The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบ 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lpdc, 2022-10-17 04:59:47

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบ 2565

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบ 2565

“ข้าพเจ้าได้ไปพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อเนื่องมาเป็นเวลา
กว่า 30 ปแี ล้ว ทาใหร้ สู้ กึ มีความสุขและผูกพันกับมหาวิทยาลยั ราชภัฏทั้งหลายอย่างมาก ไปทกุ ครง้ั กม็ ีความสุข

อยากให้ทุกคนมีกาลังใจที่จะทาให้มหาวิทยาลัยราชภัฏของเรา เป็นประโยชน์กับประชาชน
เปน็ ประโยชนต์ อ่ ภูมิภาคและท้องถิ่นจริงๆ จังๆ ในเรื่องการดารงชีวิต ในเรื่องความรู้ท่ัวไป และข้อสาคัญ
คอื ผลิต คนดี ผลิตคนดีท่เี ห็นประโยชนแ์ กช่ าติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ และสังคม คิดว่ามหาวิทยาลัยราชภัฏ
เปน็ สถาบนั ทีเ่ ปน็ ประโยชนแ์ ละเป็นกลไกทพ่ี ัฒนาประเทศได้อย่างยิ่ง ถ้าหากตั้งใจ ร่วมกัน และคุยกันให้มาก ๆ
จะเปน็ สถาบันหลักทีพ่ ัฒนาประเทศและประชาชนอย่างมาก...”

พระราชดารสั สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู
9 พฤษภาคม 2560 ณ ทนี่ งั่ อมั พรสถาน

คานา

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จัดทารายงานผลการดาเนินโครงการยุทธศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถิ่น ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 โดยได้ดาเนินโครงการ เพ่ือสนองตอบพระบรมราโชบาย
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 10นในการเป็นสถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น สอดคล้องกับ แผน
ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่อื การพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี มีพื้นท่ีให้บริการในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (จังหวัด
ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส) ผ่านการลงพ้ืนท่ีบริการวิชาการรับใช้สังคม ภายใต้การบูรณาการ ศาสตร์องค์ความรู้ของ
มหา วิ ทยา ลั ย ร าชภั ฏ ย ะลา และกา ร ทา ง า น อย่ า ง มี ส่วน ร่ วมกั บหน่ วย ง า น ภา คี เค รือข่ า ย ปร ะกอบไ ปด้ วย
(1.) พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก (2.) ยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนผนวก
University as a Marketplace (3.) ยกระดับการจัดการเรียนรู้โรงเรียนเครือข่ายขนาดเล็ก (4.) ขับเคล่ือนและขยายผล
วิศวกรสังคมมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (5.) พัฒนาสมรรถนะภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักศึกษา
(6.) จัดทาฐานข้อมูลชุมชน และสมรรถนะภาคีเครือข่าย(7.) ยกระดับมาตรฐานสมรรถนะบัณฑิตครูสู่ความเป็นเลิศ
(8.) กิจกรรมตามบริบทของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ใน ก า ร นี้ เ พื่ อ ให้ ก า ร ขั บ เ คล่ื อ น โ คร งก าร ยุ ท ธ ศ าส ตร์ ม ห าวิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น าท้ อ ง ถิ่ น
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ด้วยการบูรณาการความร่วมมือท้ังหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภาคี
เครือข่ายภายนอก จึงได้นาเสนอกระบวนการทางาน และผลการดาเนินโครงการดังกล่าวเป็นระยะ ซึ่งเป็นการรายงาน
ความก้าวหน้าผลการดาเนินโครงการพัฒนาท้องถิ่น เพ่ือให้คณะผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และหน่วยงานภาคีเครือข่าย
ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ได้รับทราบผลการดาเนินงานในรอบไตรมาส ก่อให้เกิดการประสานความร่วมมืออย่างต่อเนื่อง
อันเป็นผลสาคัญต่อการขับเคล่ือนโครงการดังกล่าว ให้บรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัดท่ีกาหนดไว้ โดยมุ่งเน้นให้ ประชาชน
ในพืน้ ท่ี สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับผลกระทบเชิงบวก จากการพัฒนาท้องถิ่นอย่างแท้จริง หากรายละเอียดท่ีนาเสนอผิดพลาด
ประการใด ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทอ้ งถนิ่ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา ต้องขออภยั มา ณ โอกาสนี้

ศูนยส์ ่งเสริมและพัฒนาท้องถิน่
มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา

สารบัญ

เรอ่ื ง หน้า

โครงการยุทธศาสตรม์ หาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อการพัฒนาท้องถิน่ 1

รมต.กระทรวงอดุ มศกึ ษาฯ เปิดศนู ยด์ แู ลผูส้ ูงอายุ หรือ ผ้มู ภี าวะพงึ่ พงิ “จนั ทนก์ ะพ้อ” 2

รมต.กระทรวงอดุ มศกึ ษาฯ ลงพ้ืนทีต่ รวจเยีย่ มและมอบนโยบายมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา 3

รมว.กระทรงอดุ มศกึ ษาฯ ตรวจเยี่ยมและมอบชดุ อปุ กรณจ์ าโปโมเดล แก่กล่มุ เกษตรกร อ.แมล่ าน จ.ปตั ตานี 3

ศึกษาดูงานศนู ยก์ ารเรยี นรชู้ ุมชนตน้ แบบ (Local Lab) และตรวจเย่ียมผลการดาเนนิ งาน 4
โครงการ JAPO Model

ประธานการประชมุ หารือแนวทางการขับเคลือ่ นโครงการ ยกระดบั เศรษฐกจิ ฐานรากดว้ ยนวตั กรรม 4
เกษตรแบบผสมผสาน (JAPO Model) ครง่ึ ไรค่ รง่ึ ลา้ น

โครงการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และยกระดบั รายได้ใหก้ บั คนในชุมชนฐานราก 5

โครงการยกระดบั มาตรฐานผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนผนวก University as a Marketplace 15

โครงการยกระดบั การจดั การเรยี นรโู้ รงเรยี นเครือขา่ ยขนาดเลก็ 31

โครงการขับเคลอ่ื นและขยายผลวศิ วกรสงั คมมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา 38

โครงการพฒั นาสมรรถนะภาษาองั กฤษในศตวรรษที่ 21 สาหรับนกั ศกึ ษา 40

โครงการจัดทาฐานข้อมลู ชมุ ชน และสมรรถนะภาคเี ครอื ขา่ ย 43

โครงการยกระดับมาตรฐานสมรรถนะบณั ฑิตครสู ู่ความเป็นเลิศ 52

โครงการตามบริบทของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา 53

พื้นที่เป้าหมายตามแผนโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถน่ิ 61

คณะดาเนนิ งาน 63

01 โครงการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และยกระดับรายได้ใหก้ บั คนในชมุ ชนฐานราก
02 โครงการยกระดบั มาตรฐานผลติ ภัณฑช์ มุ ชนผนวกUniversity as a Marketplace
03 โครงการยกระดบั การจดั การเรยี นรโู้ รงเรยี นเครอื ขา่ ยขนาดเลก็
04 โครงการขบั เคลื่อนและขยายผลวิศวกรสังคมมหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา
05 โครงการพฒั นาสมรรถนะภาษาองั กฤษในศตวรรษที่ 21 สาหรบั นักศึกษา
06 โครงการจัดทาฐานข้อมลู ชมุ ชน และสมรรถนะภาคีเครือข่าย
07 โครงการยกระดับมาตรฐานสมรรถนะบณั ฑติ ครสู คู่ วามเปน็ เลศิ
08 โครงการตามบรบิ ทของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา

1 ศูนยส์ ง่ เสริมและพัฒนาทอ้ งถน่ิ มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา

รมต.กระทรวงอดุ มศกึ ษาฯ เปดิ ศนู ย์ดแู ลผู้สูงอายุ หรือ ผ้มู ีภาวะพง่ึ พิง “จันทน์กะพ้อ”

วันท่ี 7 พฤษภาคม 2565 ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร์ วจิ ัย และนวตั กรรม เป็นประธานเปิดศูนยด์ แู ลผูส้ งู อายุ หรือ ผู้มีภาวะพึ่งพิง “จันทน์กะพ้อ” มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ณ ชั้น 1 อาคาร Day Care มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา โดยมี ศาสตราจารย์ ดร. ศุภชัย ปทุมนากุล รองปลัดกระทรวงปลัด
กระทรวงฯ พร้อมด้วย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ โยธาทิพย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา คณะผู้บริหาร
คณาจารย์ และเจา้ หน้าท่ี ใหก้ ารต้อนรบั

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนีย์ เครานวล อาจารย์รับผิดชอบศูนย์การดูแลผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพ่ึงพิง ฯ กล่าวว่า
ศูนย์การดแู ลผู้สงู อายุ ไดร้ ับอนุญาตให้ประกอบกจิ การสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ ตามพระราชบัญญัติสถานประกอบการ
เพอ่ื สุขภาพ พ.ศ. 2559 จากกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้บริการด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ในพื้นท่ี 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งมีการดาเนินงานใน 2 ลักษณะ คือ เป็นแหล่งเรียนรู้ของนักศึกษาและผู้ท่ีสนใจ
รวมถึงให้บรกิ ารผู้สูงอายแุ บบไปกลับ โดยรองรับผู้สูงอายุได้ จานวน 15 คน ซ่ึงเปิดให้บริการเดือนมิถุนายน 2565 ตลอดจน
อบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง ท่ีผู้เรียนหรือผู้ที่สนใจใช้เวลาเรียนในระยะเวลาส้ัน แต่สามารถประกอบอาชีพ
ในสถานบริบาลผู้สูงอายุได้ ซ่ึงเป็นทางเลือกหน่ึงสาหรับผู้ท่ีสนใจศึกษาต่อและมีใจรักด้านการดูแล ถือเป็นการส่งเสริมการมีงานทา
และมรี ายได้ โดยมหาวิทยาลัยฯจะรับเป็นพนักงานของมหาวิทยาลัยในการดูแลผู้สูงอายุ จัดระบบการให้บริการ ส่งไปดูแล
ผู้สูงอายุที่บ้าน ซึ่งมหาวทิ ยาลยั จะเปน็ ผูต้ ดิ ตามใหค้ าแนะนาในด้านมาตรฐานการดูแลผู้สูงอายุท่ีส่งไปดูแลท่ีบ้าน รวมทั้งพัฒนา
ศกั ยภาพผดู้ ูแลอย่างตอ่ เนื่อง และทาความร่วมมอื ทางวิชาการกบั หนว่ ยงานที่เกีย่ วข้อง ท่ีผ่านมามหาวิทยาลัยได้ทาบันทึกความ
ร่วมมอื กับกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

2 ศนู ยส์ ง่ เสริมและพัฒนาทอ้ งถิน่ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา

รมต.กระทรวงอดุ มศกึ ษาฯ ลงพน้ื ที่ตรวจเย่ียมและมอบนโยบาย
มหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา

วันท่ี 7 พฤษภ าคม 2565 ศาส ตร าจารย์ พิเ ศษ
ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุดมศึกษา
วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม และคณะ เย่ียมชมบูธนิทรรศการ
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
โดยมี ศาสตราจารย์ ดร. ศุภชัย ปทุมนากุล รองปลัดกระทรวง
ปลดั กระทรวงฯ นายอานาจ ชูทอง รองผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
พรอ้ มด้วย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ โยธาทิพย์ อธิการบดี
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา คณะผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่
นักศึกษาและแขกผู้มีเกียรติ ร่วมต้อนรับ ณหอประชุมเฉลิมพระเกียรติ
80 พรรษามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา

รมว.กระทรงอดุ มศึกษาฯตรวจเยย่ี มและมอบชดุ อปุ กรณจ์ าโปโมเดล
แกก่ ลุ่มเกษตรกร อ.แมล่ าน จ.ปัตตานี

วันที่ 8 พฤษภาคม 2565 ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม
และคณะ ตรวจเยี่ยมฐานการเรียนรู้ ศูนย์การเรียนรู้แม่ลาน
พรอ้ มมอบชุดอุปกรณ์จาโปโมเดล แก่กลุ่มเกษตรกรอาเภอแม่ลาน
จานวน 7 ราย และร่วมเป็นประธานในพิธีทอดผ้าป่าสามัคคี
ณ วัดปลักปรือ ตาบลม่วงเตี้ย อาเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
โดยมี ล่าธรร ม ทัศน์ รั ฐม นตรี ว่าการกระ ท รวงอุดม ศึกษา
วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม และคณะ ลงพื้นท่ีตรวจเย่ียม
และมอบนโยบาย โดยมี ศาสตราจารย์ ดร . ศุภชัย ปทุมนากุล
รองปลัดกระทรวงปลัดกระทรวงฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ
โยธาทิพย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พร้อมด้วย
คณะผู้บริหาร คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ และแขกผู้มี เกียติ
ร่วมต้อนรับ และ ว่าท่ีร้อยตรีตระกูล โทธรรม รองผู้ว่าราชการ
จังหวัดปัตตานี กลา่ วต้อนรับ ณ ศูนย์การเรียนรู้แม่ลาน อาเภอแม่ลาน
จังหวดั ปตั ตานี

3 ศนู ย์สง่ เสริมและพัฒนาทอ้ งถ่ิน มหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา

