The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปผลรายงานผลการดำเนินการโครงการยุทธศาสตร์ ปีงบประมาณ 2566 ไตรมาสที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lpdc, 2023-03-14 03:17:45

สรุปผลรายงานผลการดำเนินการโครงการยุทธศาสตร์ ปีงบประมาณ 2566 ไตรมาสที่ 1

สรุปผลรายงานผลการดำเนินการโครงการยุทธศาสตร์ ปีงบประมาณ 2566 ไตรมาสที่ 1

รายงานผลการด าเดินงาน ศ ู นย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาสัยราชกัฏยะลา โครงการยุทธศาสตร์ Y a l a R a j a b h a t U n i v e r s i t y มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประจ าปีงบประมาณ 2566 ไตรมาสที่1 Local Promotion and Development Center


“ข้าพเจ้าได้ไปพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อเนื่องมาเป็นเวลากว่า 30 ปีแล้วท าให้รู้สึกมีความสุขและผูกพันกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏทั้งหลายอย่างมาก-ไปทุกครั้งก็มีความสุขอยากให้ทุกคนมีก าลังใจที่จะท าให้มหาวิทยาลัยราชภัฏของเรา-เป็นประโยชน์กับประชาชน เป็นประโยชน์ต่อภูมิภาคและท้องถิ่นจริงๆ จังๆ ในเรื่องการด ารงชีวิต ในเรื่องความรู้ทั่วไป และข้อส าคัญคือผลิต คนดีผลิตคนดีที่เห็นประโยชน์แก่ ชาติ-ศาสนา-พระมหากษัตริย์-และสังคม-คิดว่ามหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นสถาบัน-ที่เป็นประโยชน์และเป็นกลไกที่พัฒนาประเทศได้อย่างยิ่ง ถ้าหากตั้งใจ ร่วมกัน และคุยกันให้มากๆ จะเป็นสถาบันหลักที่พัฒนาประเทศและประชาชนอย่างมาก...” พระราชด ารัสสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร 9 พฤษภาคม 2560 ณ ที่นั่งอัมพรสถาน


สารบัญ รายงานการเบิกจ่ายงบประมาณ 2566 ไตรมาสที่1 โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น โครงการพัฒนาแผนบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนด้วยภาพอนาคตเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน โครงการวิศวกรสังคมเพื่อพัฒนาชายแดนใต้ โครงการยกระดับการจัดการเรียนรู้โรงเรียนเครือข่ายขนาดเล็ก โครงการพัฒนาสมรรถนะภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21 ส าหรับนักศึกษา โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนผนวก UNIVERSITY AS A MARKETPLACE โครงการยกระดับมาตรฐานสมรรถนะบัณฑิตครูสู่ความเป็นเลิศ โครงการจัดท าฐานข้อมูลชุมชนและสมรรถนะภาคีเครือข่าย โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก โครงการจัดท าแผนการด าเนินงานในการเตรียมความพร้อมเพื่อขอขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก โครงการพัฒนาแนวทางการอยู่ร่วมกันระหว่างชุมชนและผู้ประกอบการโรงโม่หิน โครงการส่งเสริมและพัฒนาการด าเนินงานของการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง “จันทน์กะพ้อ” โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อยกระดับพืชท้องถิ่น (ดาหลา) สู่การน าไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ เรื่อง หน้า 01 02 03 05 07 09 18 20 22 26 28 30 32


3 ค าน า ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา-จัดท ารายงานผลการด าเนินโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น-ประจ าปีงบประมาณ-พ.ศ.-2566-(ไตรมาสที่-1) โดยได้ด าเนินโครงการเพื่อสนองตอบพระบรมราโชบายของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 10 ในการเป็นสถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี มีพื้นที่ให้บริการในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (จังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาส) ผ่านการลงพื้นที่ บริการวิชาการรับใช้สังคมภายใต้การบูรณาการศาสตร์องค์ความรู้ของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและการท างานอย่างมีส่วนร่วมกับหน่วยงาน ภาคีเครือข่ายประกอบไปด้วย (1.) โครงการพัฒนาแผนบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนด้วยภาพอนาคตเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (2.) โครงการวิศวกรสังคมเพื่อพัฒนาชายแดนใต้ (3.) โครงการยกระดับการจัดการเรียนรู้โรงเรียนเครือข่ายขนาดเล็ก (4.) โครงการพัฒนา สมรรถนะภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21 ส าหรับนักศึกษา (5.) โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนผนวก University-as-a Marketplace-(6.)-โครงการยกระดับมาตรฐานสมรรถนะบัณฑิตครูสู่ความเป็นเลิศ (7.) โครงการจัดท าฐานข้อมูลชุมชนและสมรรถนะภาคีเครือข่าย (8.) โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก (9.) โครงการจัดท าแผนการด าเนินงานในการเตรียม ความพร้อมเพื่อขอขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก (10.) โครงการพัฒนาแนวทางการอยู่ร่วมกันระหว่างชุมชนและผู้ประกอบการโรงโม่หิน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน-ต าบลลิดล-อ าเภอเมืองยะลา-จังหวัดยะลา (11.) โครงการส่งเสริมและพัฒนาการ ด าเนินงานของการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง “จันทน์กะพ้อ” มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (12.) โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อยกระดับพืชท้องถิ่น (ดาหลา) สู่การน าไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ในการนี้ เพื่อให้การขับเคลื่อนโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เป็นไปด้วย ความเรียบร้อย ด้วยการบูรณาการความร่วมมือทั้งหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภาคีเครือข่ายภายนอก จึงได้น าเสนอกระบวนการท างาน และผลการด าเนินโครงการดังกล่าวเป็นระยะ ซึ่งเป็นการรายงานความก้าวหน้าผลการด าเนินโครงการพัฒนาท้องถิ่น เพื่อให้คณะผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และหน่วยงานภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ได้รับทราบผลการด าเนินงานในรอบไตรมาส ก่อให้เกิดการประสาน ความร่วมมืออย่างต่อเนื่อง-อันเป็นผลส าคัญต่อการขับเคลื่อนโครงการดังกล่าว-ให้บรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัดที่ก าหนดไว้-โดยมุ่งเน้น ให้ประชาชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับผลกระทบเชิงบวก-จากการพัฒนาท้องถิ่นอย่างแท้จริง-หากรายละเอียดที่น าเสนอ ผิดพลาดประการใด ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น ต้องขออภัยมา ณ โอกาสนี้


งบประมาณปี2566 26,424,700.00 งบประมาณปี2566 13,289,399 50.29% รายงานการเบิกจ่ายงบประมาณปี2566 แต่ละโครงการ 1.โครงการพัฒนาแผนบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนด้วยภาพอนาคตเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 2.โครงการวิศวกรสังคมเพื่อพัฒนาชายแดนใต้ 48.42% 3.โครงการยกระดับการจัดการเรียนรู้โรงเรียนเครือข่ายขนาดเล็ก 52.67% 4.โครงการพัฒนาสมรรถนะภาษาอังกฤษในศตวรรษที่21 ส าหรับนักศึกษา 23.98% 5.โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนผนวก UNIVERSITY AS A MARKETPLACE 44.20% 6.โครงการยกระดับมาตรฐานสมรรถนะบัณฑิตครูสู่ความเป็นเลิศ 51.41% 7.โครงการจัดท าฐานข้อมูลชุมชนและสมรรถนะภาคีเครือข่าย 35.83% 8.โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก 9.โครงการจัดท าแผนการด าเนินงานในการเตรียมความพร้อมเพื่อขอขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก 10.โครงการพัฒนาแนวทางการอยู่ร่วมกันระหว่างชุมชนและผู้ประกอบการโรงโม่หิน 11.โครงการส่งเสริมและพัฒนาการด าเนินงานของการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง “จันทน์กะพ้อ” 36.34% 12.โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อยกระดับพืชท้องถิ่น (ดาหลา) สู่การน าไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ 48.38% ภาพรวมการเบิกจ่ายโครงการยุทธศาสตร์ 22.28% 71.43% 41.35% 33.52% รายงานการเบิกจ่ายงบประมาณ 2566 ไตรมาสที่1 โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น 1


โครงการพัฒนาแผนบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนด้วยภาพอนาคต 01 เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป้าหมายและตัวชี้วัดระดับโครงการ กลุ่มเป้าหมาย - เชิงปริมาณ 1. แผนบริหารจัดการมหาวิทยาลัยสู่มหาวิทยาลัย SDG และเพิ่มขึ้นต่อเนื่องร้อยละ 10 ต่อปี 2.-จ านวนพื้นที่อันเนื่องมาจากพระราชด าริมีการพัฒนายกระดับเป็นศูนย์การเรียนรู้เพื่อเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนส าหรับการบริหาร จัดการทรัพยากรชุมชน 1 แห่ง 3. แผนบริหารจัดการทรัพยากรชุมชน 1 แผน 4. องค์ความรู้นวัตกรรมด้านการยกระดับการใช้ทรัพยากรของชุมชน SDG จังหวัดละ 1 องค์ความรู้ 5. จ านวนนักศึกษาที่เข้าร่วมพัฒนาต่อจังหวัด จังหวัดละ 10 คน 6. เครือข่ายอนุรักษ์ดูแล ทรัพยากรของชุมชน 1 เครือข่าย กลุ่มเป้าหมาย – เชิงคุณภาพ 1. มีมหาวิทยาลัยผ่านการรับรองและยื่นขอใหม่เป็นมหาวิทยาลัย SDG ร้อยละ 10 ต่อปี 2. มีพื้นที่อันเนื่องมาจากพระราชด าริมีการพัฒนายกระดับและมีศักยภาพในการบริหารจัดการ 3. มีแผนบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างมีศักยภาพ โดย อปท. น าข้อมูลไปใช้งาน เกิดเครือข่ายทรัพยากรในพื้นที่ ตัวชี้วัด - ผลผลิต 1. แผนบริหารจัดการมหาวิทยาลัยสู่มหาวิทยาลัย SDGและเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ร้อยละ 10 ต่อปี 2. จ านวนพื้นที่อันเนื่องมาจากพระราชด าริมีการพัฒนายกระดับ จังหวัดละ 1 แห่ง 3. แผนบริหารจัดการทรัพยากรชุมชน 1 แผน 4. องค์ความรู้นวัตกรรมด้านการยกระดับการใช้ทรัพยากรของชุมชน SDG จังหวัดละ 1 องค์ความรู้ 5. จ านวนนักศึกษาที่เข้าร่วมพัฒนาต่อจังหวัด จังหวัดละ 10 คน 6. เครือข่ายอนุรักษ์ดูแล ทรัพยากรของชุมชน ตัวชี้วัด – ผลลัพธ์ ศูนย์การถ่ายทอดองค์ความรู้การบริหารจัดการทรัพยากรชุมชน 1 ศูนย์ ตัวชี้วัด - ผลกระทบ มีมหาวิทยาลัยผ่านการรับรองและยื่นขอใหม่เป็นมหาวิทยาลัย-SDG-ร้อยละ-10-ต่อปีมีแผนบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนอย่าง มีศักยภาพ 1 แผน แผนการด าเนินงาน 1. พัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยสู่มหาวิทยาลัย SDG 2. พัฒนาศักยภาพการใช้งานของทรัพยากรในชุมชน 3. พัฒนากลไกหมุนเวียนการใช้ประโยชน์ของทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่และเครือข่ายรับผิดชอบดูแลทรัพยากร 4. พัฒนาแผนบริหารจัดการชุมชนในการใช้ประโยชน์ทรัพยากรให้เหมาะกับการด าเนินเศรษฐกิจ การท่องเที่ยวและสังคม 5. พัฒนาศูนย์การถ่ายทอดองค์ความรู้การบริหารจัดการทรัพยากรชุมชน 2


