้ หน้าทป่ี ระจาศูนย์สง่ เสรมิ และพฒั นาท้องถิ่น
7.เจ้าหน้าทป่ี ระสานงานโครงการ

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทอ้ งถน่ิ

“ฅนของพระราชา ข้าของแผ่นดนิ ”

ศนู ยส์ ง่ เสริมและพฒั นาทอ้ งถ่นิ อาคาร 4 ชั้น 1
073-299660
ศนู ย์ส่งเสริมและพฒั นาท้องถ่นิ มหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา

w http://lpdc.yru.ac.th


Click to View FlipBook Version