ศึกษาดูงานศูนย์การเรยี นรชู้ มุ ชนต้นแบบ (Local Lab) และตรวจ
เยย่ี มผลการดาเนินงานโครงการ JAPO Model

วนั ที่ 9 เมษายน 2564 อาจารย์ ดร.นิรันด์ิเกียรติ ลิ่วคุณูปการ
รองอธิการบดีฝ่ายนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
แล ะ คณะ ท างานพร้ อม ด้ วย นายอาดิ ลั น อาลี อิ ส เฮ าะ
ส.ส.ยะลา เขต 1 พรรคพลังประชารัฐ โดยได้รับเกียรติจาก
นายศรัทธา คชพลายุกต์ รองเลขาธิการศูนย์อานวยการบริหาร
จังหวดั ชายแดนภาคใต้ และคณะทางาน ร่วมลงพื้นท่ีศึกษาดูงาน
ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนต้นแบบ (Local-Lab) และตรวจเยี่ยมผล
การดาเนินงานโครงการ JAPO-Model พัฒนาคุณภาพชีวิต
และยกระดับรายได้ให้ประชาชนต้นแบบในพ้ืนที่ ตาบลลาใหม่
อาเภอเมอื ง จังหวดั ยะลา

ประธานการประชุมหารอื แนวทางการขบั เคลอ่ื นโครงการ ยกระดบั เศรษฐกิจฐานราก
ดว้ ยนวตั กรรมเกษตรแบบผสมผสาน (JAPO Model) คร่ึงไรค่ รึ่งล้าน

วันที่ 18 เมษายน 2565 เวลา 11.00 ณ ห้องประชุมสถาบัน
พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาชายแดนภาคใต้ อาคาร 4
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร .สมบัติ
โยธาทิพย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ประธานการ
ประชมุ หารือแนวทางการขับเคลอ่ื นโครงการ ยกระดับเศรษฐกิจ
ฐานรากด้วยนวัตกรรมเกษตรแบบผสมผสาน (JAPOขModel)
ครง่ึ ไร่คร่ึงลา้ น ให้ครัวเรือนยากจนในพ้ืนที่สามจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ โดยมี อาจารย์ ดร .นิรันดิ์เกียรติ ล่ิวคุณูปการ
รองอธิการ บดีฝ่ายนโยบาย และแ ผน และ คณะท างาน
กล่าวรายงานผลการดาเนินโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น ในพ้ืนที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ในการนาศาสตร์/องค์ความรู้ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
แ ล ะ ศั ก ย ภ า พ / ทุ น ที่ มี ค ว า ม พ ร้ อ ม ใ นพื้ น ที่ ช าย แ ด นภ าค ใ ต้
สู่การบู รณาการ ทางานร่ วมกับศู นย์ อานวยการ บริ หาร
จงั หวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) และหน่วยงานภาคีเครือข่ายในพื้นที่

4 ศนู ยส์ ่งเสริมและพฒั นาทอ้ งถ่ิน มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา

01 โครงการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ และยกระดับรายไดใ้ หก้ บั คนในชุมชนฐานราก

การขับเคล่ือน การดาเนินงานโครงการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพ่ือแก้ปัญหาความยากจนของประชาชน
ในท้องถิ่น ผสมผสานระหว่าง Area based + Problem based ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนแนวทาง
การแกไ้ ขปัญหาความยากจน

พืน้ ทีก่ ารดาเนนิ งานโครงการ

พื้นท่จี งั หวัดปัตตานี พืน้ ท่จี งั หวัดยะลา พื้นท่จี ังหวัดนราธวิ าส

• อาเภอหนองจกิ • อาเภอเมืองยะลา • อาเภอสุไหงปาดี
• อาเภอโคกโพธิ์ • อาเภอธารโต • อาเภอสคุ ิรนิ
• อาเภอแมล่ าน • อาเภอเบตง • อาเภอศรีสาคร
• อาเภอกรงปินงั • อาเภอระแงะ

จังหวดั ปัตตานี
จงั หวดั ยะลา
จังหวดั ยะลา

5 ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิน่ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา

01 โครงการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ และยกระดบั รายไดใ้ หก้ บั คนในชมุ ชนฐานราก

ความรว่ มมอื ในการดาเนินงาน

มหาวทิ ยาลยั หนว่ ยงานท่ีเกีย่ วขอ้ ง ภาคประชาชน/ = บรู ณาการ
ราชภัฏยะลา ในพ้ืนที่ ประชาสงั คม ความร่วมมือ
ทุกภาคสว่ น

ตัวชวี้ ดั และเปา้ หมาย

ครัวเรอื นเป้าหมายใน ครัวเรือนทเ่ี ขา้ ร่วม ในปแี รกสามารถแกไ้ ข สรปุ ผลการดาเนินโครงการ
พน้ื ที่ 3 จงั หวัด (ยะลา โครงการอยา่ งน้อย ปญั หาครัวเรือนยากจนพ้น และนามาถอดบทเรียนสร้าง
ปัตตานี และนราธวิ าส) ร้อยละ 50 ของเปา้ หมาย เกณฑ์ความยากจนในพน้ื ที่ ต้นแบบโมเดล (Model)
โครงการใช้หลักปรชั ญา 3 จังหวดั (ยะลา ปตั ตานี การแก้ไขปัญหาความยากจน
จงั หวดั ละ 100 ครัวเรอื น เศรษฐกจิ พอเพยี งเพอื่ ลด ภายใน 5 ปีจังหวัดละ 1
รายจ่ายเพม่ิ รายได้ และนราธวิ าส) รอ้ ยละ 50
ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 20 โมเดล

6 ศูนย์สง่ เสรมิ และพัฒนาทอ้ งถิ่น มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา

01 โครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต และยกระดับรายไดใ้ หก้ บั คนในชมุ ชนฐานราก

ผลการดาเนนิ งานโครงการ

รายงานการตดิ ตามผลและประเมินผลโครงการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตและยกระดับรายได้ ให้กับคนในชุมชนฐานรากผู้ประเมินได้
ดาเนนิ การตดิ ตามผลการดาเนินงาน โดยการเกบ็ ขอ้ มูลทงั้ ในเชิงปริมาณ
โดยแบ่งเปน็ กิจกรรม ดังน้ี

การส่งเสรมิ อาชีพ ยะลา ปตั ตานี นราธวิ าส รวม

ไก่เบตง 190 232 187 609
ผง้ึ ชนั โรง 68 86 80 234
การเพาะเหด็ 41 10 69 120
ผักทอ้ งถิน่ 9 12 6 27
ของท่รี ะลกึ 7 0 14 21
ผา้ มัดย้อม 1 0 10 11
ขนมไทย 7 1 5 13
น้ามนั มะพรา้ วสกดั เยน็ 3 7 0 10
ตัดเย็บ 9 7 3 19
ผา้ บาติกประยกุ ต์ 0 3 1 4
สราชีวภณั ฑ์ 22 0 0 22
357 358 375 1090
รวม

ไกเ่ บตง ผึ้งชันโรง การเพาะเหด็
ผกั ทอ้ งถิ่น
ขนมไทย ของทร่ี ะลึก ผา้ มดั ยอ้ ม
ผ้าบาติกประยกุ ต์
น้ามันมะพรา้ วสกัดเย็น ตัดเยบ็

สราชวี ภัณฑ์

7 ศูนยส์ ง่ เสริมและพฒั นาท้องถน่ิ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา

01 โครงการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต และยกระดบั รายได้ใหก้ ับคนในชมุ ชนฐานราก

การเล้ียงไกเ่ บตงเพื่อสร้างอาชีพ
วันท่ี 17 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 กจิ กรรมการเล้ียงไกเ่ บตงเพ่อื สร้างอาชีพ อาจารยป์ ระจาโครงการไดล้ งพื้นทีฝ่ ึกอบรม
และสง่ เสริมอาชพี การเล้ียงไกเ่ บตงพรอ้ มอาหาร 1 กระสอบใหก้ บั ครวั เรอื นตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2565 จานวน 15 ครัวเรือน
ณ เทศบาลตาบลบดุ ี อาเภอเมืองยะลา จงั หวัดยะลา

วนั ท่ี 21 กุมภาพนั ธ์ 2565 อาจารยเ์ กตวรรณ บุญเทพ อาจารยป์ ระจาโครงการ และเจา้ หน้าทปี่ ระจาศูนย์ส่งเสริม
และพัฒนาท้องถิ่น ลงพ้ืนท่ีส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงไก่เบตงเพ่ือสร้างอาชีพ ให้กับครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ.
ณ องคก์ ารบริหารส่วนตาบลลาใหม่ อาเภอเมอื ง จงั หวัดยะลา

วันที่ 12 เมษายน 2565 อาจารย์เกตวรรณ บุญเทพ อาจารย์ประจาโครงการ และเจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ส่งเสริม
และพัฒนาท้องถิ่น ลงพื้นที่ส่งเสริมอาชีพการเล้ียงไก่เบตง ให้กับครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2564 จานวน 20 ครัวเรือน
ในกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตและยกระดบั รายไดใ้ หก้ ับคนในชมุ ชน ฐานราก ณ อาเภอหนองจิก จังหวดั ปัตตานี

วันท่ี 19 เมษายน 2565 อาจารยเ์ กตวรรณ บญุ เทพ อาจารยป์ ระจาโครงการ และเจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ส่งเสริม
และพัฒนาทอ้ งถ่นิ ลงพน้ื ทส่ี ง่ เสรมิ อาชีพการเลยี้ งไก่เบตง ใหก้ บั ครวั เรอื นตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2564 จานวน 26 ครัวเรือน
ในกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และยกระดบั รายได้ให้กบั คนในชมุ ชน ฐานราก ณ อาเภอยะหรง่ิ จังหวดั ปตั ตานี

8 ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถ่ิน มหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา

01 โครงการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต และยกระดับรายได้ใหก้ บั คนในชมุ ชนฐานราก

การเลย้ี งไกเ่ บตงเพ่อื สรา้ งอาชีพ
วันท่ี 21 เมษายน 2565 อาจารย์เกตวรรณ บุญเทพ อาจารย์ประจาโครงการ และเจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ส่งเสริม
และพัฒนาท้องถ่ิน ลงพื้นท่ีส่งเสริมอาชีพการเล้ียงไก่เบตง ให้กับครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2564 จานวน 15 ครัวเรือน
ในกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ และยกระดับรายได้ใหก้ ับคนในชมุ ชน ฐานราก ณ อาเภอสายบรุ ี จงั หวดั ปัตตานี

วันที่ 27 พฤษภาคม 2565 กิจกรรมการเลี้ยงไก่เบตงเพื่อสร้างอาชีพ อาจารย์ประจาโครงการได้ลงพ้ืนที่ฝึกอบรม
และส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงเบตงได้มอบอาหาร 1 กระสอบ(เพิ่มเติม)ให้กับครัวเรือนตกเกณฑ์ จานวน 53 ครัวเรือน
ณ เทศบาล ตาบลมะรือโบตก อาเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

วันที่ 9 มิถุนายน 2565 กิจกรรมการเล้ียงไก่เบตงเพื่อสร้างอาชีพ อาจารย์ประจาโครงการได้ลงพ้ืนที่ ฝึกอบรม
และส่งเสริมอาชีพการเล้ียงเบตงพร้อมอาหาร 1 กระสอบให้กับครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2565 จานวน 36 ครัวเรือน
ณ ท่วี า่ การอาเภอสุไหงโกลก อาเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส

วนั ท่ี 6 กรกฎาคม 2565 อาจารย์เกตวรรณ บญุ เทพ อาจารยป์ ระจาโครงการ การเลี้ยงไก่เบตงเพื่อสร้างอาชีพ และเจ้าหน้าที่
ประจาศนู ยส์ ่งเสรมิ และพฒั นาทอ้ งถิ่น ลงพน้ื ทส่ี ่งเสริมอาชีพกจิ กรรมการเลี้ยงไก่เบตงเพ่ือสร้างอาชีพ ให้กับครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ.
ปี 2565 ในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ณ ศูนย์การเรียนรู้มหาวิทยาลัยราชภัฏ
แม่ลาน อาเภอแมล่ าน จังหวัดปตั ตานี

9 ศนู ยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาทอ้ งถนิ่ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา

01 โครงการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต และยกระดับรายไดใ้ หก้ บั คนในชุมชนฐานราก

การเลยี้ งไก่เบตงเพอื่ สรา้ งอาชีพ
วันที่ 14 กันยายน 2565 อาจารย์เกตวรรณ บุญเทพ อาจารย์ประจาโครงการ การเลี้ยงไก่เบตงเพื่อสร้างอาชีพ
และเจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น ลงพื้นที่ส่งเสริมอาชีพกิจกรรมการเลี้ยงไก่เบตงเพื่อ สร้างอาชีพ
ให้กับครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2565 ในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก
ณ ศนู ยก์ ารเรียนร้มู หาวิทยาลัยราชภัฏแม่ลาน อาเภอแมล่ าน จงั หวัดปัตตานี

การพัฒนาและส่งเสริมการปลกู ผักกลุ่มผกั สลัดท่ีมีคณุ ภาพและปลอดสารพิษ
วนั ที่ 25 พฤษภาคม 2565 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิสริยาภรณ์ ดารงรักษ์ อาจารย์ ดร.นิราณี บือราเฮง อาจารย์