โครงการวิศวกรสังคมเพื่อพัฒนาชายแดนใต้ 02 เป้าหมายและตัวชี้วัดระดับโครงการ กลุ่มเป้าหมาย – เชิงปริมาณ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จ านวน 200 คน แบ่งเป็น นักศึกษาที่ไม่เคยผ่านการอบรมวิศวกรสังคมในปีที่ผ่านมา จ านวน 100 คน และนักศึกษาที่เคยผ่านการอบรมวิศวกรสังคมในปีที่ผ่านมาเพื่อยกระดับความรู้(Reskill) จ านวน 100 คน กลุ่มเป้าหมาย - เชิงคุณภาพ 1. นักศึกษาเกิดความรู้ความเข้าใจ มีคุณลักษณะและทักษะวิศวกรสังคมที่สามารถน า ไปประยุกต์ใช้เพื่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น 2. นักศึกษาสามารถสร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรมให้เกิดขึ้นต่อชุมชนได้ ตัวชี้วัด - ผลผลิต นักศึกษาเข้าร่วมอบรมและมีความรู้ความเข้าใจ ร้อยละ 80 ตัวชี้วัด - ผลลัพธ์ นักศึกษาผ่านการอบรมวิศวกรสังคม และผ่านการ Reskills 100 คน ผลงานสร้างสรรค์นวัตกรรมชุมชน 4 ชิ้น ตัวชี้วัด - ผลกระทบ 1. นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏมีการพัฒนา Solf Skill ด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม ได้แก่ ทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงเหตุผล ทักษะการ สื่อสาร ทักษะการท างานร่วมกับผู้อื่นโดยปราศจากข้อขัดแย้ง และทักษะการสร้างนวัตกรรมเพื่อสังคม 2. นักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริงแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนในมิติต่างๆในพื้นที่ 3.-ชุมชนท้องถิ่นได้รับองค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่มีในมหาวิทยาลัยราชภัฏไปใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเอง และจัดการตนเองได้อย่างยั่งยืน เช่น การเกษตร การตลาด การประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว ธุรกิจอาหาร การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า สัตวบาล แผนการด าเนินงาน 1. อบรมวิศวกรสังคมและลงพื้นที่ชุมชนเพื่อสร้างนวัตกรรม 2. กิจกรรมการประกวดนวัตกรรมชุมชน 3


ประมาณการทางการเงิน กิจกรรมตามแผน การผลิตวิศวกรสังคม (อบรมทักษะวิศวกรสังคม) วิศวกรสังคม เพื่อพัฒนาชายแดนใต้จ านวน 100 คน เข้าร่วมจริง119 คน นักศึกษาจากทั้ง4 คณะ ทุกชั้นปี เข้าร่วมกิจกรรมวันที่21-24 พฤศจิกายน 2565 4


โครงการยกระดับการจัดการเรียนรู้โรงเรียนเครือข่ายขนาดเล็ก 03 เป้าหมายและตัวชี้วัดระดับโครงการ กลุ่มเป้าหมาย - เชิงปริมาณ 1. นักเรียนในพื้นที่ 3 จังหวัดระดับชั้นประถมปีที่ 6 ที่เข้าร่วมกิจกรรมมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-Net) เพิ่มขึ้นไม่ต่ ากว่ารายวิชาละ 3 คะแนน 2. จ านวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมผ่านการทดสอบจากข้อสอบมาตรฐาน (คะแนนร้อยละ 60) ร้อยละ 85 กลุ่มเป้าหมาย - เชิงคุณภาพ นักเรียนในพื้นที่ 3 จังหวัดระดับชั้นประถมปีที่ 6 ที่เข้าร่วมโครงการมีคะแนน ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-Net) เพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด - ผลผลิต นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม มีคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ของในระดับการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-Net) เพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด – ผลลัพธ์ ยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนในระดับการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐานของ โรงเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้น ร้อยละ 85 ตัวชี้วัด - ผลกระทบ นักเรียนในระดับค่าคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-Net) เพิ่มขึ้น 3 คะเเนน แผนการด าเนินงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา คุณภาพชีวิตและรายได้ของประชาชน 2. สนับสนุน DLTV เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนครูให้กับโรงเรียนขนาดเล็ก 5


ถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา คุณภาพชีวิตและรายได้ของประชาชนจัดติวO-NET วิชาภาษาไทยในรูปแบบ ออนไลน์และออนไซต์ให้กับนักเรียนชั้นประถมปีที่ 6 ระหว่างวันที่ 19 - 23 ธันวาคม 2565 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมในรูปแบบออนไซต์จ านวน 123 คน จาก 23 โรงเรียน และผู้เข้าร่วมกิจกรรมในรูปแบบออนไลน์จ านวน 814 คน จาก 66 โรงเรียน โดยมีคณาจารย์จากหลักสูตรภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เป็นวิทยากร 6 จัดอบรมการใช้งานระบบคลังข้อสอบ O-NET ครั้งที่ 1 ในวันที่ 24 ธันวาคม 2565 ในรูปแบบออนไลน์มีผู้เข้าร่วมการอบรมจ านวน 50 คน โดยมีวิทยากร จากศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น


โครงการพัฒนาสมรรถนะภาษาอังกฤษ 04 ในศตวรรษที่21 ส าหรับนักศึกษา เป้าหมายและตัวชี้วัดระดับโครงการ กลุ่มเป้าหมาย - เชิงปริมาณ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จ านวน 500 คน ได้รับการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษตามเกณฑ์มาตรฐาน CEFR ในระดับ B1 กลุ่มเป้าหมาย – เชิงคุณภาพ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จ านวน 500 คน สามารถสอบวัดความรู้ภาษาอังกฤษตามเกณฑ์มาตรฐาน CEFR ระดับ B1 - B2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ตัวชี้วัด - ผลผลิต นักศึกษาผ่านการทดสอบตามเกณฑ์CEFR ระดับ B1 ร้อยละ 3 ตัวชี้วัด - ผลลัพธ์ นักศึกษาผ่านการอบรมตามเกณฑ์CEFR และสอบวัดความรู้มาตรฐาน 500 คน 4 คณะ มรย. มีสื่อสารสนเทศภาษาอังกฤษเพื่อเตรียมสอบ ภาษาอังกฤษ CEFR 20 ชิ้น ตัวชี้วัด - ผลกระทบ นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษและผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับ B1 ร้อยละ 3 แผนการด าเนินงาน 1. ยกระดับความสามารถภาษาอังกฤษของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาสู่มาตรฐานระดับ B1 7


ศภอ.วางแผนและประชาสัมพันธ์การด าเนินงานการจัดกิจกรรมร่วมกับคณะต่างๆ และได้ก าหนดปฏิทินการด าเนินงานการอบรม และประสานงานกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมอบรม ซึ่งมีนักศึกษาเข้าร่วมลงทะเบียนจ านวน 314 คน โดยให้นักศึกษาเข้าระบบสอบ ออนไลน์ egifted ตั้งแต่วันที่ 15 – 31 ธันวาคม 2565 แบบไม่จ ากัดเวลาและจ านวนครั้ง และได้ส่งหนังสือเชิญไปยังวิทยากรทั้ง 2 ท่าน จากมหาวิทยาลัยศิลปากรเพื่อมาเป็นวิทยากรในวันที่ 7 – 8 มกราคม 2566 8


โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนผนวก 05 UNIVERSITY AS A MARKETPLACE เป้าหมายและตัวชี้วัดระดับโครงการ กลุ่มเป้าหมาย - เชิงปริมาณ 1. ผลิตภัณฑ์ชุมชนในพื้นที่ได้รับการพัฒนาและยกระดับ จ านวน 5 ผลิตภัณฑ์/จังหวัด 2. จ านวนอัตลักษณ์ของท้องถิ่นได้รับการอนุรักษ์และยกระดับ จ านวน 1 อัตลักษณ์/จังหวัด (อัตลักษณ์ของพืชและสัตว์เศรษฐกิจตัว รอง รวมทั้งงานด้านวัฒนธรรม) ( Bio และ Culture สร้างมูลค่าสูงทางเศรษฐกิจเชิงพาณิชย์) 3. จ านวนผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับการพัฒนา/วิสาหกิจชุมชน/ผู้ประกอบการใหม่ในพื้นที่บริการของ มรภ. ที่ประสบความส าเร็จจาก การสนับสนุนองค์ความรู้จาก มรภ. จ านวน 5 ผลิตภัณฑ์ต่อจังหวัด 4.ช่องทางการตลาดออนไลน์ผ่านสื่อ Social media โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏด าเนินการเปิดพื้นที่ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภคสู่ตลาด ออนไลน์University as a Marketplace กลุ่มเป้าหมาย - เชิงคุณภาพ ผู้ผลิตและผู้ประกอบการที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพและมีขีดความสามารถที่เพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด - ผลผลิต จ านวนผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP ในพื้นที่จังหวัดยะลาปัตตานีและนราธิวาสได้รับการพัฒนาอย่างน้อย5 ผลิตภัณฑ์ต่อจังหวัด15 ผลิตภัณฑ์ ตัวชี้วัด - ผลลัพธ์ ผู้ประกอบการ OTOP ที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 15 ตัวชี้วัด - ผลกระทบ ผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP ที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาและยกระดับให้มาตรฐานและคุณภาพที่สูงขึ้น 15 ผลิตภัณฑ์ แผนการด าเนินงาน 1. บริหารจัดการโครงการ ก ากับ ติดตาม และประเมินผลการด าเนินงานโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น 2. ส่งเสริมการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม 3. ส่งเสริมทางการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชนจังหวัดชายแดนภาคใต้ 4. พัฒนาผลิตภัณฑ์จากดอกดาวเรืองเหลือใช้ในชุมชน 5. สร้างภาพลักษณ์ใหม่ให้กับโฮมสเตย์อ าเภอเบตง จังหวัดยะลา 6. บริการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างตามวิธีมาตรฐาน ISO/IEC 7. ยกระดับห่วงโซคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) จากพืชอัตลักษณ์ 8. ยกระดับมาตรฐานสินค้าของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) 9


พัฒนาผลิตภัณฑ์จากดอกดาวเรืองเหลือใช้ในชุมชน พัฒนาผลิตภัณฑ์จากดอกดาวเรืองเหลือใช้ในชุมชน 1. ประชุมคณะกรรมการการด าเนินงานในการวางแผนลงพื้นที่เก็บข้อมูลความต้องการของกลุ่มในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์พร้อมติดต่อประสานงานกลุ่มเพื่อลงพื้นที่ส ารวจ 05 10 2. ลงพื้นที่เพื่อส ารวจความต้องการของกลุ่มที่ท าการปลูกดอกดาวเรือง จ านวน 3 กลุ่ม คือ 2.1 กลุ่มขยายผลบ้านธารโต อ าเภอธารโต 2.2 กลุ่มขยายผลหมู่บ้านวังใหม่อ าเภอเบตง 2.3 ลงพื้นที่กลุ่มขยายผลบ้านยะรม อ าเภอเบตง 3. น าข้อมูลที่ได้กลับมาประชุม วิเคราะห์และพัฒนาผลิตภัณฑ์ในห้องปฏิบัติการ


11 สร้างภาพลักษณ์ใหม่ให้กับโฮมสเตย์อ าเภอเบตง จังหวัดยะลา 1.-ลานหมอกแคมป์ปิ้ง-ต าบลตะเนาะแมเราะ-อ าเภอเบตง-จังหวัดยะลาวิเคราะห์พื้นที่ถึงปัญหาในด้านการออกแบบ-รวมถึงสัมภาษณ์ผู้ประกอบการ มีความต้องการและหาจุดเด่นของโฮมสเตย์ลานหมอกแคมป์ปิ้งตั้งอยู่บนพื้นที่สูงโดยต้องเดินทางขึ้นไปที่พักด้วยรถของลานหมอก-โดยตรงที่พัก ส่วนใหญ่เป็นรูปแบบเต้นท์เกือบทั้งหมด และมีห้องพักเพียง 2 ห้องเท่านั้น โดยจุดเด่นคือการได้ชื่นชมหมอกยามเช้า และการตั้งแคมป์ปิ้ง ย่างอาหาร เหมาะกับนักท่องเที่ยวแคมป์ปิ้งโดยเฉพาะซึ่งส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวมาเลเซียและไทยในวัยท างานซึ่งตอนนี้ทางผู้ประกอบการก าลังจะขยาย เต้นท์และร้านกาแฟเพิ่มเติม เพื่อต้อนรับนักท่องเที่ยวที่มีจ านวนมากขึ้น 2.-บ้านแบอา ต าบลไอเยอร์เวง อ าเภอเบตง จังหวัดยะลาวิเคราะห์พื้นที่ถึงปัญหาในด้านการออกแบบ รวมถึงสัมภาษณ์ผู้ประกอบการ ความต้องการและหาจุดเด่นของโฮมสเตย์บ้านแบอาเป็นบ้านพักที่เงียบสงบ มีเพียงห้องพักไม่กี่ห้อง ซึ่งตั้งอยู่ทางเข้าก่อนขึ้นไอเยอร์เวง ผู้เข้า พักส่วนใหญ่จะมาเป็นครอบครัว ผู้สูงวัย และวัยท างานที่ต้องการความสงบ มีลานหญ้ากว้างส าหรับนั่งรับประทานอาหาร ซึ่งทางที่พักจะมีจุด ส าหรับย่างอาหารอย่างเป็นสัดส่วน และในช่วงฤดูผลไม้สามารถให้ผู้เข้าพักได้ชิมผลไม้ตามฤดูกาล รวมถึงมีธารน้ าตกส าหรับไปเล่นน้ า แต่จะมี ยุงชุกชมมากเนื่องจากอยู่ใกล้สวนยาง และสวนผลไม้ซึ่งในปัจจุบันผู้ประกอบการได้สร้างบ้านพักขนาดใหญ่รับรองผู้เข้าพักที่มาในรูปแบบ ครอบครัว 3.-คูลแคมป์ปิ้งรีสอร์ท ต าบลแม่หวาด อ าเภอธารโต จังหวัดยะลา วิเคราะห์พื้นที่ถึงปัญหาในด้านการออกแบบรวมถึงสัมภาษผู้ประกอบการ ความต้องการและหาจุดเด่นของโฮมสเตย์คูลแคมป์ปิ้ง รีสอร์ท ตั้งอยู่บนพื้นที่สูง การเดินทางสามารถใช้รถส่วนตัวไปถึงที่พักได้ส่วนใหญ่เป็น ห้องพักที่ทาสีสันสดใส และมีชื่อห้องตามสีของตัวบ้าน มีเพียงเต้นท์ไม่กี่หลัง รูปแบบห้องพักมีความหลากหลาย มีทั้งพัก 2 คน และครอบครัว สามารถรองรับจ านวนผู้เข้าพักได้จ านวนมากบรรยากาศโดยรอบจะมีดอกไม้ตามทางเดินจ านวนมากและมีสัตว์หลากหลายชนิด(เนื่องจาก เจ้าของเป็นคนชอบเลี้ยงสัตว์)ลูกค้าส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและมาเลเซียที่ชื่นชอบการพักผ่อนชื่นชมธรรมชาติแต่มีที่จอดรถ ค่อนข้างน้อย ในส่วนของต้อนรับมีพื้นที่เล็กไม่เป็นระเบียบ และห้องพักค่อนข้างสลับซับซ้อน