ประจาโครงการ และเจ้าหน้าที่ประจาศนู ย์สง่ เสรมิ และพัฒนาท้องถ่นิ ลงพนื้ ทสี่ ง่ เสรมิ อาชีพกิจกรรมการพัฒนาและส่งเสริมการ
ปลูกผักกลุ่มผักสลัดท่ีมีคุณภาพและปลอดสารพิษ ให้กับครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2564 ในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต
และยกระดับรายไดใ้ หก้ บั คนในชุมชนฐานราก ณ อาคารเกษตร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา

วันที่ 31 พฤษภาคม 2565 เจ้าหน้าท่ีประจาศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น ลงพื้นท่ีส่งเสริมอาชีพกิจกรรมการ
พัฒนาและส่งเสรมิ การปลูกผักกล่มุ ผักสลดั ท่ีมคี ุณภาพและปลอดสารพษิ ให้กับครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2564 ในกิจกรรม
พฒั นาคณุ ภาพชีวิตและยกระดบั รายได้ใหก้ บั คนในชุมชน ฐานราก ณ อาเภอกระพ้อ (จานวน 3 ครัวเรือน) จงั หวัดปตั ตานี

วันท่ี 9-10 มินายน 2565 ไดม้ กี าหนดการลงพนื้ ท่ีจัดอบรมกจิ กรรมการปลกู ผักท้องถิ่น พร้อมมอบผลิตภัณฑส์ ง่ เสริมอาชีพให้
ครัวเรือนเป้าหมาย ครัวเรือน 1 ชุด ณ ที่ว่าการอาเภอสุไหงโกลก (จานวน 2 ครัวเร่ือน) และ ที่ว่าการอาเภอเจาะไอร้อง
(จานวน 4 ครัวเรอื น) เพอ่ื ส่งเสรมิ อาชีพ สรา้ งรายไดล้ ดรายจา่ ยในครวั เรอื น

10 ศนู ย์สง่ เสรมิ และพฒั นาทอ้ งถนิ่ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา

01 โครงการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต และยกระดบั รายไดใ้ หก้ ับคนในชมุ ชนฐานราก

การเลีย้ งผึ้งชันโรงเพือ่ สร้างอาชีพ
วันท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2565 กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก

อาจารย์ประจาโครงการและเจ้าหน้าท่ีได้มีการลงพื้นที่สารวจความต้องการอาชีพของครัวเรือน สภาพแวดล้อม
รายได้ และความเปน็ ก่อนเขา้ รว่ มโครงการ เพอื่ ให้สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของครวั เรือน ณ อาเภอกรงปินัง จงั หวัดยะลา

วนั ท่ี 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 กจิ กรรมการเลี้ยงผงึ้ ชันโรงเพอ่ื สร้างอาชีพ อาจารย์และเจ้าหน้าท่ีประจาโครงได้มีการ
ลงพื้นทีอ่ บรมและสง่ เสริมการเล้ยี งผึ้งชนั โรงให้กบั ครวั เรอื นตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2564 จานวน 12 ครัวเรือน โดยอบรมใน
เร่อื งการเล้ยี งผึ้งในเบื้องตน้ การดแู ลผง้ึ ชันโรง และการเอาน้าผ้ึงโรง ณ ตาบลปุโละปุโย อาเภอหนองจิก จังหวดั ปตั ตานี

วันที่ 7 เมษายน 2565 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ด.ร อสิ มะแอ เจะ๊ หลง และเจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น
ลงพืน้ ท่ีส่งเสริมอาชพี การเล้ียงผงึ้ ชนั โรง ให้กับครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2564 ในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับ
รายได้ให้กับคนในชุมชน ฐานราก ณ องค์การบริหารส่วนตาบลปุโรง อาเภอกรงปินัง องค์การบริหารส่วนตาบลยะจ๊ะ
อาเภอรามนั จังหวดั ยะลา

วนั ที่ 12 เมษายน 2565 เจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถ่ิน ลงพื้นท่ีส่งเสริมอาชีพการเล้ียงผึ้งชันโรง
เพ่ือสร้างอาชีพ ให้กับครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2564 ในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับ
คนในชุมชนฐานราก ณ อาเภอหนองจกิ จังหวัดปัตตานี

11 ศนู ย์สง่ เสรมิ และพัฒนาทอ้ งถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา

01 โครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต และยกระดับรายไดใ้ หก้ บั คนในชมุ ชนฐานราก

การเลยี้ งผงึ้ ชันโรงเพือ่ สร้างอาชีพ
วนั ที่ 21 เมษายน 2565 เจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถ่ิน ลงพ้ืนที่ส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงผ้ึงชันโรง

เพื่อสร้างอาชีพให้กับครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2564 จานวน ในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับ
คนในชุมชนฐานราก ณ อาเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

วนั ท่ี 9-10 มินายน 2565 ได้มีกาหนดการลงพื้นที่จัดอบรมกิจกรรมการเล้ียงผึ้งชันโรง พร้อมมอบผลิตภัณฑ์ส่งเสริมอาชีพ
ให้ครัวเรือนเป้าหมาย จานวน 6 ครัวเรือน ณ ที่ว่าการอาเภอสุไหงโกลก จานวน 2 ครัวเรือน และ ท่ีว่าการอาเภอเจาะไอร้อง
จานวน 4 ครวั เรอื น โดยมอบพันธข์ นเงินไป 1 กล่อง และพันธอ์ ติ าม่า 1 รงั /ครวั เรอื น

การพฒั นาเพาะเห็ดสมนุ ไพรสู่การแปรรปู ผลิตภัณฑเ์ หด็ เพือ่ สขุ ภาพ
วนั ท่ี 25 มนี าคม 2565 อาจารย์สมทบ เวทโอสถ อาจารย์ประจาโครงการ และเจ้าหน้าท่ีประจาศูนย์ส่งเสริมและพัฒนา
ทอ้ งถ่ิน ลงพน้ื ทีส่ นบั สนุนและสง่ เสริมอาชพี การเพาะเห็ดให้กับครัวเรือนที่สนใจ ในการเพาะเห็ดรอบท่ี 2 จานวน 100 ก้อน
500 บาท ในกจิ กรรมการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตและยกระดบั รายไดใ้ ห้ประชาชนในพืน้ ท่ีสามจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ JAPO MODEL
ณ ตาบลมะกรูด อาเภอโคกโพธ์ิ จงั หวัดปัตตานี ตาบลลาใหม่ ตาบลพรอ่ น ตาบลลดิ ล อาเภอเมือง จังหวดั ยะลา

วันท่ี 1 เมษายน 2565 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์สมทบ เวทโอสถ อาจารย์ประจาโครงการ และเจ้าหน้าท่ีประจาศูนย์ส่งเสริม
และพัฒนาท้องถิ่น ลงพ้ืนท่ีส่งเสริมอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า ให้กับครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2564
ในกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชวี ิตและยกระดบั รายได้ใหก้ ับคนในชมุ ชน ฐานราก ณ เทศบาลตาบลยโุ ป อาเภอเมือง จงั หวดั ยะลา

12 ศนู ย์ส่งเสรมิ และพัฒนาทอ้ งถ่ิน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา

01 โครงการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต และยกระดับรายไดใ้ หก้ ับคนในชุมชนฐานราก

การพัฒนาเพาะเหด็ สมุนไพรสู่การแปรรปู ผลิตภัณฑ์เหด็ เพอื่ สุขภาพ
วนั ที่ 4 เมษายน 2565 ผู้ช่วยศาสตราจารยส์ มทบ เวทโอสถ อาจารย์ประจาโครงการ และเจ้าหน้าท่ีประจาศูนย์ส่งเสริม
และพัฒนาท้องถิ่น ลงพื้นท่ีส่งเสริมอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า ให้กับครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2564 ในกิจกรรมพัฒนา
คณุ ภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชมุ ชน ฐานราก ณ องค์การบริหารสว่ นตาบลปโุ รง อาเภอกรงปนิ ัง จงั หวดั ยะลา

วันที่ 25 พฤษภาคม 2565 ผ้ชู ่วยศาสตราจารยส์ มทบ เวทโอสถ อาจารย์ประจาโครงการ และเจ้าหน้าที่ประจาศูนย์
สง่ เสรมิ และพฒั นาทอ้ งถ่นิ ลงพื้นที่ส่งเสริมอาชีพการพัฒนาเพาะเห็ดสมุนไพรสู่การแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ดเพื่อสุขภาพให้กับ
ครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2564 ในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก
จานวน 17 ครัวเรือน ณ องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลยะต๊ะ อาเภอรามนั จังหวัดยะลา

วนั ที่ 31 พฤษภาคม 2565เจา้ หนา้ ท่ปี ระจาศูนยส์ ่งเสริมและพัฒนาท้องถ่ิน ปราชญ์ชาวบ้านประจาโครงการ การพัฒนา
เพาะเหด็ สมนุ ไพรส่กู ารแปรรูปผลติ ภณั ฑ์เหด็ เพ่อื สุขภาพ ลงพนื้ ทส่ี ่งเสริมอาชีพกิจกรรมการพัฒนาเพาะเห็ดสมุนไพรสู่การแปรรูป
ผลิตภัณฑ์เห็ดเพอื่ สุขภาพและการพัฒนาและส่งเสรมิ การปลกู ผักกลุ่มผกั สลัดทมี่ คี ณุ ภาพและปลอดสารพษิ ให้กับครัวเรือนตกเกณฑ์
จปฐ. ปี 2564 ในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ณ อาเภอกระพ้อ อาเภอเมือง
อาเภอโคกโพธิ์ จังหวดั ปตั ตานี

วันท่ี 9-10 มินายน 2565 ได้มีกาหนดการลงพ้ืนที่จัดอบรมกิจกรรมการเพาะเห็ดนางฟ้า พร้อมมอบผลิตภัณฑ์
ส่งเสริมอาชีพให้ครัวเรือนเป้าหมาย จานวน 40 ครัวเรือน ณ ที่ว่าการอาเภอสุไหงโกลก จานวน 31 ครัวเรือน
และท่ีวา่ การอาเภอเจาะไอร้อง จานวน 9 ครัวเรือน โดยมอบก้อนเห็ดสาเร็จรูป จานวน 100 /ครัวเรือน เพ่ือส่งเสริมอาชีพ
สรา้ งรายไดล้ ดรายจ่ายในครัวเรือน

13 ศนู ย์สง่ เสริมและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา

01 โครงการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และยกระดบั รายไดใ้ หก้ บั คนในชุมชนฐานราก

แกไ้ ขปญั หาโรคใบร่วงชนดิ ใหม่ในยางพาราจากเช้ือราดว้ ยสารชีวภณั ฑ์
วนั ท่ี 24 มีนาคม 2565 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อสิ มะแอ เจ๊ะหลง ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาบีดีน ดะแซสาเมาะ
อาจารยป์ ระจาโครงการ และเจ้าหน้าทปี่ ระจาศนู ยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาทอ้ งถิน่ ลงพื้นทีส่ ่งเสรมิ อาชีพการบูรณาการพันธกิจ
สัมพันธ์เพื่อแก้โรคใบร่วงชนิดใหม่ในยางพารา ให้กับครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2564 จานวน 22 ครัวเรือน
ณ ตาบลปุโรง อาเภอกรงปนิ ัง จังหวดั ยะลา

การฝึกอบรมอาชพี ตัดเย็บ
วันที่ 28 มีนาคม ถึง 30 มีนาคม 2565 อาจารย์ชินวัจน์ งามวรรณากร ผู้อานวยการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถ่ิน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พอหทัย ซุ่นสั้น อาจารย์ประจาโครงการ และเจ้าหน้าท่ีประจาศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น
ลงพื้นทสี่ ง่ เสริมอาชพี การแปรรปู ผลติ ภณั ฑผ์ ้าและเครื่องแต่งกาย ให้กับครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2564 ในกิจกรรมพัฒนา
คณุ ภาพชวี ติ และยกระดบั รายได้ใหก้ บั คนในชมุ ชน ฐานราก จานวน 12 ครัวเรอื น ณ อาคาร 10A มหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา

14 ศูนย์สง่ เสรมิ และพัฒนาทอ้ งถน่ิ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา

02 โครงการยกระดบั มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชมุ ชนผนวกUniversity as a Marketplace

ความร่วมมือในการดาเนนิ งาน

มหาวทิ ยาลัย หนว่ ยงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง ภาคประชาชน/ = บรู ณาการ
ราชภฏั ยะลา ในพ้ืนที่ ประชาสงั คม ความรว่ มมอื
ทุกภาคสว่ น

ตวั ชีว้ ดั และเปา้ หมาย

ครวั เรอื นเปา้ หมายใน ครัวเรือนทเี่ ข้าร่วม ในปีแรกสามารถแกไ้ ข สรุปผลการดาเนินโครงการ
พ้นื ที่ 3 จงั หวดั (ยะลา โครงการอย่างนอ้ ย ปัญหาครวั เรอื นยากจนพน้ และนามาถอดบทเรยี นสรา้ ง
ปตั ตานี และนราธิวาส) ร้อยละ 50 ของเป้าหมาย เกณฑ์ความยากจนในพ้นื ท่ี ต้นแบบโมเดล (Model)
โครงการใชห้ ลักปรชั ญา 3 จงั หวดั (ยะลา ปัตตานี การแกไ้ ขปัญหาความยากจน
จงั หวดั ละ 100 ครัวเรือน เศรษฐกจิ พอเพียงเพอื่ ลด ภายใน 5 ปีจังหวดั ละ 1
รายจ่ายเพิ่มรายได้ และนราธิวาส) รอ้ ยละ 50
ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 20 โมเดล