12 บริการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างตามวิธีมาตรฐาน ISOIEC 17025 งานบริการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างน้ าของศูนย์วิทยาศาสตร์มีการด าเนินงานตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 วันที่ 26 ธันวาคม 2565 ผู้บริหารและบุคลากรศูนย์วิทยาศาสตร์ น าทีมโดยอาจารย์ดร.ภัทรวดี เอียดเต็ม รักษาการในต าแหน่ง ผู้อ านวยการศูนย์วิทยาศาสตร์และเจ้าหน้าที่คลินิกเทคโนโลยีเข้าร่วมจัดนิทรรศการในงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมงกุฎราชกุมาร ครั้งที่ 1 ณ เรือนจ าชั่วคราวโคกยามู ต าบลไพรวัน อ าเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกษตรกรในพื้นที่ห่างไกลสามารถเข้าถึงการบริการทางการเกษตร และได้รับการแก้ไขปัญหาด้านเกษตรอย่างครบวงจรใน คราวเดียวกัน โดยมีนายสนั่น พงษ์อักษร ผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส เป็นประธานเปิดงาน ซึ่งศูนย์วิทยาศาสตร์ได้ให้บริการตรวจรับวิเคราะห์ ตัวอย่างดิน น้ า ปุ๋ย และผัก (ตรวจวิเคราะห์ฟรีจ ากัด 20 ตัวอย่าง) สาธิตการตรวจวัดความขุ่น ความกระด้าง และการวัดค่าน้ าไฟฟ้า มีผู้สนใจ เข้าร่วมชมและลงทะเบียน เพื่อขอรับสิทธิ์ในการส่งตัวอย่างตรวจวิเคราะห์ฟรีและขอค าปรึกษาจากคลินิกเทคโนโลยี พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP พืชอัตลักษณ์ชายแดนใต้ พัฒนาห่วงโซ่คุณค่าทุเรียนจังหวัดยะลา 1. ลงพื้นที่ชี้แจ้งโครงการกับภาคีเครือข่ายและเกษตรกรในพื้นที่ อ าเภอเบตง ร่วมทั้งวิเคราะห์ประเด็นปัญหาของเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนในพื้นที่ 2. ลงพื้นที่ส ารวจและศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับห่วงโซ่ทุเรียน พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่เกษตรอ าเภอเบตง เพื่อประชุมเรื่องการยกดับทุเรียน สะเด็ดยะลา ประกอบด้วย 3 กลุ่ม ได้แก่ 1. กลุ่มอัยมือลอ 2. กลุ่มปิยะมิตร 3 และ 3. แปลงต้นแบบการผลิตทุเรียน (นายวิพัก แซ่ลิ่ม) ซึ่งได้เก็บตัวอย่างเบื้องต้น มาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ โดยท าการศึกษาองค์ประกอบทางกายภาพ และเคมีของทุเรียนที่ระดับอัตราการสุก 70 –ข80 เปอร์เซ็นต์ของทุเรียนหมอนทอง คือ ทางกายภาพได้แก่ วิเคราะห์ค่าสี ค่าความแน่นเนื้อ ค่า Brixขและค่าเนื้อสัมผัส ส่วนทางเคมี ได้แก่ วิเคราะห์ความชื้น และวิเคราะห์ Bomb-calorimeterขโดยน าเปลือกทุเรียนนอกฤดูมาท าการอบ เพื่อเตรียมตัวอย่างในการวิเคราะห์ องค์ประกอบทางเคมีและด าเนินการรับเปลือกทุเรียนนอกฤดูกาลท าการหมัก เพื่อดูลักษณะ และกระบวนการหมัก เพื่อพัฒนาแปรรูปผลิภัณฑ์ อาหารสัตว์ ส่วนการประเมินคาร์บอนฟุตปรินท์ของทุเรียนสะเด็ดน้ ามีรายละเอียดการด าเนินกิจกรรมของกระบวนการประเมินคาร์บอนฟุตปรินท์ ของทุเรียนสะเด็ดน้ า ดังนี้ 1. การเลือกผลิตภัณฑ์ การประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ทุเรียนสะเด็ดน้ าครั้งนี้เลือกผลิตภัณฑ์ทุเรียนสะเด็ดน้ าของกลุ่มทุเรียน คุณภาพบ้านอัยมือลอ โดยมีนายอาแว สมาแฮ เป็นประธานของกลุ่ม ซึ่งเป็นกลุ่มน าร่องในการผลิตทุเรียนคุณภาพในพื้นที่ โดยเป็นแหล่ง รวบรวมทุเรียนที่ส าคัญของพื้นที่อ าเภอเบตง โดยกระบวนการประเมินคาร์บอนฟุตปริ้นจะค านวณต่อ 1 กิโลกรัมทุเรียนผลสด จากการลงพื้นที่ เก็บข้อมูลคัดเลือกทุเรียนพันธุ์หมอนทองผลสด พบว่า 1 ลูกของทุเรียนคุณภาพมีน้ าหนักโดยเฉลี่ย 3 กิโลกรัม การก าหนดหน่วยหน้าที่การ ท างานหรือหน่วยผลิตภัณฑ์อ้างอิง (Function Unit) ในการค านวณคาร์บอนฟุตปริ้นจะค านวณต่อ 1 กิโลกรัมทุเรียนผลสด และการก าหนด ขอบเขตของการประเมินเป็นแบบ Business to Consumer (B2C) โดยจะครอบคลุมตั้งแต่การได้มาของวัตถุดิบ ขั้นตอนการผลิต ขั้นตอน การกระจายสินค้า ขั้นตอนการใช้งาน และขั้นตอนการก าจัดซาก โดยเป็นการประเมินแบบ Cradle-to-Graveขโดยสามารถน ามาท าแผนผังวัฏจักร ผลิตภัณฑ์ได้ 2. แผนภาพการผลิตทุเรียนสะเด็ดน้ ายะลา การจัดท าแผนภาพกระบวนการผลิตต้องระบุสารขาเข้าและสารขาออกของปริมาณการใช้พลังงาน ทรัพยากร และของเสียที่เกิดขึ้นจาก กระบวนการผลิตโดยวิธี Mass Balance และ Energy Balance โดยการค านวณจะต้องจัดท าสมดุลมวลสารและค านวณข้อมูลให้อยู่ในรูปปริมาณ การใช้วัตถุ พลังงาน และของเสียต่อหน่วยการท างาน ซึ่งเป็นข้อมูลที่มีอยู่ตั้งแต่ปี 2565-2566 จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลสามารถสรุปได้ดังนี้ 2.1 สารขาเข้า (วัตถุดิบ) ทุเรียน ปริมาณการผลิตทุเรียน 420 ตัน/ปี พื้นที่การปลูกทุเรียน 13-1-33 ไร่ จ านวนต้นทั้งหมด 200 ต้น ทรัพยากรและวัสดุช่วยในการผลิต - ปุ๋ย ปริมาณการใช้ 500 กระสอบต่อปี (50 kg/กระสอบ) ขนส่งจากอ าเภอเมือง และจากอ าเภอเบตง จังหวัดยะลา (เฉลี่ย 5-6 กก.ต่อต้นต่อปี) - ไฟฟ้า 200 บาท/เดือน คิดเป็น 2,400 บาท/ปี - น้ าประปาจากภูเขาไม่มีค่าใช้จ่าย 2.2 สารขาออก ของเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิต ไม่มีของเสียจากกระบวนการผลิตเนื่องจากทุเรียนที่ตกเกรดก็จะน าไปขาย และแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่อเพื่อจ าหน่าย


13 พัฒนาห่วงโซ่คุณค่าทุเรียนจังหวัดยะลา พัฒนาห่วงโซ่คุณค่าตาลโตนด จังหวัดปัตตานี ลงพื้นที่ส ารวจและศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับห่วงโซ่ตาลโตนดพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ส านักงานเกษตรอ าเภอยะหริ่ง และเก็บตัวอย่าง เพื่อมาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ โดยท าการศึกษาคุณสมบัติทางเคมี (สาร Antioxidant และสาร Phenolic) ในดอกตาลตัวผู้ และทดลอง การชงชาเพื่อหาระยะเวลาและอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการชงชาตาลโตนด โดยวัดปริมาณค่าสีในรูปแบบ L* a* และb* และปริมาณกรด-ด่าง ในห้องปฏิบัติการ ในส่วนของเนื้อตาลได้ท าการเก็บตัวอย่างจากกลุ่มชุมชนเพื่อน าตัวอย่างมาเตรียม ในห้องปฏิบัติการเพื่อใช้เตรียมสารสกัด ส าหรับใส่ผสมในเครื่องส าอาง และถ่านอัดแท่งจากผลตาลโตนดอยู่ในช่วงกระบวนการทดสอบการผลิต พัฒนาห่วงโซ่คุณค่าลูกหยีจังหวัดปัตตานี และนราธิวาส การด าเนินงานในไตรมาส 1 เป็นการประสานความร่วมมือกับภาคีพัฒนาภาคส่วนต่าง ๆ ได้แก่ นายกองค์การบริหารส่วนต าบล นายอ าเภอ เกษตรอ าเภอ พัฒนาการอ าเภอ ก านันต าบล ผู้ใหญ่บ้าน และผู้ประกอบการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากลูกหยี โดยน าเสนอแนว ทางการด าเนินงานและปัญหาในการขับเคลื่อน พร้อมลงพื้นที่ส ารวจสายพันธุ์ต้นหยีในแต่ละต าบลประกอบด้วย 3 ต าบล ได้แก่ ต าบลยะรัง ต าบลสะดาวา จังหวัดปัตตานี และต าบล จอเบาะ จังหวัดนราธิวาส กลุ่มเป้าหมายในการส ารวจสายพันธุ์ต้นหยี ประกอบการ 3 ต าบล ได้แก่ 1. หมู่บ้านต าบลยะรัง อ าเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จ านวน 6 หมู่บ้าน ได้แก่ 1.1 หมู่ที่ 1 บ้านกรือเซะ 1.2 หมู่ที่ 2 บ้านยือแร 1.3 หมู่ที่ 3 บ้านยะรัง 1.4 หมู่ที่ 4 บ้านปายอเมาะสุเม็ง 1.5 หมู่ที่ 5 บ้านพงสะตา 1.6 หมู่ที่ 6 บ้านทุเรียน 2. หมู่บ้านต าบลสะดาวา อ าเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จ านวน 8 หมู่บ้าน ได้แก่ 2.1 หมู่ที่ 1 บ้านลือเม๊าะ 2.2 หมู่ที่ 2 บ้านสิเดะ 2.3 หมู่ที่ 3 บ้านอีบุ๊ 2.4 หมู่ที่ 4 บ้านศาลาสอง 2.5 หมู่ที่ 5 บ้านอาโห 2.6 หมู่ที่ 6 บ้านบากง 2.7 หมู่ที่ 7 บ้านกูแบบาเดาะ 2.8 หมู่ที่ 8 บ้านปูตะ 3. หมู่บ้านต าบลจอเบาะ อ าเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จ านวน 9 หมู่บ้าน ได้แก่ 2.1 หมู่ที่ 1 บ้านจอเบาะ 2.2 หมู่ที่ 2 บ้านต้นตาล 2.3 หมู่ที่ 3 บ้านแยะ 2.4 หมู่ที่ 4 บ้านพงปือเราะ 2.5 หมู่ที่ 5 บ้านโคก


14 1.พัฒนาห่วงโซ่คุณค่าลูกหยีจังหวัดปัตตานี และนราธิวาส การด าเนินงานในไตรมาส 1 เป็นการประสานความร่วมมือกับภาคีพัฒนาภาคส่วนต่าง ๆ ได้แก่ นายกองค์การบริหารส่วนต าบล นายอ าเภอ เกษตรอ าเภอ พัฒนาการอ าเภอ ก านันต าบล ผู้ใหญ่บ้าน และผู้ประกอบการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากลูกหยี โดยน าเสนอแนวทางการด าเนินงาน และปัญหาในการขับเคลื่อน พร้อมลงพื้นที่ส ารวจสายพันธุ์ต้นหยีในแต่ละต าบลประกอบด้วย 3 ต าบล ได้แก่ ต าบลยะรัง ต าบลสะดาวา จังหวัดปัตตานี และต าบล จอเบาะ จังหวัดนราธิวาส กลุ่มเป้าหมายในการส ารวจสายพันธุ์ต้นหยี ประกอบการ 3 ต าบล ได้แก่ 1. หมู่บ้านต าบลยะรัง อ าเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จ านวน 6 หมู่บ้าน ได้แก่ 1.1 หมู่ที่ 1 บ้านกรือเซะ 1.2 หมู่ที่ 2 บ้านยือแร 1.3 หมู่ที่ 3 บ้านยะรัง 1.4 หมู่ที่ 4 บ้านปายอเมาะสุเม็ง 1.5 หมู่ที่ 5 บ้านพงสะตา 1.6 หมู่ที่ 6 บ้านทุเรียน 2. หมู่บ้านต าบลสะดาวา อ าเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จ านวน 8 หมู่บ้าน ได้แก่ 2.1 หมู่ที่ 1 บ้านลือเม๊าะ 2.2 หมู่ที่ 2 บ้านสิเดะ 2.3 หมู่ที่ 3 บ้านอีบุ๊ 2.4 หมู่ที่ 4 บ้านศาลาสอง 2.5 หมู่ที่ 5 บ้านอาโห 2.6 หมู่ที่ 6 บ้านบากง 2.7 หมู่ที่ 7 บ้านกูแบบาเดาะ 2.8 หมู่ที่ 8 บ้านปูตะ 3. หมู่บ้านต าบลจอเบาะ อ าเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จ านวน 9 หมู่บ้าน ได้แก่ 2.1 หมู่ที่ 1 บ้านจอเบาะ 2.2 หมู่ที่ 2 บ้านต้นตาล 2.3 หมู่ที่ 3 บ้านแยะ 2.4 หมู่ที่ 4 บ้านพงปือเราะ 2.5 หมู่ที่ 5 บ้านโคก กลุ่มผู้ประกอบการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากลูกหยีที่เป็นรายใหญ่ และรายย่อย ได้แก่ 1. ผู้ประกอบการรายใหญ่ ต าบลยะรัง ต าบลสะดาวา อ าเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี และต าบลจอเบาะ จังหวัดนราธิวาส จ านวน 6ราย ได้แก่ 1.1 กลุ่มลุกหยีวีรวค์3 ต าบลยะรัง จังหวัดปัตตานี 1.2 กลุ่มลูกหยีแม่เลื่อน ต าบลยะรัง จังหวัดปัตตานี 1.3 กลุ่มวิสาหกิจชุมชนลูกหยีกวนฮามิดะ ต าบลยะรัง จังหวัดปัตตานี 1.4 กลุ่มลูกหยีวีรชาติ ต าบลยะรัง จังหวัดปัตตานี 1.5 กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปลูกหยีสะดาวา ต าบลสะดาวา จังหวัดปัตตานี 4.6 กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรบ้านนากอ ต าบลจอเบาะ จังหวัดนราธิวาส 2. ผู้ประกอบการรายย่อย ต าบลยะรัง อ าเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จ านวน 3 ราย ได้แก่ 2.1 กลุ่มร้านลูกหยีกูซอบีร ต าบลยะรัง จังหวัดปัตตานี 2.2 กลุ่มลูกหยีนินูรีย์ต าบลยะรัง จังหวัดปัตตานี 2.3 กลุ่มลูกหยีวนิดา ต าบลยะรัง จังหวัดปัตตานี สรุปผลการเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (เครือข่ายห่วงโซ่ลูกหยี) แต่ละต าบลกลุ่มเป้าหมายดังนี้ 1. ผลการเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (เครือข่ายห่วงโซ่ลูกหยี) ต าบลยะรัง อ าเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จากการเสวนาในวันที่ 8 พฤศจิกายน 2565 ได้รับความร่วมมือกับภาคีพัฒนาภาคส่วนต่าง ๆ ได้แก่ นายกองค์การ บริหารส่วนต าบยะรัง นายอ าเภอยะรัง เกษตรอ าเภอยะรัง พัฒนาการอ าเภอยะรัง ก านันต าบลยะรัง ผู้ใหญ่บ้าน และผู้ประกอบการแปรรูป ผลิตภัณฑ์จากลูกหยีในต าบลยะรัง สรุปได้ว่า ปัญหาต้นน้ าต้นหยี 1. ต้นหยีสูงมากท าให้อยากต่อการเก็บเกี่ยวผลผลิต 2. ต้นหยีออกผลผลิต 2 ปี ครั้ง ท าให้ผู้ประกอบการต้องสตีอกลูกหยีเป็นปี ๆ 3. ปัจจุบันต้นหยีมีการตัดต้นไม้เพื่อการจ าหน่ายมากขึ้น ท าให้ต้นหยีมีปริมาณลดลง อนาคตจะท าให้ต้นหยีออกผลผลิตไม่ เพียงพอต่อกี่แปรรูป การแก้ปัญหาต้นน้ า 1. ตัดแต่งยีนพันธุ์กรรมต้นหยีจากต้นสูงท าให้ต้นเตี้ย 2. การเสียบยอด และทาบกิ่งต้นหยี 3. การส่งเสริมการปลุกต้นหยี (แต่ต้องศึกษาว่าจะส่งเสริมสายพันธุ์ใหน) 4. ลดระยะเวลาการออกผลผลิตจาก 30 ปี ให้เหลือประมาณ 10 ปี 5. ลดระยะเวลาการออกผลผลิต หลังจากการเก็บเกี่ยวจากออกผลผลิต 2 ปี ครั้ง ท าให้ต้นหยีออกผลผลิตได้ทุกปี โดยการ ใส่ปุ๋ยเพื่อเร่งให้ต้นหยีออกกิ่งและใบเร็ว 6. แก้แมลงในลูกหยี


15 5. ลดระยะเวลาการออกผลผลิต หลังจากการเก็บเกี่ยวจากออกผลผลิต 2 ปี ครั้ง ท าให้ต้นหยีออกผลผลิตได้ทุกปี โดยการใส่ปุ๋ยเพื่อเร่งให้ต้นหยีออกกิ่งและใบเร็ว 6. แก้แมลงในลูกหยี 2.ผลการเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (เครือข่ายห่วงโซ่ลูกหยี) ต าบลสะดาวา อ าเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จากการเสวนาในวันที่ 9 พฤศจิกายน 2565 ได้รับความร่วมมือกับภาคีพัฒนาภาคส่วนต่าง ๆ ได้แก่ นายกองค์การ บริหารส่วนต าบสะดาวา ปลัดอ าเภอสะดาวา นักพัฒนาชุมชนอ าเภอสะดาวา ก านันต าบลสะดาวา ผู้ใหญ่บ้าน และผู้ประกอบการแปรรูป ผลิตภัณฑ์จากลูกหยีในต าบลสะดาวา สรุปได้ว่า ปัญหาต้นน้ าต้นหยี 1. ปริมาณต้นหยีในต าบลสะดาวามีปริมาณลดลงจากเดิม 2. ขาดอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บเกี่ยวผลผลิตลูกหยี เพื่อเซฟความปลอดภัยส าหรับคนเก็บเกี่ยวผลผลิตลูกหยี 3. ต้นหยีออกผลผลิต 2 ปี ครั้ง ท าให้ปีที่มีผลผลิตมากลูกหยีล้นตลาดราคาก็จะถูก แต่ปีถัดไปลูกหยีไม่ออกผลผลิต ท าให้ราคาลูกหยีแพง การแก้ปัญหาต้นน้ า 1. สนับสนุนอุปกรณ์เซฟความปลอดภัยส าหรับคนเก็บเกี่ยวผลผลิตลูกหยี 2. ลดระยะเวลาการออกผลผลิต หลังจากการเก็บเกี่ยวจากออกผลผลิต 2 ปี ครั้ง ท าให้ต้นหยีออกผลผลิตได้ทุกปี โดยการใส่ปุ๋ยเพื่อเร่งให้ต้นหยีออกกิ่งและใบเร็ว 3. การตัดแต่งสายพันธุ์ต้นหยี เพื่อไม่ให้ต้นหยีสูงเกินไป 3. ผลการเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (เครือข่ายห่วงโซ่ลูกหยี) ต าบลจอเบาะ อ าเภอยี่งอ จังหวัดปัตตานี จากการเสวนาในวันที่ 15 ธันวาคม 2565 ได้รับความร่วมมือกับภาคีพัฒนาภาคส่วนต่าง ๆ ได้แก่ นายกองค์การบริหารส่วนต าบจอ เบาะ เกษตรอ าเภอจอเบาะ พัฒนาการอ าเภอจอเบาะ ก านันต าบลจอเบาะ ผู้ใหญ่บ้าน และผู้ประกอบการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากลูกหยีใน ต าบลจอเบาะ สรุปได้ว่า ปัญหาต้นน้ าต้นหยี 1. ระยะเวลาการเจริญเติบโตต้นหยีช้ามาก โดยจะใช้ระยะเวลาประมาณ 30 ปีกว่าจึงสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ ท าให้คนในชุมชนไม่นิยมปลูก 2. ปัจจุบันต้นหยีมีการตัดต้นไม้เพื่อท าที่อยู่อาศัย และจ าหน่ายมากขึ้น ท าให้ต้นหยีมีปริมาณลดลง 3. ต้นหยีออกผลผลิต 2 ปี ครั้ง ท าให้ปีที่มีผลผลิตมากลูกหยีล้นตลาดราคาก็จะถูก แต่ปีถัดไปลูกหยีไม่ออกผลผลิต ท าให้ราคาลูกหยีแพง 4. ขาดฐานข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับต้นหยีเบื้องต้น การแก้ปัญหาต้นน้ า 1. การเสียบยอด และทาบกิ่งต้นหยี 2. ลงพื้นที่เก็บข้อมูล เพื่อจัดท าฐานข้อมูลเกี่ยวกับต้นหยีเบื้องต้น 3. ลดระยะเวลาการออกผลผลิต หลังจากการเก็บเกี่ยวจากออกผลผลิต 2 ปี ครั้ง ท าให้ต้นหยีออกผลผลิตได้ทุกปี โดยการใส่ปุ๋ยเพื่อเร่งให้ต้นหยีออกกิ่ง ใบ และผลผลิต


16 (เครือข่ายห่วงโซ่ลูกหยี) ต าบลจอเบาะ อ าเภอยี่งอ จังหวัดปัตตานี 4.ความร่วมมือขององค์การบริหารส่วนต าบลจอเบาะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาสร้างความร่วมมือองค์การที่อยู่ภายใต้ท้องถิ่น ได้แก่ องค์การบริหารส่วนต าบลจอเบาะ เกษตรอ าเภอยี่งอ และพัฒนาการอ าเภอยี่งอ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนากลยุทธ์ของลูกหยีให้เป็นที่ประจักษ์และเป็นที่รู้จักในประเทศและ ต่างประเทศ และได้ท าการศึกษาพัฒนาวิจัยเพื่อยกระดับคุณภาพของลูกหยีให้เป็น SME ของกลุ่มผู้ประกอบการ และยังเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้กับท้องถิ่น การประชุมท าฐานข้อมูล สรุปได้ว่า เป็นการคีย์ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับปริมาณผลผลิตลูกหยีต่อปี ผู้ประกอบการ ผู้เก็บเกี่ยวผลผลิต (ผู้ตัดกิ่ง) ผู้ส่ง วัตถุดิบ และสถานที่จ าหน่ายผลิตภัณฑ์ลูกหยี ลงในระบบ google form เพื่อสะดวกต่อผู้ประกอบที่ต้องการซื้อลูกหยี ซึ่งสามารถค้นหาดูจาก เว็ป google form ได้เลย โดยในเว็บไซต์สามารถแสดงพิกัดต้นหยี ชื่อเจ้าของต้นหยี เบอร์ติดต่อเจ้าของต้นหยี และผู้เก็บเกี่ยวผลผลิต (ผู้ตัดกิ่ง) ซึ่งท าให้ง่ายต่อการจ าหน่ายมากขึ้น 5.การเก็บพิกัดลูกหยีเบื้องต้น ได้ด าเนินการลงพื้นที่เก็บพิกัดต้นหยีต าบลสะดาวา จังหวัดปัตตานี ได้แก่ หมู่ที่ 3 บ้านอีบุ๊ หมู่ที่ 6 บ้านบากง หมู่ที่ 7 บ้าน กูแบบาเดาะ และหมู่ที่ 8 บ้านปูตะ (ดังภาพที่ 5) การเตรียมแปลงทดลองในการจัดการลูกหยีพื้นที่ต าบลยะรัง สะดาวา จังหวัดปัตตานี และต าบล จอเบาะ จังหวัดนราธิวาส ลงพื้นที่ส ารวจเลือกแปลงทดลองเพื่อหาพื้นที่ที่ใช้ท าการทดลองต าบลละ 1 แปลง โดยเทียบกัน 2 ต้น คือ 1. ต้นหยีที่ให้ปุ๋ย ให้น้ า 2. ต้นหยีที่เจริญเติมโตด้วยธรรมชาติ เพื่อเปรียบเทียบผลผลิตที่ได้