15 ศูนยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา

02 โครงการยกระดบั มาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชุมชนผนวกUniversity as a Marketplace

หนองจกิ สายบุรี
แมล่ าน ไมแ้ ก่น

เมืองยะลา บาเจาะ

กรงปนิ ัง ย่งี อ
ระแงะ

ธารโต ศรีสาคร สไุ หงปาดี

สคุ ิรนิ

เบตง

จงั หวดั ปัตตานี
จงั หวัดยะลา
จงั หวัดนราธิวาส

คณะกรรมการ ดาเนินโครงการ 1) พฒั นาผลติ ภัณฑช์ มุ ชนทอ้ งถิน่ 2) ลงพ้ืนที่เพ่ือสารวจศักยภาพและความพร้อม
ของกลมุ่ ผปู้ ระกอบการผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน 3) โดยมีการบรู ณาการประสานขอ้ มูลพ้นื ฐานของกลุ่มผู้ประกอบการผลติ ภณั ฑ์OTOP
จากสานกั งานพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น พ้ืนที่เป้าหมาย 13 อาเภอ ประกอบด้วย อาเภอธารโต อาเภอเบตง อาเภอเมือง
จงั หวัดยะลา อาเภอแม่ลาน อาเภอหนอกจิก อาเภอสายบรุ ี อาเภอไม้แก่น จังหวดั ปัตตานี และอาเภอศรีสาคร อาเภอสุคิริน
อาเภอย่ีงอ อาเภอระแงะ อาเภอสุไหงปาดี อาเภอบาเจาะ จังหวดั นราธวิ าส

ตวั ชว้ี ัดและเปา้ หมาย

ยกระดบั ผลิตภัณฑช์ ุมชน องค์ความรู้ด้านการยกระดบั พัฒนาผลติ ภณั ฑ์เปน็ SME
OTOP อย่างนอ้ ย 1 ระดับ ผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน OTOP

16 ศูนยส์ ง่ เสรมิ และพัฒนาทอ้ งถนิ่ มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา

02 โครงการยกระดบั มาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชนผนวกUniversity as a Marketplace

กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผลติ ภณั ฑช์ ุมชน
วันที่ 12 ตุลาคม 2564 อาจารย์ ดร.ภัทรวดี เอียดเต็ม ลงพื้นที่วิสาหกิจชุมชนกลุ่มบูดูบ้านบื อราเป๊ะ

อาเภอเมอื ง จงั หวัดนราธวิ าส ติดตามความก้าวหนา้ ในการปรับปรุงสถานประกอบการ พร้อมชีจ้ ุดและให้คาแนะนาส่วน
ท่ีตอ้ งห้ามตามทก่ี ระทรวงสาธารณสุขกาหนด เก่ยี วกับสถานท่ผี ลิตเพอ่ื ให้ไดม้ าตรฐาน

วันท่ี 16 พฤศจิกายน 2564 อาจารย์ ดร.ภัทรวดี เอียดเต็ม และคณะทางาน จัดอบรมปฏิบัติการ
เรื่อง ระบบ การวิเคราะห์อนั ตรายและจดุ วกิ ฤตทต่ี อ้ งควบคุมในการผลติ อาหาร และระบบการจัดการสุขลักษณะที่ดี
ในสถานประกอบการ ณ กลุม่ ร้านจั่วเฮงพานิช อาเภอเมืองยะลา จงั หวัดยะลา

วันที่ 4 - 5 มกราคม 2565 อาจารย์ชินวัจน์ งามวรรณากร ผู้อานวยการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น
มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา และเจา้ หนา้ ท่ีฯ ได้ลงพน้ื ที่ติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์
ชุมชนท้องถิ่น และได้ส่งมอบชุดออกบูธสาเร็จรูปให้กับกลุ่มผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น จังหวัดยะลา
จงั หวัดปัตตานี และจงั หวดั นราธวิ าส เพ่อื ใหผ้ ูป้ ระกอบการสามารถนาชดุ ออกบูธ ไปใช้ในงานตา่ ง ๆ ได้

วันท่ี 7 มกราคม 2565 อาจารย์ ดร.ภัทรวดี เอยี ดเต็มและคณะทางาน จดั อบรมปฏบิ ตั ิการ เรอ่ื ง การผลิตเต้าเจี้ยว
ใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ณ กลมุ่ รา้ นจัว่ เฮงพานิช อาเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

17 ศนู ย์ส่งเสรมิ และพฒั นาทอ้ งถ่นิ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา

02 โครงการยกระดบั มาตรฐานผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนผนวกUniversity as a Marketplace
พัฒนาผลิตภัณฑใ์ นห้องปฏิบัตกิ าร ประกอบดว้ ย 4 กลุ่ม

1. วิสาหกิจชุมชนบังเละตรีโกน่าฟาร์ม อาเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี ศึกษากระบวนการยีเนื้อตาลให้ได้
ประสทิ ธภิ าพเพือ่ ใชใ้ นการพัฒนาผลิตภัณฑจ์ ากนัน้ นาเน้ือตาลทไี่ ดม้ าแชแ่ ขง็

2. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มน้าบูดูบ้านบือราเป๊ะ อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส ศึกษาสูตรและวิธีการผลิตน้าบูดูเกรด 2
โดยทาการศึกษาหาปริมาณความเข้มข้นของน้าเกลือที่ใช้ผสมกับกากบดู ู และ ศกึ ษาหาอตั ราสว่ นปรมิ าณกากบดู ตู อ่ ปรมิ าณนา้ เกลือที่ใช้

3. กลุ่มแปรรูปเน้ือสัตว์ yru ศึกษาสูตรในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ไก่เบตงหย่อง โดยนาไก่ที่ไม่ผ่านมาตรฐานในการขาย
หรอื ไก่ท่สี ามารถขายได้ เชน่ ไก่ทม่ี ีอายแุ ก่ นามาพัฒนาเปน็ ผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยทาเปน็ ผลติ ภณั ฑไ์ ก่เบตงหย่อง

4. กลุ่มเจ๊ปูกุยช่ายเบตง อาเภอเบตง จังหวัดยะลา อยู่ในขั้นตอนการศึกษาการคืนรูปผลิตภัณฑ์กุยช่ายน่ึงที่แช่แข็งที่
อณุ หภูมิ -18 องศาเซลเซียส, - 20 องศาเซลเซียส และ - 40 องศาเซลเซยี ส และนาไปทดสอบทางประสาทสัมผัส วิเคราะห์ค่าสี
และเน้ือสัมผัส (texture)

18 ศูนยส์ ่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา

02 โครงการยกระดบั มาตรฐานผลิตภัณฑช์ มุ ชนผนวกUniversity as a Marketplace
พัฒนาคุณภาพผลติ ภณั ฑใ์ ห้เป็ นไปตามมาตรฐาน ประกอบดว้ ย 5 กลุ่ม

1. วิสาหกจิ ชุมชนตาลจะรังอามีน อาเภอยะหร่ิง จังหวดั ปัตตานี อย่รู ะหว่างการศึกษาหาอัตราส่วนปริมาณของ
สารตอ่ ความใสของน้าสม้ สายชหู มักจากน้าตาลโตนด

2. รา้ นจวั่ เฮงานิช อาเภอเมอื ง จงั หวดั ยะลา ไดล้ งพืน้ ที่เพอ่ื ศกึ ษาจดุ วิกฤต (ccp) ที่ตอ้ งควบคุมในการกระบวนผลิต
เตา้ เจ้ียวดี และเตา้ เจี้ยวถกู เพอื่ วิเคราะห์จดุ วกิ ฤต (ccp)

3. วสิ าหกิจชมุ ชนจะรังตาลโตนด อาเภอยะหรงิ่ จงั หวัดปัตตานี อยูร่ ะหวา่ งการศกึ ษาปัจจยั ทม่ี ีผลตอ่ คุณสมบตั ิทาง
เคมแี ละกายภาพของนา้ ตาลโตนดสด

4. วสิ าหกิจชมุ ชนปลาเคม็ กเุ ลาเคม็ ปา้ อว้ นตากใบ อาเภอตากใบ จงั หวดั นราธิวาส ไดล้ งพื้นท่ีเพื่อศึกษากระบวนการ
ผลติ ปลากุเลาเคม็ เพอ่ื วิเคราะห์ฉลากโภชนาการ และตรวจวเิ คราะหม์ าตรฐานผลิตภัณฑช์ มุ ชน (ปลากุเลาเค็ม)

5. วิสาหกจิ ชุมชนมงั่ คง ม่ันคง่ั ยั่งยนื อาเภอสไุ หงโก-ลก จังหวดั นราธิวาส ส่งวิเคราะห์ฉลากโภชนาการผลิตภัณฑ์
หมึกยา่ งเกาหลี โดยทาการวเิ คราะห์ฉลากโภชนาการแบบยาว 2 แบบ

19 ศนู ย์ส่งเสรมิ และพัฒนาท้องถ่ิน มหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา

02 โครงการยกระดบั มาตรฐานผลิตภัณฑช์ มุ ชนผนวกUniversity as a Marketplace
พัฒนาคุณภาพผลติ ภณั ฑ์ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐาน ประกอบดว้ ย 4 กลุ่ม

1. วิสาหกิจชมุ ชนบังเละตรีโกน่าฟาร์ม อาเภอปะนาเระ จงั หวดั ปตั ตานี ไดท้ ดลองการทาขนมตาลตามสูตรต่าง ๆ

2. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มนา้ บดู ูบา้ นบือราเป๊ะ อาเภอเมอื ง จังหวดั นราธิวาส ศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของน้าบดู ู

3. กล่มุ แปรรปู เนื้อสัตว์ yru อยใู่ นกระบวนการศึกษาอายกุ ารเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ไก่เบตงหยอง
4. กลุ่มเจ้ปูกุยช่ายเบตง อยู่ระหว่างการศึกษาอายุการเก็บผลิตภัณฑ์กุยช่ายน่ึง (สูตรเดิม) และการศึกษาการเติม Modified
starches ในผลติ ภัณฑ์กุยช่ายน่ึงแช่แข็ง

20 ศูนย์ส่งเสรมิ และพัฒนาท้องถนิ่ มหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา

02 โครงการยกระดบั มาตรฐานผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนผนวกUniversity as a Marketplace
พัฒนาคณุ ภาพผลิตภัณฑใ์ หเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐาน ประกอบด้วย 5 กลุ่ม

พฒั นาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้เป็นไปตามมาตรฐาน ประกอบดว้ ย 5 กลมุ่ ได้แก่
1. วสิ าหกิจชมุ ชนตาลจะรังอามีน อาเภอยะหริง่ จังหวัดปัตตานี ศกึ ษาผลของสานต่อความใสในน้าส้มสายชูหมกั จากตาลโตนด

2.วิสาหกจิ ชมุ ชนปลาเค็มกเุ ลาเค็มปา้ อว้ นตากใบ อาเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ได้ศึกษาปลากุเลาเค็ม (ปลาสดแช่เย็น 1 คืน) และ
ปลากุเลาเคม็ (ปลาสด)

3.วิสาหกิจชุมชนมั่งคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน อาเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส สุ่มตรวจวิเคราะห์เชื้อผลิตภัณฑ์ผงโรย ข้าว
รสปลาอินทรีทรงเครื่อง

4. ร้านจ่ัวเฮงานิช อาเภอเมือง จังหวัดยะลา ได้ลงพื้นท่ีเก็บตัวอย่างขวดที่บรรจุเต้าเจ้ียว และ swap=test เคร่ืองบรรจุเต้าเจ้ียว
เพ่อื วิเคราะห์หาเชอื้ จลุ ินทรยี ์ทง้ั หมด

5. วิสาหกิจชุมชนจะรังตาลโตนด อาเภอยะหร่ิง จังหวัดปัตตานี อยู่ระหว่างการศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อคุณสมบัติทางเคมี
และกายภาพของนา้ ตาลโตนดสดในช่วงฤดรู อ้ น

21 ศูนยส์ ง่ เสริมและพฒั นาทอ้ งถิน่ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา

02 โครงการยกระดบั มาตรฐานผลติ ภัณฑช์ ุมชนผนวกUniversity as a Marketplace

พฒั นาผลติ ภัณฑผ์ า้ และเครอ่ื งแตง่ กายจงั หวัดยะลา ปัตตานี นราธวิ าส

ระหว่างวันท่ี 4 - 12 ธันวาคม 2564 การอบรมเชงิ ปฏิบัติการพฒั นาผลิตภณั ฑ์ผา้ และเครือ่ งแตง่ กาย จังหวดั ยะลา
ปัตตานี และนราธิวาส ณ กลุ่มทอผ้าบ้านไม้แก่น หมู่ 1 ต.บ้านไม้แก่น อ.ไม้แก่น จ.ปัตตานี เพื่อพัฒนาผ้ายกตานี
“การรื้อฟนื้ ครงั้ สาคญั ในหน้าประวัติศาสตรม์ รดกสิ่งทอมลายู”