6.การประสานงานการท า OEM น้ าลูกหยีกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรบ้านนากอ ต าบลจอเบาะ จังหวัดนราธิวาส ประสานกับศูนย์วิทยาศาสตร์อาหารฮาลาล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เพื่อใช้สถานที่ของศูนย์ วิทยาศาสตร์อาหารฮาลาลในการผลิตน้ าลูกหยีสดสเตอริไลส์บรรจุขวดพลาสติก ขนาด 180 มิลลิลิตร โดยมีค่าใช้จ่ายครั้งแรก ได้แก่ ค่าสภาวะ ใน การฆ่าเชื้อ ค่าทดลอง ค่าตรวจวิเคราะห์ และค่ายื่นขอเครื่องหมาย อย. และมีค่าใช้จ่ายในครั้งต่อไป ได้แก่ ค่าเช่าสถานที่ผลิต ค่าหม้อฆ่าเชื้อ และค่าพิมพ์ วัน/เดือน/ปี ที่ผลิต ซึ่งทางโครงการรอค าตอบจากผู้ประกอบการ การวิเคราะห์ทางเคมีผลิตภัณฑ์ลูกหยี ท าการตรวจวิเคราะห์สารต้านอนุมูลอิสระในลูกหยีแบบอบแห้ง ได้แก่ DPPH และ Phenolic จ านวน 4 สานพันธุ์ โดยส่ง ตรวจวิเคราะห์ศูนย์พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรเพื่อการส่งออก คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ตรวจ วิเคราะห์โครงสร้างของลูกหยี (SEM) ได้แก่ เปลือกลูกหยีด้านนอก เปลือกลูกหยีด้านใน เปลือกลูกหยีด้านข้าง เนื้อลูกหยีที่ยังไม่ได้ฉีก และเนื้อ ลูกหยีที่ท าการฉีกขาด โดยส่งตรวจวิเคราะห์ศูนย์เครื่องมือกลาง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ และก าลังศึกษาศูนย์ตรวจรับ วิเคราะห์กรดอินทรีทั้งหมดในลูกหยี ยกระดับมาตรฐานสินค้าของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ลงพื้นที่เพื่อให้ค าปรึกษาเกี่ยวกับโคบ่มโคจิ และชี้แจงรายละเอียดผลการวิเคราะห์ทางเคมี ณ ร้านจั่วเฮงพานิช อ าเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ลงพื้นทีเพื่อถ่ายทอดการผลิตและควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์น้ าบูดูเกรด 2 ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มน้ าบูดูบ้านบือราเป๊ะ ต าบลโคก เคียน อ าเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส และลงพื้นเพื่อให้ค าปรึกษาด้านมาตรฐานการผลิตปลากุเลาเค็ม ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนปลากุเลา เค็มป้าอ้วนตากใบ ต าบลเจ๊ะแห อ าเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส 17


โครงการยกระดับมาตรฐานสมรรถนะบัณฑิตครูสู่ความเป็นเลิศ 06 เป้าหมายและตัวชี้วัดระดับโครงการ กลุ่มเป้าหมาย - เชิงปริมาณ นักศึกษาทุกชั้นปีมีสมรรถนะตามเกณฑ์ที่ก าหนด นักศึกษาชั้นปีที่3 และบัณฑิตครู(จบชั้นปีที่ 4) ผ่านเกณฑ์การสอบใบประกอบวิชาชีพครู บัณฑิตครูในรอบ 1 ปีที่ผ่านมามีงานท า กลุ่มเป้าหมาย - เชิงคุณภาพ บัณฑิตมีอาชีพที่2 รองรับ ในการประกอบอาชีพในอนาคต นักศึกษาครูและบัณฑิตครูได้รับการยอมรับจากหน่วยฝึกปฏิบัติการระหว่างเรียนและฝึกสอน ครูของครูได้รับการพัฒนาศาสตร์เชิงวิชาการสูงขึ้น ตัวชี้วัด - ผลผลิต นักศึกษาทุกชั้นปีมีสมรรถนะตามเกณฑ์ที่ก าหนดร้อยละ 80 นักศึกษาชั้นปีที่ 3 และบัณฑิตครู (จบชั้นปีที่ 4) ผ่านเกณฑ์การสอบใบประกอบวิชาชีพครู ร้อยละ 80 ตัวชี้วัด - ผลลัพธ์ จ านวนบัณฑิตครูในรอบ 1 ปี ที่ผ่านมามีงานท า ร้อยละ 100 จ านวนบัณฑิตครูผ่านเกณฑ์การสอบใบประกอบวิชาชีพครู ร้อยละ 100 ตัวชี้วัด - ผลกระทบ นักศึกษาครูและบัณฑิตครูได้รับการยอมรับจากหน่วยฝึกปฏิบัติการระหว่างเรียนและฝึกสอนค่าเฉลี่ยความพึงพอใจรวมสูงกว่า4.00 ครูของครูได้รับการพัฒนาศาสตร์เชิงวิชาการสูงขึ้น ร้อยละ 80 แผนการด าเนินงาน 1. พัฒนาทักษะทางอาชีพให้กับนักศึกษาพลศึกษาและสุขศึกษา 2. พัฒนาทักษะและออกแบบอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ 3. เพิ่มทางเลือกให้กับบัณฑิตสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษามีอาชีพที่ 2 รองรับในการประกอบอาชีพในอนาคต 4. พัฒนาศักยภาพของนักศึกษาหลักสูตรการสอนภาษามลายู เพื่อรองรับการประกอบอาชีพที่ 2 ในอนาคต 5. พัฒนาศักยภาพของนักศึกษาภาษาอาหรับเพื่อธุรกิจสุขภาพและการท่องเที่ยว เพื่อรองรับการประกอบอาชีพที่ 2 ในอนาคต 18


19 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ก าหนด จัดอบรมปฏิบัติการ เรื่อง “พัฒนาทักษะและออกแบบอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ด้วยหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ก าหนดจัดอบรมปฏิบัติการ เรื่อง “พัฒนาทักษะและออกแบบอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์” ระหว่างวันที่ 10 – 11 และ 17 – 18 ธันวาคม 2565 ณ ห้อง 05-309 อาคาร 5 คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร หลักสูตรวางแผนและประชาสัมพันธ์การด าเนินงานการจัดกิจกรรมร่วมกับอาจารย์ในหลักสูตร เรื่อง การออกแบบและการเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์ และได้ก าหนดปฏิทินการด าเนินงานการอบรมและประสาน งานกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมอบรม ซึ่งมีนักศึกษาชั้นปีที่ 3 เข้าร่วมลงทะเบียนจ านวน 34 คน โดยให้นักศึกษาเข้าร่วมอบรม ระหว่างวันที่ 19 - 20 และ 26 - 27 พฤศจิกายน 2565 ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 06 - 304 และห้องบรรยายสาขาคอมพิวเตอร์ 06 - 202 อาคาร 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา หลักสูตรครุศาสตรบัณพิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ได้ประชุมเพื่อวางแผนกิจกรรมและประชาสัมพันธ์กิจกรรมทุกช่องทาง และได้ ก าหนดปฏิทินการด าเนินงานการอบรมกิจกรรม รวมทั้งได้ประสานให้กับกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมกิจกรรมการอบรม ซึ่งกลุ่มเป้าหมาย ในครั้งนี้ คือ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายู ชั้นปีที่ 3 – 4 จ านวน 64 คน โดยให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมอบรมในมหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 3 –6 มกราคม 2566 ณ ห้องประชุมเซียน ตาน ฮวา ชั้น 3 อาคาร สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การจัดกิจกรรมในครั้งนี้ได้เชิญวิทยากรภายนอก และได้ส่งหนังสือเชิญไปยังวิทยากร จ านวน 1 ท่าน หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอาหรับเพื่อธุรกิจสุขภาพและการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ด าเนินการจัดอบรมปฏิบัติการ เรื่อง “พัฒนาทักษะการเป็นที่ปรึกษาด้านการลงทุนในประเทศอาหรับ” ระหว่างวันที่ 7 – 11 ธันวาคม 2565 ณ ห้องประชุม บราแง อาคารสังคมศาสตร์ ชั้น 3 และระหว่างวันที่ 14 – 18 ธันวาคม 2565 ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ๓๐๑ อาคารส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ๓


โครงการจัดท าฐานข้อมูลชุมชนและสมรรถนะภาคีเครือข่าย 07 เป้าหมายและตัวชี้วัดระดับโครงการ กลุ่มเป้าหมาย – เชิงปริมาณ จ านวนภาคีเครือข่ายที่ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น 20 เครือข่าย กลุ่มเป้าหมาย - เชิงคุณภาพ แผนการพัฒนา องค์ความรู้และนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่1 แผน ตัวชี้วัด - ผลผลิต จ านวนต าบลที่มีการจัดท าฐานข้อมูล 20 ต าบล จ านวนภาคีเครือข่ายที่ได้รับการพัฒนาสมรรถนะ 20 เครือข่าย จ านวนแผนงานพัฒนาเชิงพื้นที่20 แผนงาน ตัวชี้วัด - ผลลัพธ์ จ านวนต าบลที่มีการจัดท าฐานข้อมูลและมีการน าข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเชิงพื้นที่อย่างเป็นรูปธรรม 20 ต าบล จ านวนภาคีเครือข่ายที่มีสมรรถนะในการน าข้อมูลไปใช้ประโยขน์เพื่อการจัดท าแผนงานพัฒนาเชิงพื้นที่ 20 ต าบล จ านวนแผนงานพัฒนาเชิงพื้นที่ แผนการด าเนินงาน 1. บริหารจัดการระบบงานศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น 2. ก ากับ ติดตาม และประเมินผลการด าเนินงานโครงการยุทธศาสตร์มรภ. เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น 3. งานแสดงผลการด าเนินงานโครงการยุทธศาสตร์มรภ. เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น 4. พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้ประชาชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้JAPO Model 5. ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนเพื่อการเกษตรและปศุสัตว์ 6. พัฒนากลุ่มข้อมูลมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น (Rajabhat University Dataset framework) 20


21 พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้ประชาชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ JAPO Model ผู้ช่วยศาสตราจารย์เวคิน วุฒิวงค์หัวหน้าศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น มอบหมาย ให้ น.สซารีนา ปูมูลูกือจินายอับดุลฮาเล็ม สาเม๊าะ นายอัซรอน ดามะเจ้าหน้าที่ประจ าศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น ลงพื้นที่ติดตามผลการส่งเสริมอาชีพส่งเสริมอาชีพ การเลี้ยง ไก่เบตง การเลี้ยงผึ้งชันโรง การเพาะเห็ดนางฟ้า การปลูกผักท้องถิ่น ในกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้ประชาชนใน พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ JAPO MODEL จังหวัดปัตตานี ปี 2565 จ านวน 5 ครัวเรือน ณ ต าบลเมาะมาวี ต าบลคลองใหม่ อ าเภอ ยะรัง ต าบลดอนรัก ต าบลตุยง ต าบลเกาะเปาะ อ าเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุญสิทธิ์ ไชยชนะ รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิรันดิ์เกียรติ ลิ่วคุณูปการ รองอธิบดีฝ่ายนโยบายและแผน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เวคิน วุฒิวงศ์ หัวหน้าศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น อาจารย์ ดร.ภูริชาติ พรหมเต็ม ผู้อ านวยการศูนย์แม่ลาน อาจารย์ ดร.ปรีชา พังสุบรรณ รักษาราชการในต าแหน่งผู้อ านวยการศูนย์ภาษาฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมทบ เวทโอสถ อาจารย์ ดร.นิราณี บือราเฮง อาจารย์เกตวรรณ บุญเทพ อาจารย์ประจ าโครงการการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตและยกระดับรายได้ให้ประชาชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ JAPO MODEL อาจารย์มูฮ ามัดคอยรี หะยีบากา อาจารย์ฐิติรัตน์ นิลวิจิตร อาจารย์ลุตฟีสือนิอาจารย์ศศิธร วิโนทัย อาจารย์ประจ าหลักสูตรพลังงานไฟฟ้า และเจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นางสาวซารีนา ปูมูลูกือจินายอับดุลฮาเล็ม สาเม๊าะ นายอัซรอน ดามะ เข้าร่วมการประชุมความคืบหน้าการติดตั้งระบบ ไฟฟ้าโซล่าเซลล์ในโครงการครึ่งล้านครึ่งไร เพื่อเป็นต้นแบบในการพัฒนาและการเรียนรู้ในอนาคต ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนเพื่อการเกษตรและปศุสัตว์ - ลงพื้นที่ส ารวจเพื่อส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนเพื่อการเกษตรและปศุสัตว์ในเครือข่าย 3 ต าบล - ประชาชนในเครือข่าย 3 ต าบลเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้พลังงานทดแทน (แสงอาทิตย์) สู่วิถีชีวิตพอเพียง พัฒนากลุ่มข้อมูลมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น (Rajabhat University Dataset framework) วันนี้ 2 พฤศจิกายน 2565 ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา น าโดย อาจารย์ชินวัจน์ งามวรรณากร อาจารย์ประจ าศูนย์ ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น ร่วมด้วย นายฮารีฟ อาลี นายรุสดี ลานงและนายบูฆอรี แยนา เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น ได้จัดอบรมนักศึกษา อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “วิธีการจัดเก็บข้อมูลครัวเรือนและบันทึกข้อมูลในระบบ Rajabhat Dataset ” ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ อาคาร 25 ห้อง 302 โดยมี อาจารย์ชินวัจน์ งามวรรณากร เป็นวิทยากรให้ความรู้วิธีการเก็บข้อมูลและใช้แพลตฟอร์ม รวมถึงรับฟังข้อเสนอแนะจากผู้เข้าอบรม และวางแผนร่วมกันในแนวทางการพัฒนาแพลตฟอร์ม Rajabhat-Dataset-โดยมีวัตถุประสงค์ในการขับเคลื่อนกิจกรรมจัดท าฐานข้อมูลชุมชนและ สมรรถนะภาคีเครือข่าย


เป้าหมายและตัวชี้วัดระดับโครงการ กลุ่มเป้าหมาย - เชิงปริมาณ 1. ครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ.และครัวเรือน tpmap ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ( จังหวัดยะลา จังหวัดปัตตานี และจังหวัดนราธิวาส ) จังหวัดละ 100 ครัวเรือน รวมทั้งสิ้น 300 ครัวเรือน กลุ่มเป้าหมาย - เชิงคุณภาพ 1. ครัวเรือนเกิดการพัฒนาทักษะการประกอบอาชีพ มีรายได้เพิ่มขึ้น และลดรายจ่ายในครัวเรือน 2. ครัวเรือนสามารถด ารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง น าไปสู่การพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน ตัวชี้วัด - ผลผลิต รายได้ของประชาชนในชุมชนฐานรากที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 15 จ านวนครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมและแก้ไขปัญหาความยากจน 300 ครัวเรือน ตัวชี้วัด - ผลลัพธ์ ครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก 300 ครัวเรือน ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการยกระดับให้พ้นเส้นความยากจน ร้อยละ 60 ตัวชี้วัด - ผลกระทบ ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ร้อยละ 15 แผนการด าเนินงาน 1. บริหารจัดการ ก ากับ ติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ 2. แปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้าและเครื่องแต่งกาย 3. อบรมอาชีพท าผ้าบาติกประยุกต์ 4. เลี้ยงไก่เบตงเพื่อสร้างอาชีพ 5. พัฒนาการผลิตเห็ดเศรษฐกิจอย่างมีคุณภาพ 6. บูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาความยากจนของประชาชนในท้องถิ่นผึ้งชันโรง 7. พัฒนาพืชเศรษฐกิจตัวรอง (อัตลักษณ์พื้นถิ่น) กล้วยหิน (การขยายแปลงกล้วยหินปลอดเชื้อโรคเหี่ยวด้วยการใช้สารชีวภัณฑ์เพื่อการค้า) 8. บูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อแก้โรคใบร่วงชนิดใหม่ในยางพาราและท าผลิตภัณฑ์ 9. ส่งเสริมการเพาะต้นอ่อนพืชเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ 10. เลี้ยงปลาตะเพียนส าหรับบริโภคในครัวเรือนและเป็นวัตถุดิบในการท าปลาส้มของจังหวัดยะลา 08 โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ ให้กับคนในชุมชนฐานราก 22