“ผ้ายกตานี” หน่งึ ในมรดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรมอันทรงคุณค่าของจังหวัดชายแดนภาคใต้ ท่ีผ่านการส่ังสม
สบื ทอดกันมาเปน็ เวลานับร้อยปี จัดเป็นผา้ ทอช้ันดที ่มี ีความวิจิตรงดงามและนิยมใชใ้ นหมู่ชนช้ันสูง โดยช่ือเสียงเรียงนาม
ของ ผา้ ยกตานี นนั้ ได้รับกล่าวขานกันมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ โดยเจ้าฟ้าหญิงกุณฑลได้ทรง
นาเอาชือ่ ผา้ ชนิดนไี้ ปกลา่ วไว้ในบทนิพนธ์ เรื่องดาหลังหรืออิเหนาใหญ่ คร้นั มาถงึ สมัยต้นกรงุ รัตนโกสินทร์ ผ้ายกตานีก็ได้
ถูกกล่าวขานขึ้นอีกคร้ังในบทพระราชนิพนธ์ เร่ือง ดาหลัง ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
และเรื่อง ขนุ ช้างขนุ แผน ในพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้านภาลยั ความว่า
นุ่งยกตานีทองช่องไฟ ห่มสไบชมพชู ูศรี
นั่งเอยี่ มเย่ียมคอยนาที พอคา่ สองศรีกล็ ลี า ฯลฯ
(พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลก, 2514: 145)
ผ้ายกตานนี ุง่ พุ่งทอง สอดสองซับดูสดใส
กรองนอกดอกฉลุดวงละไม เส้นไหมยอ้ มปอ้ งเปน็ มันยบั ฯลฯ
(พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลัย, 2517: 1100)

ระหวา่ งวันที่ 18 - 2 6 ธันวาคม 2564 จดั นทิ รรศการแสดงผลงานโครงการยุทธศาสตรม์ หาวิทยาลัยราชภัฏ
ในงาน OTOP ไทยสภู้ ัยโควิด - 19 ณ ชาเลนเจอร์ฮอลล์ 1 - 3 ศูนยแ์ สดงสินค้าและการประชุมอิมแพค็ เมืองทองธานี
จังหวดั นนทบุรี เพื่อนาเสนอผลงานการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ ภูมปิ ัญญาผา้ ทอผ้าบาตกิ สธี รรมชาติจากวัสดุธรรมชาตใิ นพื้นถ่ิน
ให้มรี ปู แบบ ลวดลายและสีสนั ทีเ่ ปน็ เอกลักษณ์และอตั ลกั ษณป์ ระจากลุ่ม พรอ้ มทง้ั นาเสนอผลงานการออกแบบสร้างสรรค์
ผลิตภณั ฑ์ผ้าผืนมาเป็นเครือ่ งแต่งกายโดยมหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา มคี นสนใจผลติ ภณั ฑ์และเสนอแนะเพ่อื นามาปรับปรุง
เรอื่ งลวดลายและการใชเ้ สน้ ใย

22 ศูนยส์ ่งเสรมิ และพฒั นาทอ้ งถน่ิ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา

02 โครงการยกระดบั มาตรฐานผลิตภณั ฑช์ มุ ชนผนวกUniversity as a Marketplace

พฒั นาผลติ ภัณฑ์ผา้ และเครอื่ งแตง่ กายจงั หวัดยะลา ปัตตานี นราธวิ าส

1. กลุ่มศิลปาชพี บา้ นกาหลง : จังหวดั นราธวิ าส
2.ศนู ยศ์ ิลปาชพี บา้ นสายบน : จังหวัดนราธิวาส
3. กล่มุ ทอผ้าบ้านไม้แกน่ : จังหวดั ปัตตานี
4.กลมุ่ ผ้าพมิ พช์ าววัง : จงั หวัดปตั ตานี
5.กลุ่มบือแนบาตกิ : จังหวดั ยะลา
เขา้ รว่ มโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผา้ และเครอ่ื งแตง่ กายใหเ้ ป็น Premium OTOP
กิจกรรมที่ 1 พัฒนาผลิตภัณฑผ์ า้ และเคร่อื งแต่งกายให้เป็น Premium OTOP
กาหนดการการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการภาคใต้ และภมู ิภาคใกลเ้ คยี ง
วันที่ 16 ตุลาคม 2564 เวลา 08.30 - 17.30 น. ณ โรงแรมบรรจงบุรี อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ดาเนนิ การโดยสานักส่งเสริมภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน กรมการพัฒนาชุมชนกระทรวงมหาดไทยนาความรู้
และข้อเสนอแนะของวทิ ยากรมาพัฒนาผลติ ภณั ฑผ์ ้า

ระหว่างวันที่ 4 –5 พฤศจกิ ายน 2564 จดั กิจกรรมการอบรมเชิงปฏบิ ัติการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าและเครื่องแต่ง
กาย จังหวัดยะลา ปตั ตานี และนราธิวาส ณ กลุม่ ผ้าพิมพ์ชาววัง ต.ยาบี อ.หนองจิก จ.ปตั ตานี เพื่อการพัฒนาลวดลายผ้า
ให้เป็น Premium OTOP

ระหว่างวนั ท่ี 6 - 11 พฤศจิกายน 2564 เวลา 09.00-16.00 น. จัดกิจกรรมอบรมการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม
ณ ฟาร์มตวั อยา่ งในสมเด็จพระนางเจา้ ฯพระบรมราชนิ ีนาถ บา้ นไม้แกน่ ตาบลไมแ้ ก่น อาเภอไม้แก่น จงั หวดั ปตั ตานี

ระหวา่ งวนั ที่ 12 และ 14 พฤศจกิ ายน 2564 จัดกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าและ
เครอื่ งแตง่ กาย จังหวัดยะลา ปตั ตานี และนราธิวาส ณ ศนู ย์ศิลปาชพี บา้ นกาหลง หมู่ 1 ต.กาหลง อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส
เพือ่ การพัฒนาลวดลายผา้ ให้เป็น Premium OTOP

23 ศูนยส์ ง่ เสรมิ และพัฒนาทอ้ งถิน่ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา

02 โครงการยกระดบั มาตรฐานผลิตภณั ฑช์ มุ ชนผนวกUniversity as a Marketplace
พฒั นาผลิตภณั ฑผ์ า้ และเครอ่ื งแตง่ กายจังหวดั ยะลา ปตั ตานี นราธวิ าส

ระหว่างวันท่ี 12 –14 มกราคม 2565 การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าและเครื่องแต่งกาย
จงั หวัดยะลา ปัตตานี และนราธวิ าส ณ กล่มุ ทอผ้ามดั หมี่ หมู่ที่ 5 ต.กะลวุ อเหนอื อ.เมอื ง จ.นราธิวาส ผ้าอยใู่ นกระบวนทอ

จัดนทิ รรศการผลติ ภณั ฑผ์ ้าทอในนามมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา สาหรับรับเสด็จ ฯ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริ
วณั ณวรี นารีรตั นราชกญั ญา จะเสดจ็ ฯมาทรงปฏบิ ตั ิพระราชกรณียกจิ ในพ้ืนทจ่ี งั หวัดนราธิวาส โดยกาหนดมาเยี่ยม ประชาชน
และทอดพระเนตรการทอผ้า ผลิตภัณฑ์ผ้าทอ ผ้าพ้ืนเมือง และงานศิลปาชีพ ในพื้นที่จังหวัดสงขลา ในวันเสาร์ที่ 19
กุมภาพันธ์ 2565 และทางจังหวัดสงขลา กาหนดจัดโครงการยกระดับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาผ้าไทย
และงานหัตถกรรมชมุ ชนภาคใต้ ระหวา่ งวันที่ 18 - 19 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ
60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี
นารรี ตั นราชกญั ญา ทรงมพี ระวนิ จิ ฉยั ใหน้ าเทรนดส์ ีมาปรับตามทม่ี รี บั สง่ั เพือ่ ส่งการบา้ นในปีตอ่ ไป

24 ศูนย์ส่งเสริมและพฒั นาทอ้ งถ่ิน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา

02 โครงการยกระดบั มาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชมุ ชนผนวกUniversity as a Marketplace
พัฒนาผลติ ภัณฑ์ผ้าและเครอื่ งแตง่ กายจังหวดั ยะลา ปัตตานี นราธวิ าส

จดั อบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าและเครื่องแต่งกาย จังหวัดยะลา ปัตตานี
และนราธิวาส ระหว่างวนั ที่ 4 –ข13 พฤษภาคม 2565 ณ กลุ่มทอผ้าศูนย์ศิลปาชีพบ้านกาหลง
หมู่ 1 ต.กาหลง อ.ศรสี าคร จ.นราธิวาส

กิจกรรมปลุกหม่อนเล้ียงไหม ดาเนินการทดลองเลี้ยงไหมบ้านพันธ์ุพ้ืนเมือง
เพ่อื ทดลองว่าเหมาะสมกบั สภาพอากาศในพนื้ ท่ี ตาบลไม้แก่น อ.ไมแ้ กน่ จ.ปัตตานี

ส่งเสรมิ ทางการตลาดผลติ ภณั ฑ์ชุมชนจังหวดั ชายแดนภาคใต้

วันท่ี 7 พฤษภาคม 2565 ต้อนรับ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม และคณะ
เยยี่ มชมบธู นิทรรศการศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพัฒนาท้องถ่ิน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา

วนั ที่ 22 พฤษภาคม 2565 ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
จัดบูธนิทรรศการสินค้า OTOP ในงาน "Kick Off พัฒนาอาชีพเสริม เพ่ิมรายได้ให้ชุมชนดีพร้อม"
ณ ประชุมเซอ่ รา ชน้ั 2 อาคารคณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา

วนั ที่ 25 พฤษภาคม 2565 –ข4 มิถุนายน 2565 ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถ่ิน
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ร่วมจัดบูธนิทรรศการ ในงานสมโภชหลักเมืองและงานกาชาด
จงั หวดั ยะลา ประจาปี 2565

25 ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทอ้ งถนิ่ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

02 โครงการยกระดบั มาตรฐานผลิตภณั ฑช์ มุ ชนผนวกUniversity as a Marketplace

กิจกรรมกากบั ตดิ ตาม และประเมินผลการดาเนินงานโครงการบม่ เพาะนกั ศกึ ษาผปู้ ระกอบการใหม่
ศนู ย์บม่ เพาะวิสาหกจิ ฯ ไดจ้ ัดกจิ กรรมกากับ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานโครงการบ่มเพาะนักศึกษา
ผู้ประกอบการใหม่โดยใช้ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจเป็นฐาน ภายใต้โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราช ภัฏ
เพื่อการพฒั นาท้องถ่ิน (จาโป โมเดล) จานวน 18 ราย ดังนี้

1. นายอาลีมนั สาและ 9/1 ม.6 ตาบลลาใหม่ อาเภอเมือง จังหวดั ยะลา
2. นายฮัซซนั สนิ 180 ม.5 ตาบลสะเอะ อาเภอกรงปินงั จังหวดั ยะลา
3. นางสาวโซรายา เจ๊ะหน๊ะ 81 ม.9 ตาบลยะหา อาเภอยะหา จงั หวัดยะลา
4. นายอัฟนันต์ หะยีเตะ 82/13 หมู่ 5 ตาบลสะเตงนอก อาเภอเมอื ง จงั หวัดยะลา
5. นายมูฮมั หมัดนัสรยี ์ อาบู 177 ถนนวิฑูรอุทศิ 6 ตาบลสะเตง อาเภอเมือง จงั หวดั ยะลา
6. นางสาวอิลฮัม กะโด 88/2 หมู่ 5 ตาบลสะเตงนอก อาเภอเมอื ง จงั หวดั ยะลา
7. นายซากีฟดุ ดีน บาซา 23/1 ม.5 ตาบลปา่ บอน อาเภอโคกโพธิ์ จงั หวัดปัตตานี
8. นางสาวรสุ นาณี อาแว ม.5 ตาบลละหาร อาเภอสายบรุ ี จังหวัดปัตตานี
9. นางสาวซูไฮลา อมุ าร 37/2 ม.5 ตาบลลูโบะยิไร อาเภอมายอ จงั หวัดปตั ตานี
10. นางสาวมสุ ลีหะฮ์ มะเละ 94 ม.3 ตาบลปลอ่ งหอย อาเภอกะพอ้ จงั หวัดปตั ตานี
11. นางสาวตว่ นซรู ีนา เจะอูเซ็น 91 ม.6 ตาบลกะนุดง อาเภอสายบรุ ี จังหวัดปัตตานี
12. นายอารฟาม มะลี 113 ม.3 ตาบลคอลอตนั หยง อาเภอหนองจิก จังหวัดปตั ตานี
13. นายมาซวู ัน ตูแป 74/1 ม.3 ตาบลลโู บะบอื ซา อาเภอยีงอ จงั หวัดนราธิวาส
14. นายฟัรฮัม วาหะ 3 ม.3 ตาบลแม่ดง อาเภอแวง้ จังหวัดนราธวิ าส
15. นางสาวฮซุ นา อบั ดลุ เลา๊ ะ 63/6 ม.7 ตาบลบาโงสะโต อาเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
16. นางสาวสวุ านี สาเมา๊ ะ7/7 ม.2 บ้านไอร์กลุแป ต.โคกสะตอ อ.รือเสาะ จังหวัดนราธวิ าส
17. นางสาวนาอมี ะ๊ โตะหลง 26 ม.7 ตาบลบาตง อาเภอรือเสาะ จังหวัดนราธวิ าส
18. นายอบั ดลุ ฮากิม แวดอื ราเซะ 51/2 ม.4 ตาบลลาโละ อาเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

26 ศูนย์ส่งเสรมิ และพัฒนาท้องถ่ิน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา

02 โครงการยกระดบั มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนผนวกUniversity as a Marketplace

การตลาดออนไลน์
วนั ท่ี 22 ธนั วาคม 64 เวลา 09.00 น. โดยมี นายภิรมย์ นิลทยา ผู้ว่าราชการจงั หวดั ยะลา (เป็นประธานเปิดโครงการ)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ โยธาทิพย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นายเตช บุญนาค เลขาธิการสภากาชาดไทย
และผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ทพิ ยวรรณ นิลทยา นายกเหลา่ กาชาดจงั หวัดยะลา ร่วมเป็นเกียรติในงานคร้ังนี้ด้วย สินค้าที่นามา
จาหน่ายเป็นผลิตภัณฑ์ Otop ที่ทางมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ลงไปพัฒนายกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ร่วมกับชุมชนใน
ดา้ นคณุ ภาพสินค้าใหไ้ ด้มาตรฐาน ดา้ นแพ็คเกจ ด้านการตลาดทัง้ ออนไลนแ์ ละออฟไลน์ (ขายหน้าร้าน) เพื่อให้เกิดการสร้างงาน
สร้างรายไดใ้ ห้แก่ชมุ ชน

วนั ท่ี 21ขมกราคม 2565 สถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จ.ยะลา NBT ร่วมกับศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถ่ิน
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ลงพื้นท่ี กลุ่มผ้าปาเต๊ะ มุสบา ปาเตะ ตาบลปาเสมัส อาเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส
เพอ่ื ถ่ายทาขา่ วประชาสัมพันธ์การผลิตผ้าปาเต๊ะและข้ันตอนการ เขียนหลายและลงสี โดยมี ทีมงานถ่ายทาข่าวช่อง NBT
อาจารย์พอหทัย ซุ่นสั่น อาจารยจ์ ริ าพร เกียรตินฤมล อาจารย์ณัฐญาวีรย์ เบ็ญนา อาจารย์ประจาโครงการ และเจ้าหน้าท่ี
ประจาศนู ย์สง่ เสรมิ และพัฒนาท้องถิ่น ร่วมลงพ้นื ท่ีในครั้งนีด้ ้วย

วันที่ 7 พฤษภาคม 65 ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม และคณะ เย่ยี มชมบูธนิทรรศการศนู ยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาทอ้ งถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
โดยมี ศาสตราจารย์ ดร. ศุภชัย ปทุมนากุล รองปลัดกระทรวงปลัดกระทรวงฯ นายอานาจ ชูทอง รองผู้ว่าราชการจังหวัด
ยะลา พรอ้ มด้วย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ โยธาทิพย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา คณะผู้บริหาร คณาจารย์
เจา้ หนา้ ที่ นักศกึ ษา และแขกผู้มเี กียรติ ร่วมต้อนรับ ณ หอประชุมเฉลมิ พระเกียรติ 80 พรรษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

27 ศนู ย์ส่งเสริมและพฒั นาทอ้ งถน่ิ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา

02 โครงการยกระดบั มาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชุมชนผนวกUniversity as a Marketplace

การตลาดออนไลน์
วนั ที่ (22 พ.ค.65) ศนู ยส์ ่งเสริมและพัฒนาท้องถน่ิ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา : LPDC จัดบูธนิทรรศการสินค้า OTOP

ในงาน"Kick Off พัฒนาอาชีพเสริม เพ่ิมรายได้ให้ชุมชนดีพร้อม" ณ ประชุมเซ่อรา ช้ัน 2 อาคารคณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา โดยมี นายธีระยุทธ วานิชชัง ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจากระทรวงอุตสาหกรรม เป็น
ประธานเปิดงาน"Kick Off พัฒนาอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ให้ชุมชนดีพร้อม" ซึ่งกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือ ดีพร้อม ได้
สง่ เสริมและพัฒนาผปู้ ระกอบการในชมุ ชน โดยดาเนินงานผ่านกิจกรรมต่าง ๆ พัฒนาผู้ประกอบการชุมชน โดยการยกระดับ
หมบู่ า้ นอตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์สู่การพัฒนาเศรษฐกจิ อย่างย่ังยืน

วันท่ี 25 พฤษภาคม ถึง 4 มิถุนายน 2565 ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ร่วม
จัดบธู นทิ รรศการ ในงานสมโภชหลักเมอื งและงานกาชาดจังหวดั ยะลา ประจาปี 2565 ซ่ึงประกอบไปด้วย สาหรับศูนย์ส่งเสริม
และพฒั นาทอ้ งถ่นิ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ได้จัดบูธนิทรรศการให้ความรู้และจาหน่ายสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน รวมท้ังสิ้น
จานวน 3 บธู ไดแ้ ก่ บูธนทิ รรศการ(JAPO Model) เกษตรผสมผสาน บูธสินค้าผลิตภัณฑ์ OTOP บูธผ้าปาเต๊ะและผ้าทอจากสี
ธรรมชาติ ซ่งึ เป็นอาชีพพฒั นาคณุ ภาพชีวติ และยกระดบั รายไดใ้ ห้ประชาชนในพื้นท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ถือเป็นหนึ่งใน
โครงการยุทธศาสตรม์ หาวิทยาลยั ราชภัฏเพ่ือการพฒั นาทอ้ งถ่ิน มแี นวทางการแก้ไขปัญหาความยากจน ได้ดาเนินการส่งเสริม
อาชพี อย่างต่อเนอ่ื ง

วันท่ี 26 กรกฎาคม 2565 ศนู ย์ส่งเสรมิ และพัฒนาทอ้ งถิน่ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ร่วมจัดบูธนิทรรศการ ในงาน"
ใตร้ ม่ จันทน์กะพ้อ" บันทกึ การเดินทาง 88 ปี จากโรงเรียนฝึกหัดครู สู่คลังปัญญาแห่งชายแดนใต้ สถาบันการศึกษาที่มุ่งเน้น
ผลิตบณั ฑติ อย่างมีคุณภาพ พฒั นาชมุ ชนท้องถน่ิ อยา่ งต่อเนือ่ ง
รวมยอดขายสนิ คา้ ผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน OTOP

28 ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถน่ิ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

02 โครงการยกระดบั มาตรฐานผลติ ภัณฑช์ มุ ชนผนวกUniversity as a Marketplace

การตลาดออนไลน์

ศนู ยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาท้องถน่ิ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา สง่ เสริมผลิตภัณฑใ์ ห้แก่กลุม่ ผลติ ภัณฑ์ชุมชน OTOP ใน
การพัฒนาแพ็คเกจบรรจุภัณฑ์ คุณภาพสินค้า ขอใบอนุญาต อย . และฮาลาล เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน
สู่มาตรฐาน เข้าช่องทางการตลาดออนไลน์ เกิดการสร้างมูลค่าเพ่ิม และสร้างรายได้ในท้องถ่ิน

น้าผงึ้ ชนั โรง สบนู่ า้ ผง้ึ ชันโรง เซรม่ั น้าผึ้งชันโรง ปลาส้มฮาลาบา นา้ พริกแม่ผวั
ลา

กระเป๋าบาตกิ กุย้ ชา่ ยเบตง เห็ดหยอง ข้าวดอนรัก กาแฟ HA-NGUS

น้าพริกปลานิล ปลากุเลาเคม็ สบู่สมนุ ไพรนาดี น้ามนั เขียวนาดี ทองมว้ น

29 ศนู ย์สง่ เสริมและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา

02 โครงการยกระดบั มาตรฐานผลติ ภัณฑช์ ุมชนผนวกUniversity as a Marketplace

ชอ่ งทางการขายออนไลน์
SHOPEE

LAZADA
Facebook

30 ศนู ย์ส่งเสริมและพฒั นาท้องถิน่ มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา

03 โครงการยกระดับการจดั การเรยี นรโู้ รงเรียนเครอื ขา่ ยขนาดเล็ก
หนองจิก

ธารโต ศรีสาคร

ตวั ช้วี ัดและเป้าหมาย รอ้ ยละของสถานศึกษาทีเ่ ข้า จงั หวัดปตั ตานี
ร่วมโครงการมผี ลการ จงั หวดั ยะลา
นักเรยี นมผี ลสมั ฤทธิ์ด้านการ ทดสอบทางการศึกษา จังหวดั นราธวิ าส
อา่ นออก เขยี นได้ รอ้ ยละ80
ระดบั ชาติข้ันพื้นฐานO-NET องค์ความรดู้ า้ นการ
ของโรงเรยี นทเี่ ขา้ รว่ ม เพม่ิ ขนึ้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 ยกระดับคณุ ภาพการ
โครงการ เรียนรดู้ ้านการอ่านการ
คะแนน (เป้าหมายปี 2566) เขยี นและการคดิ วเิ คราะห์
ของนกั เรยี นในระดับการ
จดั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

31 ศูนยส์ ง่ เสริมและพฒั นาท้องถ่ิน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา

03 โครงการยกระดบั การจดั การเรยี นรโู้ รงเรยี นเครอื ขา่ ยขนาดเลก็

การพฒั นาสอื่ ประกอบการสอนใช้นวัตกรรมแบบเร่มิ เรียนภาษาไทย
1 (มูลาบาฮาซา) เพือ่ ยกระดบั ของผู้เรียนด้านการอ่าน การเขียน และ

การคิดวเิ คราะห์ ท่เี หมาะสมกับบรบิ ทของโรงเรยี น

การพัฒนาสื่อประกอบการสอนใชน้ วตั กรรมแบบเริ่มเรียนภาษาไทย
2 (มูลาบาฮาซา) เพอ่ื ยกระดบั ของผเู้ รียนด้านการอ่าน การเขียน และ

การคดิ วเิ คราะห์ ที่เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน

กิจกรรม 3 พัฒนาศักยภาพครใู นการใช้ส่ือประกอบการใช้นวัตกรรมแบบเรมิ่
เรยี นภาษาไทย 2.4

4 การประเมินคุณภาพของนกั เรยี นทีใ่ ชน้ วัตกรรม

การอบรมปฏบิ ัตกิ ารหลกั สตู ร “ครขู องครชู ายแดนใต้” โดย

5 จดั อบรมปฏิบัตกิ ารใหก้ บั อาจารย์ สายครุศาสตร์ และครูศิษยเ์ ก่าโครงการ

ครูคนื ถน่ิ 2.1

6 การประยกุ ต์ใชบ้ ัตรคาและโปรแกรมสื่อสารผ่านภาษาภาพ

3 โรงเรยี นต้นแบบ จังหวัดยะลา จงั หวดั นราธวิ าส จงั หวดั ปตั ตานี
โรงเรยี นบ้านเยาะ โรงเรยี นชุมชนบ้านซากอ โรงเรียนบา้ นนา้ ดา
อาเภอหนองจกิ
อาเภอธารโต อาเภอศรสี าคร

60 โรงเรียนนารอ่ ง จงั หวดั ยะลา จังหวัดนราธวิ าส จังหวดั ปตั ตานี
จานวน 20 โรงเรียน จานวน 20 โรงเรยี น จานวน 20 โรงเรียน

32 ศูนยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาท้องถน่ิ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา

03 โครงการยกระดับการจดั การเรยี นรโู้ รงเรยี นเครอื ขา่ ยขนาดเล็ก

อบรมยกระดบั ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้นั พนื้ ฐาน (O-NET) วิชาภาษาองั กฤษ ให้แก่นกั เรยี น
จัดติว O-NET วิชาภาษาอังกฤษในรูปแบบออนไลน์ ระหว่างวันที่ 10 – 14 มกราคม 2565 โดยมีนักเรียน

เข้าร่วมกิจกรรม จานวน 475 คน จาก 21 โรงเรียน โดยมีคณาจารย์หลักสูตรภาษาอังกฤษ เป็นวิทยากร

จัดอบรมการใช้งานระบบคลังข้อสอบ O-NET ครั้งท่ี 2 ในวันที่ 15 มกราคม 2565 มีผู้เข้าร่วมการอบรม
จานวน 40 คน และมีผลความพึงพอใจในการอบรม อยู่ในระดับมากท่ีสุด ร้อยละ 90.67

จัดประชุมถอดบทเรียนการดาเนินกิจกรรม และการประเมินและติดตามการดาเนินโครงการ
วันท่ี 3 มีนาคม 2565 โดยมีผู้เข้าร่วมการประชุมจานวน 36 คน

เตรียมความพร้อมสู่การเป็นนักเรียน Gifted ระดับประถมศึกษาตอนปลายศึกษา
จัดในรูปแบบออนไลน์

- อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ ด้านวิชาคณิตศาสตร์
- อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ ด้านวิชาวิทยาศาสตร์
- อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ ด้านวิชาภาษาอังกฤษ
การอบรมใหค้ วามร้เู ชิงปฏิบัติการ การทดสอบเพ่ือวดั ระดับความสามารถ กจิ กรรมมนี กั เรยี นทเ่ี ข้ารว่ มทั้งหมด 65 คน
โดยมีวิทยากรในการมอบความรู้ให้นักเรียนดังนี้
1.นายนฤ ตราช่ืนต้อง
2.นางณัฐฏ์ฐาอร ณัฎฐากรสกุล
3.นางสาวสตารีย๊ะ มะลี

33 ศนู ยส์ ่งเสริมและพฒั นาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา

03 โครงการยกระดบั การจดั การเรยี นรโู้ รงเรียนเครอื ขา่ ยขนาดเลก็

เสริมศกั ยภาพสกู่ ารเปน็ นกั เรยี น Gifted ระดบั ประถมศึกษาตอนปลายศึกษา
- อบรมใหค้ วามรเู้ ชงิ ปฏิบตั กิ าร ด้านวิชาคณิตศาสตร์
- อบรมใหค้ วามรเู้ ชงิ ปฏิบัตกิ าร ด้านวิชาวทิ ยาศาสตร์
- การอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ การทดสอบเพื่อวัดระดับความสามารถ
กจิ กรรมมนี ักเรยี นทเ่ี ขา้ รว่ มทั้งหมด 13 คน

พฒั นาสู่ความเป็นเลศิ (Intens พฒั นาสู่ความเปน็ เลิศ (Intensive O-NET)
พฒั นาสคู่ วามเปน็ เลศิ (Intensive O-NET)
ระดับประถมศกึ ษาตอนปลายศกึ ษา
- อบรมใหค้ วามรูเ้ ชงิ ปฏิบตั ิการ ดา้ นวชิ าคณติ ศาสตร์
- อบรมให้ความรูเ้ ชงิ ปฏิบตั ิการ ดา้ นวชิ าวทิ ยาศาสตร์
- อบรมให้ความรเู้ ชิงปฏบิ ตั ิการ ด้านวชิ าภาษาองั กฤษ
- อบรมใหค้ วามรู้เชงิ ปฏบิ ตั ิการ ดา้ นวิชาภาษาไทย
- การอบรมใหค้ วามรเู้ ชิงปฏบิ ตั ิการ การทดสอบเพื่อวดั ระดบั ความสามารถ
กจิ กรรมมีนักเรยี นที่เข้าร่วมทั้งหมด 13 คน

34 ศนู ยส์ ง่ เสริมและพฒั นาทอ้ งถิ่น มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา

03 โครงการยกระดับการจดั การเรยี นรโู้ รงเรียนเครอื ข่ายขนาดเล็ก

คา่ ยเตรยี มความพรอ้ มสกู่ ารเปน็ นกั เรยี น Gifted
ค่ายเตรียมความพรอ้ มสกู่ ารเปน็ นกั เรียน Gifted
ระดับมัธยมศึกษา
- การอบรมใหค้ วามร้เู ชงิ ปฏิบัตกิ าร คา่ ยภาษาอังกฤษ
- การอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบตั ิการ ค่ายวทิ ยาศาสตร์
- การอบรมให้ความรูเ้ ชงิ ปฏิบัตกิ าร คา่ ยคณิตศาสตร์
- การอบรมใหค้ วามรูเ้ ชิงปฏิบตั ิการ ค่ายการค้นพบตัวเอง

เสรมิ ศกั ยภาพส่กู ารเปน็ นกั เรยี น Gifted ระดับมัธยมศกึ ษา
- การอบรมให้ความร้เู ชงิ ปฏิบตั กิ าร ค่ายภาษาอังกฤษ
- การอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบตั กิ าร คา่ ยวิทยาศาสตร์
- การอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบตั กิ าร ค่ายคณิตศาสตร์
- การอบรมให้ความรูเ้ ชิงปฏบิ ตั ิการ การค้นพบตวั เอง
กจิ กรรมมีนักเรยี นเข้าร่วมท้ังหมด 13 คน

35 ศูนย์ส่งเสรมิ และพัฒนาท้องถนิ่ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา

03 โครงการยกระดับการจดั การเรยี นรโู้ รงเรยี นเครอื ขา่ ยขนาดเล็ก
ยกกจิ รกะดรับรผมลทก่ีา3ร.ท1ดสย(อกOบรท-ะNาดงEกบั Tาผร)ศลโึกกรษงาาเรรรทะยี ดดนับสชจอาังตบหขิ ทว้นั ดัาพงชน้ื กฐาาายนรแศ(ดOึกน-ษNภาEารTคะ)ใดโตรบั ง้ เชรียานตจขิ งั น้ัหวพดั นื้ ชฐายาแนดนภาคใต้

วนั ที่ 8 เมษายน 2565 จัดกิจกรรมยกระดับผลการทดสอบทางการศกึ ระดับชาติขั้น
พนื้ ฐาน (O-NET) โรงเรียนจังหวัดชายแดนภาคใต้ ณ ห้องประชุมเซอรา คณะมนุษยศาสตร์
และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา

พัฒนาศักยภาพสู่การเป็นนักเรยี น Gifted ระดบั ประถมศึกษา
ระหวา่ งวันท่ี 25 - 29 เมษายน 2565 และ 9 - 13 พฤษภาคม 2565 ได้จัดกิจกรรม

ท่ี 2.2 กจิ กรรมเสรมิ ศกั ยภาพสู่การเปน็ นกั เรยี น Gifted ระดับประถมศึกษาตอนปลายศึกษา
โดยมนี กั เรยี นทีเ่ ขา้ ร่วมกจิ กรรมทัง้ หมด 22 คน

ระหว่างวันท่ี 9 - 13 พฤษภาคม 2565 ได้จัดกิจกรรมที่ 3.2 กิจกรรมเสริม
ศักยภาพสู่การเป็นนักเรียน Gifted ระดับมัธยมศึกษาโดยมีนักเรียนท่ีเข้าร่วมกิจกรรม
ทง้ั หมด 20 คน

ระหว่างวนั ที่ 11-12 ,18-19 มิถุนายน 2565 ได้จัดกิจกรรมท่ี 2.2 กิจกรรมเสริม
ศักยภาพสู่การเป็นนักเรียน Gifted ระดับประถมศึกษาตอนปลายศึกษา โดยมีนักเรียน
ท่ีเข้าร่วมกิจกรรมท้ังหมด 22 คน

ระหว่างวันที่ 11-12 ,18-19 มิถุนายน 2565 ได้จัดกิจกรรมท่ี 3.2 กิจกรรมเสริม
ศกั ยภาพสกู่ ารเป็นนกั เรียน Gifted ระดับมัธยมศึกษาโดยมีนักเรียนท่ีเข้าร่วมกิจกรรม
ทัง้ หมด 20 คน

36 ศูนยส์ ่งเสริมและพัฒนาทอ้ งถ่นิ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

03 โครงการยกระดับการจดั การเรยี นรโู้ รงเรียนเครอื ข่ายขนาดเลก็

สนบั สนนุ DLTV เพอ่ื แก้ไขปญั หาขาดแคลนครูใหก้ บั โรงเรียนขนาดเลก็
1. สรุปประเด็นสารวจความตอ้ งการของโรงเรียนในการใหม้ หาวิทยาลัยเขา้ ไปผลติ สารคดี และส่อื วีดทิ ัศน์เพือ่ สนับสนุนการ

เรยี นการสอนผ่านสถานโี ทรทัศนท์ างไกลผ่านดาวเทียม(DLTV) โดยกาหนดแบง่ ออกเป็น 5 วิชา วิชาละ 5 เร่ือง รวมทงั้ 25 เรอ่ื ง
2.ประชุมอาจารย์ผ้สู อนและทีมถ่ายทาเพ่อื กาหนดตารางการถา่ ยทาและรูปแบบการเรียนการสอน โดยกาหนดตารางการ

ถา่ ยทา เริม่ ต้ังแต่วันที่ 1 กุมภาพนั ธ์ ถงึ วันท่ี 8 มนี าคม 2565
3.ผลิตสารคดี และสือ่ วดี ิทัศนเ์ พอ่ื สนับสนนุ การเรียนการสอนผ่านสถานีโทรทศั น์ทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV)

37 ศูนยส์ ง่ เสริมและพฒั นาท้องถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

04 โครงการขับเคล่อื นและขยายผลวิศวกรสังคมมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

กจิ กรรมขยายผลวิศวกรสังคมมหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา
- ในกิจกรรมต้นทาง กจิ กรรมที่ 1 จัดกจิ กรรมอบรมในไตรมาสท่ี 2 ได้จานวน 1 รุ่น กาหนดจานวนผู้เข้าร่วม

120 คน เม่อื ผเู้ ข้าร่วมได้เขา้ ร่วมจรงิ ไดเ้ พียง 85 คน ซ่งึ ปญั หาเกดิ จากสถานการณ์โควิดท่ีนักศึกษาติดเชื้อโควิดและอยู่ใน
ความเสี่ยงสูง นอกจากน้ี ได้มีการประชุมกาหนดรุ่นท่ี 3 (วันที่ 10-13 กุมภาพันธ์ 2565) และรุ่นท่ี 4 (วันที่ 25-28
กมุ ภาพันธ์ 2565) ซ่ึงตอ้ งประกาศเลอ่ื นจัดกจิ กรรมเนอ่ื งจากนักศกึ ษาทง้ั กล่มุ แม่ไก่ และผู้เข้าอบรมได้รับแจ้งว่ามีการติด
เชอ้ื และอยู่ในความเสี่ยงสูง รวมท้ังได้ขอคาปรึกษาจากผู้บริหารระดบั สงู ของมหาวทิ ยาลัยใหเ้ ลอื่ นออกไปก่อน

- กจิ กรรมที่ 2 ปรับเปล่ียนเป็นใหผ้ ปู้ ระกอบการชมุ ชนเข้ามาร่วมในการอบรมเพ่ือปอ้ งกนั นักศึกษาและชุมชนตดิ เชอ้ื โควิด
- ได้ดาเนินการจัดอบรมโครงการวิศวกรสังคม เพื่อพัฒนาชายแดนใต้ ให้แก่นักศึกษาจานวน 3 รุ่น ๆ ละ 82 คน
และจัดอบรมใหแ้ กอ่ าจารยแ์ ละบุคลากร จานวน2รุ่น ณห้องประชุมหลานซา ชน้ั 5อาคารกิจกรรมนักศึกษามหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา

38 ศนู ย์ส่งเสรมิ และพัฒนาท้องถิน่ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา

04 โครงการขับเคลอื่ นและขยายผลวิศวกรสงั คมมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา

กจิ กรรม U2T for BCG Fair @ YRU ขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลงั โควดิ ดว้ ยเศรษฐกจิ BCG (U2T for BCG)
วันนี้ 29 กันยายน 2565 เวลา 09.30 น. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.บุญสิทธิ์ ไชยชนะ รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยราช

ภฏั ยะลา เป็นประธานเปดิ งานกิจกรรม U2T for BCG Fair @ YRU โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ
BCG (U2T for BCG) โดยมี ผู้บรหิ าร บุคลากร และ ผู้เขา้ รว่ มจากพ้ืนที่ในความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จานวน 64 ตาบล
วทิ ยาลัยชุมชนยะลาจานวน 7 ตาบล และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จานวน 3 ตาบล ประกอบด้วย ผู้บริหาร อาจารย์ หัวหน้าโครงการ
บริการวิชาการ และเจ้าหน้าท่ีโครงการประจาตาบลทั้งประเภทบัณฑิตและประชาชน ณ ลานวัฒนธรรมคณะครุศาสตร์ และคณะ
มนษุ ยศาสตรฯ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา

ภายในงานมีกิจกรรมการแสดงผลิตภัณฑ์จาหน่ายจากตาบล จานวน 64 ตาบล การแสดงศิลปวัฒนธรรมชายแดนใต้
การแสดงดนตรีสดจากวงดนตรี Darkness Huso Star เวทแี ลกเปลี่ยนผลการดาเนินงาน U2Tfor BCG และเวทเี จาะความสาเรจ็ โครงการเด่น

39 ศนู ย์ส่งเสริมและพัฒนาทอ้ งถิน่ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

05 โครงการพัฒนาสมรรถนะภาษาองั กฤษในศตวรรษที่ 21 สาหรบั นักศึกษา

คณะทางาน/ผู้รบั ผดิ ชอบ ตวั ชว้ี ดั และเปา้ หมาย

1.ศูนยภ์ าษาและอาเซยี นศึกษา นกั ศึกษาท่ีเข้ารวมโครงการไม่น้อยกว่า
2.สถาบันภาษา มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ร้อยละ 20 ของผู้เข้าร่วมโครงการ
3.สยามจุลละมณฑล จากัดกรุงเทพมหานคร ทง้ั หมดสามารถสอบภาษาอังกฤษผ่าน
4.บริษัท เอ็ดลงิ ค์ จากดั กรงุ เทพมหานคร เกณฑ์ CEFR ระดับ B1

40 ศูนยส์ ่งเสรมิ และพฒั นาทอ้ งถนิ่ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

05 โครงการพฒั นาสมรรถนะภาษาองั กฤษในศตวรรษท่ี 21 สาหรับนกั ศึกษา

กิจกรรม ฝึกอบรมทักษะภาษาอังกฤษ
ตามผลการสอบ
สอบวดั ความสามารถด้าน
ภาษาองั กฤษตามเกณฑม์ าตรฐาน

ทดสอบภาษาองั กฤษ
TOEIC

- อยู่ในระหว่างข้ันตอนการติวสอบภาษาอังกฤษ TOEIC ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สาหรับนักศึกษาสาย
ครศุ าสตร์บัณฑิตนอกเวลาเรยี น (Extra-time) โดยใช้หอพกั เปน็ ฐาน ชน้ั ปที ่ี 1 รหสั 64 จานวน 448 คน และนักศึกษาช้ันปีท่ี 2
รหสั 63 จานวน 431 คน

41 ศูนย์สง่ เสริมและพฒั นาท้องถ่ิน มหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา

05 โครงการพฒั นาสมรรถนะภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21 สาหรับนกั ศึกษา

กจิ กรรมพัฒนาสมรรถนะภาษาอังกฤษในศตวรรษท่ี 21
กิจกรรมพัฒนาสมรรถนะภาษาอังกฤษในศตวรรษท่ี 21 สาหรับนักศึกษาสายครุศาสตร์บัณฑิตนอกเวลาเรียน
(Extra time) โดยใชห้ อพกั เป็นฐาน ช้ันปที 1ี่ รหัส 64 จานวน 442 คน และนักศกึ ษาช้ันปีที่ 2 รหัส 63 จานวน 427 คน

42 ศูนย์สง่ เสริมและพัฒนาท้องถ่ิน มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา

06 โครงการจดั ทาฐานข้อมลู ชุมชน และสมรรถนะภาคเี ครอื ขา่ ย

กิจกรรมการพฒั นากลมุ่ ข้อมูล (Rajabhat University Dataset framework)
วันที่ 16 พฤศจกิ ายน 2564 ศูนยส์ ง่ เสริมและพัฒนาท้องถน่ิ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ไดม้ กี ารจดั อบรมให้ กับนักศึกษา
ในรูปแบบออนไลน์ ผา่ นโปรแกรม Zoom และให้นกั ศกึ ษาลงพ้นื ที่เกบ็ ข้อมูลชว่ งปิดเทอมในพื้นที่ สามจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ เพอ่ื รวบรวมขอ้ มลู ปฐมภูมิและทตุ ิยภมู ิในท้องถิ่น นามาจดั ทาฐานขอ้ มลู ระดับบคุ คล และครัวเรือน ใช้ประโยชน์
เป็นฐานขอ้ มลู ในการตดั สินใจและวางแผนการดาเนินโครงการตามภารกิจของมหาวิทยา ลยั ราชภัฏยะลาตอ่ ไป

กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวติ และยกระดบั รายได้ให้ประชาชนในพนื้ ท่สี ามจังหวดั ชายแดนภาคใต้ JAPO Model
วันท่ี 24 มกราคม 2565 ณ ทีว่ า่ การกานนั ตาบลตลง่ิ ชัน อาเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนา

ทอ้ งถน่ิ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา จดั อบรมและมอบวัสดทุ าคอกไกเ่ บตงโครงการวิจัย ขยายผลเครือข่าย Japo-Modle
พฒั นาคุณภาพชวี ิตและยกระดบั รายได้แก่ประชาชนในพื้นที่อาเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา โดยมี ผศ.ดร.อิสมะแอ เจ๊ะหลง
วิทยากร ผู้เชีย่ วชาญด้านการเลีย้ งผึง้ ชันโรง และอาจารย์เกตวรรณ บญุ เทพ วิทยากร ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นการเล้ียงไกเ่ บตง

การจดั กจิ กรรมโครงการวิจัย ขยายผลเครือข่าย JapooModle ในคร้ังนี้ ได้รับได้รับเกียรติ อาจารย์ ดร.นิรันดิ์เกียรติ
ลว่ิ คุณูปการ รองอธกิ ารบดฝี า่ ยนโยบายและแผน (ประธานในพิธีเปิด) นายอาดิลัน อาลีอิสเฮาะ ส.ส.ยะลา นายเวสารัช
คงนวลใย พัฒนาการอาเภอบันนังสตา พร้อมด้วยคณะดาเนินงาน กานันตาบลตลิ่งชัน และชาวบ้านอาเภอ
บันนังสตา จังหวัดยะลา จานวน 21 ครัวเรือน

43 ศูนยส์ ง่ เสรมิ และพัฒนาท้องถ่นิ มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา

06 โครงการจดั ทาฐานข้อมูลชุมชน และสมรรถนะภาคเี ครอื ขา่ ย

พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และยกระดบั รายไดใ้ ห้ประชาชนในพนื้ ที่สามจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ JAPO Model
วันท่ี 10 มกราคม 2565 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้ประชาชนในพ้ืนที่สามจังหวัด

ชายแดนใต้ ลงพื้นที่ประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมในการสร้างแปลงตัวอย่าง ในโครงการคร่ึงไร่ครึ่งล้าน
ณ ศูนยก์ ารเรยี นร้มู หาวทิ ยาลัยราชภัฏแม่ลาน อาเภอแมล่ าน จังหวัดปัตตานี

วันที่ 18 มกราคม 2565 กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวติ และยกระดบั รายได้ให้ประชาชนในพ้ืนทีส่ ามจงั หวัดชายแดน
ใต้ ได้มีการลงพื้นท่ีมอบวัสดุในการสร้างโรงเรือนไก่เบตง ส่งเสริมอาชีพการเพาะเห็ด การปลูกผักท้องถ่ิน
และการเล้ยี งผง้ึ ชันโรง ณ ศนู ยก์ ารเรยี นรูม้ หาวิทยาลัยราชภัฏแม่ลาน อาเภอแม่ลาน จงั หวัดปัตตานี

วันที่ 24 มกราคม 2565 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้ประชาชนในพ้ืนท่ีสามจังหวัดชายแดนใต้
อาจารย์ประจาโครงการและเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ ร่วมกับทีมงาน ท่าน ส.ส อดิลัน อาลีอิสเฮาะ และทีมงานพัฒนาการ
อาเภอตล่ิงชัน ลงพื้นทมี่ อบวสั ดใุ นการสรา้ งโรงเรอื นไก่เบตง ณ ท่ีทาการกานันตาบลตลตลิง่ ชนั อาเภอบันนงั สตา จังหวดั ยะลา

วันที่ 26 มกราคม 2565 อาจารย์ ดร.นิรันด์ิเกียรติ ล่ิวคุณูปการ รองอธิการบดีฝ่ายนโยบายและแผน
อาจารย์เกตวรรณ บุญเทพ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อสิ ริยาภรณ์ ดารงรกั ษอ์ าจารย์ประจาโครงการ และเจ้าหน้าที่ประจาศูนย์
ส่งเสริมและพฒั นาท้องถ่ิน ร่วมกับทีมงานพัฒนาการตาบลลาพะยา ตาบลวังพญา ตาบลท่าธง ลงพ้ืนที่ีสารวจพ้ืนที่ในการ
ส่งเสริมอาชีพกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้ประชาชน ในพ้ืนที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
JAPO MODEL ณ ตาบลลาพะยา อาเภอเมอื ง ตาบลวังพญา ตาบลทา่ ธง อาเภอรามัน จังหวดั ยะลา

44 ศนู ย์สง่ เสริมและพัฒนาท้องถิน่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา

06 โครงการจัดทาฐานขอ้ มลู ชุมชน และสมรรถนะภาคีเครือขา่ ย

พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ และยกระดบั รายได้ให้ประชาชนในพ้ืนท่สี ามจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ JAPO Model
วนั ที่ 26 มกราคม 2565 ดร.นิรนั ดเ์ิ กยี รติ ลว่ิ คณุ ูปการ รองอธกิ ารบดี ฝา่ ยนโยบายและแผน และอาจารย์เกตวรรณ

บญุ เทพ อาจารย์ประจาหลักสตู ร สาขาสตั วศาสตร์ และธุรกิจปศุสัตว์ รายงานผลการดาเนินงาน โครงการยุทธศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพอื่ การพัฒนาทอ้ งถิ่น

วนั ท่ี 15 กมุ ภาพันธ์ 2565 อาจารย์สมทบ เวทโอสถ อาจารย์ประจาโครงการ และเจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ส่งเสริม
และพฒั นาท้องถ่ิน ลงพื้นท่ีมอบก้อนเห็ดนางฟ้าเพื่อส่งเสริมอาชีพการเพาะเห็ด ให้กับครัวเรือนโครงการจาโปโมเดล
จงั หวัดยะลา จานวน 20 ครัวเรอื น ณ ศูนยก์ ารเรียนรู้มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั แม่ลาน อาเภอแม่ลาน จงั หวัดปตั ตานี

วันท่ี 22 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ตาบลอาซ่อง อาเภอรามัน จังหวัดยะลา อาจารย์ ดร.นิรันดิ์เกียรติ ลิ่วคุณูปการ
รองอธกิ ารบดฝี า่ ยนโยบายและแผน หวั หนา้ ทมี OM1และทมี นกั วิจัย ภายใต้โครงการงานวิจัยและนวัตกรรมเพ่ือแก้ไขปัญหา
ความยากจนแบบเบ็ดเสรจ็ และแม่นยาจงั หวัดยะลา หน่วยบริหารและจดั การทนุ ด้านการพฒั นาระดับพ้นื ที่ (บพท.)

วันที่ 9 มีนาคม 2565 ณ ที่ทาการกานันตาบลตล่ิงชนั อาเภอบนั นงั สตา จังหวัดยะลา คณะนักวิจัยร่วมดาเนินกิจกรรม
ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตลูกไก่เบตง เหด็ นางฟ้า ผึ้งชันโรง ผักท้องถ่ิน เชิงพาณิชย์ พร้อมวางแผนการผลิต และจาหน่าย
ภายใต้โครงการวิจัยเร่ือง “ขยายผลเครือข่าย (JAPO-Model)ขพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้ประชาชนในพื้นที่
อาเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา” เป็นโครงการวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนทุนการทากิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย
และนวัตกรรม เพอ่ื การขับเคลอื่ นเศรษฐกจิ ฐานราก โดยเครือข่ายวจิ ยั ภูมิภาค ประจาปีงบประมาณ 2564

45 ศนู ย์ส่งเสรมิ และพัฒนาทอ้ งถิน่ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา

06 โครงการจัดทาฐานข้อมูลชุมชน และสมรรถนะภาคเี ครือข่าย

พัฒนาคณุ ภาพชีวติ และยกระดับรายไดใ้ หป้ ระชาชนในพ้ืนที่สามจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ JAPO Model
วนั พธุ ท่ี 23 มนี าคม 2565 ณ ตาบลอาซ่อง อาเภอรามนั จังหวดั ยะลา อาจารย์ ดร.นริ ันดเ์ิ กียรติ ล่วิ คุณปู การ หัวหน้าทีม OM1
มอบหมายให้ทีมนักวจิ ยั และบคุ ลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ลงพ้ืนที่ภายใต้โครงการงานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อแก้ไข
ปัญหาความยากจนแบบเบด็ เสร็จและแมน่ ยาจังหวดั ยะลา หนว่ ยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดบั พนื้ ที่ (บพท.)

วันที่ 4 เมษายน 2565 อาจารย์ชินวัจน์ งามวรรณากร ผู้อานวยการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น
อาจารยเ์ กตวรรณ บญุ เทพ อาจารยป์ ระจาโครงการ และเจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถ่ิน ลงพ้ืนที่สนับสนุน
และสง่ เสรมิ อาชีพการเลี้ยงไกเ่ บตง ในกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้ประชาชน ในพื้นที่สามจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ JAPO MODEL ณ ตาบลไพรวลั ย์ อาเภอตากใบ จงั หวดั นราธิวาส

วันท่ี 9 เมษายน 2564 อาจารย์ ดร.นิรนั ดเิ์ กยี รติ ล่ิวคณุ ูปการ รองอธิการบดีฝา่ ยนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ยะลา และคณะทางานพร้อมด้วย นายอาดิลัน อาลีอิสเฮาะ ส.ส.ยะลา เขต 1 พรรคพลังประชารัฐ โดยได้รับเกียรติจาก
นายศรทั ธา คชพลายกุ ต์ รองเลขาธิการศนู ยอ์ านวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ และคณะทางาน ร่วมลงพ้ืนท่ีศึกษาดูงาน
ศนู ยก์ ารเรยี นรูช้ มุ ชนตน้ แบบ (Local Lab) และตรวจเยี่ยมผลการดาเนนิ งานโครงการ JAPO Model

วันท่ี 18 เมษายน 2565 เวลา 11.00 ณ ห้องประชุมสถาบันพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาชายแดนภาคใต้
อาคาร 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ โยธาทิพย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ประธานการประชุมหารือแนวทางการขับเคลื่อนโครงการ ยกระดับเศรษฐกิจฐานรากด้วยนวัตกรรมเกษตรแบบผสมผสาน
(JAPO Model) ครงึ่ ไรค่ รึง่ ลา้ น ให้ครัวเรอื นยากจนในพ้ืนทีส่ ามจังหวัดชายแดนภาคใต้

46 ศูนย์ส่งเสรมิ และพฒั นาท้องถนิ่ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา


Click to View FlipBook Version