23 เลี้ยงไก่เบตงเพื่อสร้างอาชีพ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์เวคิน วุฒิวงศ์ หัวหน้าศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น มอบหมายให้ นายอับดุลฮาเล็ม สาเม๊าะ นายรุสดี ลานง และ นางสาวอานีตา ดีเย๊าะ เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนาท้องถิ่นลงพื้นที่ติดตามผลการด าเนินงาน ของครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2565 จ านวน 13 ครัวเรือน ในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ณ ต าบลสากอ ต าบลโต๊ะเด็ง ต าบลสุไหงปาดี ต าบลริโก๋ อ าเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส โดยได้ลงพื้นที่ติดตามผลการส่งเสริมอาชีพ การเลี้ยงไก่เบตง การเลี้ยงผึ้งชันโรง การเพาะเห็ดนางฟ้า และการปลูกผักท้องถิ่น 2. ลงพื้นที่ติดตามผลการด าเนินงาน ของครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ.ปี 2565 จ านวน 14 ครัวเรือนในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ณ ต าบลบูกิต ต าบล มะรือโบออก และต าบลจวบ อ าเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส โดยได้ลง พื้นที่ติดตามผลการส่งเสริมอาชีพ การเลี้ยงผึ้งชันโรง การเพาะเห็ดนางฟ้า และการปลูกผักท้องถิ่น 3. ลงพื้นที่ติดตามผลการด าเนินงาน ของครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2565 จ านวน 14 ครัวเรือน ในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและ ยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ณ ต าบลนานาค ต าบลไพรวัน ต าบลเจ๊ะเห และต าบลศาลาใหม่ อ าเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส โดย ได้ลงพื้นที่ติดตามผลการส่งเสริมอาชีพ การเพาะเห็ดนางฟ้า การเลี้ยงไก่เบตง การแปรรูปผ้าบาติกประยุกต์ และการปลูกผักท้องถิ่น พัฒนาการผลิตเห็ดเศรษฐกิจอย่างมีคุณภาพ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมทบ เวถโอสถ มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนาท้องถิ่นลงพื้นที่ส่งเสริมการพัฒนาเพาะเห็ดสมุนไพรสู่ การแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ดเพื่อสุขภาพ รอบที่ 2 ให้กับครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2565 ในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ ให้กับคนในชุมชนฐานราก ณ องค์การบริหารส่วนต าบลย๊ะต๊ะ อ าเภอรามัน จังหวัดยะลา 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์เวคิน วุฒิวงศ์ หัวหน้าศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมทบ เวทโอสถ อาจารย์ประจ าโครงการ นายอับดุลรอฮิม เปาะอีแต นักวิชาการเกษตร นายอับดุลฮาเล็ม สาเม๊าะ และนางสาวซารีนา ปูมูลูกือจิเจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนา ท้องถิ่น ร่วมกับทีมงานพัฒนาการต าบลย๊ะต๊ะ ประกอบไปด้วย นายกองค์การบริหารส่วนต าบลย๊ะต๊ะ ปลัดต าบล พัฒนาการ ร่วมทั้ง ประธานสภา ลงพื้นที่ฝึกอบรมอาชีพการเพาะเห็ดเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรแบบยั่งยืน ให้กับครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2565 จ านวน 58 ครัวเรือน ในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ณ ศูนย์การเรียนรู้แม่ลาน อ าเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี โดยได้ฝึกอบรม การท าเห็ดฟางและการท าเห็ดนางฟ้า ร่วมทั้งขั้นตอนการผสมส่วนประกอบในการเพาะเห็ด การอัดก้อนเห็ด การยอดเชื้อ และวิธีการรักษาและการดูแลก้อนเห็ดนางฟ้า 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์เวคิน วุฒิวงศ์ หัวหน้าศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น มอบหมายให้ นายอับดุลฮาเล็ม สาเม๊าะ นายรุสดี ลานง และ นางสาวอานีตา ดีเย๊าะ เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนาท้องถิ่นลงพื้นที่ติดตามผลการด าเนินงาน ของครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2565 จ านวน 13 ครัวเรือนในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ณ ต าบลสากอ ต าบลโต๊ะเด็ง ต าบลสุไหงปาดี ต าบลริโก๋ อ าเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส โดยได้ลงพื้นที่ติดตามผลการส่งเสริมอาชีพ การเลี้ยงไก่เบตง การเลี้ยงผึ้งชันโรง การเพาะเห็ด นางฟ้า และการปลูกผักท้องถิ่น 4. ลงพื้นที่ติดตามผลการด าเนินงาน ของครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2565 จ านวน 14 ครัวเรือน ในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและ ยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ณ ต าบลบูกิต ต าบล มะรือโบออก และต าบลจวบ อ าเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส โดยได้ลงพื้นที่ ติดตามผลการส่งเสริมอาชีพ การเลี้ยงผึ้งชันโรง การเพาะเห็ดนางฟ้า และการปลูกผักท้องถิ่น 5. ลงพื้นที่ติดตามผลการด าเนินงาน ของครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2565 จ านวน 14 ครัวเรือน ในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและ ยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ณ ต าบลนานาค ต าบลไพรวัน ต าบลเจ๊ะเห และต าบลศาลาใหม่ อ าเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส โดยได้ลงพื้นที่ติดตามผลการส่งเสริมอาชีพ การเพาะเห็ดนางฟ้า การเลี้ยงไก่เบตง การแปรรูปผ้าบาติกประยุกต์ และการปลูกผักท้องถิ่น


24 บูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาความยากจนของประชาชนในท้องถิ่นผึ้งชันโรง 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์เวคิน วุฒิวงศ์ หัวหน้าศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น มอบหมายให้ นายอับดุลฮาเล็ม สาเม๊าะ นายรุสดี ลานง และ นางสาวอานีตา ดีเย๊าะ เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนาท้องถิ่นลงพื้นที่ติดตามผลการด าเนินงาน ของครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2565 จ านวน 13 ครัวเรือน ในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ณ ต าบลสากอ ต าบลโต๊ะเด็ง ต าบลสุไหงปาดี ต าบลริโก๋ อ าเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส โดยได้ลงพื้นที่ติดตามผลการส่งเสริมอาชีพ การเลี้ยงไก่เบตง การเลี้ยงผึ้งชันโรง การเพาะเห็ด นางฟ้า และการปลูกผักท้องถิ่น 2. ลงพื้นที่ติดตามผลการด าเนินงาน ของครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ.ปี 2565 จ านวน 14 ครัวเรือน ในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและ ยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ณ ต าบลบูกิต ต าบล มะรือโบออก และต าบลจวบ อ าเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส โดยได้ลงพื้นที่ ติดตามผลการส่งเสริมอาชีพ การเลี้ยงผึ้งชันโรง การเพาะเห็ดนางฟ้า และการปลูกผักท้องถิ่น 3. ลงพื้นที่ติดตามผลการด าเนินงาน ของครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2565 จ านวน 14 ครัวเรือน ในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและ ยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ณ ต าบลนานาค ต าบลไพรวัน ต าบลเจ๊ะเห และต าบลศาลาใหม่ อ าเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส โดยได้ลงพื้นที่ติดตามผลการส่งเสริมอาชีพ การเพาะเห็ดนางฟ้า การเลี้ยง ไก่เบตง การแปรรูปผ้าบาติกประยุกต์ และการปลูกผักท้องถิ่น บูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อแก้โรคใบร่วงชนิดใหม่ในยางพาราและท าผลิตภัณฑ์ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิสมะแอ เจ๊ะหลง อาจารย์ประจ าโครงการ การบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อแก้โรคใบร่วงชนิดใหม่ในยางพารา และเจ้าหน้าที่ประจ าศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่นได้ลงพื้นที่ประชุมพบปะหารือและส ารวจพื้นที่ในการทดลอง ใช้สารชีวภัณฑ์เพื่อแก้ไขโรคที่ เกิดจากเชื้อราในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ณ องค์การบริหารส่วนต าบลตะโล๊ะหะลอ อ าเภอรา มัน จังหวัดยะลา ส่งเสริมการเพาะต้นอ่อนพืชเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์เวคิน วุฒิวงศ์ หัวหน้าศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น มอบหมายให้ นายอับดุลฮาเล็ม สาเม๊าะ นายรุสดี ลานง และ นางสาวอานีตา ดีเย๊าะ เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนาท้องถิ่นลงพื้นที่ติดตามผลการด าเนินงาน ของครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2565 จ านวน 1 3 ค รั ว เ รื อ น ใ น กิ จ ก ร ร ม พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต แ ล ะ ย ก ร ะ ดั บ ร า ย ไ ด้ ใ ห้ กั บ ค น ใ น ชุ ม ช น ฐ า น ร า ก ณ ต า บ ล ส า ก อ ต าบลโต๊ะเด็ง ต าบลสุไหงปาดี ต าบลริโก๋ อ าเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส โดยได้ลงพื้นที่ติดตามผลการส่งเสริมอาชีพ การเลี้ยงไก่เบตง การเลี้ยงผึ้งชันโรง การเพาะเห็ดนางฟ้า และการปลูกผักท้องถิ่น 2. ลงพื้นที่ติดตามผลการด าเนินงาน ของครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ.ปี 2565 จ านวน 14 ครัวเรือน ในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและ ยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ณ ต าบลบูกิต ต าบล มะรือโบออก และต าบลจวบ อ าเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส โดยได้ลงพื้นที่ ติดตามผลการส่งเสริมอาชีพ การเลี้ยงผึ้งชันโรง การเพาะเห็ดนางฟ้า และการปลูกผักท้องถิ่น 3. ลงพื้นที่ติดตามผลการด าเนินงาน ของครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2565 จ านวน 14 ครัวเรือน ในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและ ยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ณ ต าบลนานาค ต าบลไพรวัน ต าบลเจ๊ะเห และต าบลศาลาใหม่ อ าเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส โดยได้ลงพื้นที่ติดตามผลการส่งเสริมอาชีพ การเพาะเห็ดนางฟ้า การเลี้ยง ไก่เบตง การแปรรูปผ้าบาติกประยุกต์ และการปลูกผักท้องถิ่น


25 เลี้ยงปลาตะเพียนส าหรับบริโภคในครัวเรือนและเป็นวัตถุดิบในการท าปลาส้มของจังหวัดยะลา 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิไลวัลย์ แก้วตาทิพย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรสวรรค์ เพชรรัตน์ อาจารย์ผู้รับผิดชอบกิจกรรมการเลี้ยงปลาตะเพียน ส าหรับบริโภคในครัวเรือนและเป็นวัตถุดิบในการท าปลาส้มของจังหวัดยะลา นายอัซรอน ดามะ และ นายฮารีฟ อาลี เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริม การพัฒนาท้องถิ่นลงพื้นที่ติดตามผลการด าเนินงาน ของครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2566 จ านวน 20 ครัวเรือน ในกิจกรรมการเลี้ยงปลา ตะเพียนส าหรับบริโภคในครัวเรือนและเป็นวัตถุดิบในการท าปลาส้มของจังหวัดยะลา ภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ ให้กับคนในชุมชนฐานราก ณ ต าบลอาซ่อง อ าเภอรามัน จังหวัดยะลา


โครงการจัดท าแผนการด าเนินงานในการเตรียมความพร้อม 09 เพื่อขอขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก เป้าหมายและตัวชี้วัดระดับโครงการ กลุ่มเป้าหมาย – เชิงปริมาณ จัดท าแผนการจัดการพื้นที่และแผนการอนุรักษ์มรดกอาเซียนข้ามพรมแดนของ คณะกรรมการขับเคลื่อน (ASEAN Heritage Park) AHP) มาเลเซีย-ไทย สู่การเสนอป่าฮาลาบาลาเป็นมรดกโลกต่อไป จ านวน 1 เเเผน กลุ่มเป้าหมาย – เชิงคุณภาพ เกิดความร่วมมือบูรณาการหน่วยงานภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทั้งในพื้นที่ รวมทั้ง ประชาขนที่อาศัยในชุมชนบริเวณรอบผืนป่าฮาลาบาลา มี ส่วนร่วมในการขับเคลื่อนให้เกิดการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรพันธุกรรมการพัฒนาศักยภาพชุมชนอย่างเข้าใจ และเห็นคุณค่า มี จิตส านึกรักษ์ท้องถิ่น โดยเกิดความภาคภูมิใจความรู้สึกในฐานะเจ้าของพื้นที่เจ้าของบ้าน จนกระทั่งการได้รับการคัดเลือกและยกย่องให้เป็น มรดกโลกทางธรรมชาติต่อไป ตัวชี้วัด - ผลลัพธ์ จัดท าแผนการจัดการพื้นที่และแผนการอนุรักษ์มรดกอาเซียนข้ามพรมแดนของ คณะกรรมการขับเคลื่อน (ASEAN Heritage Park) AHP) มาเลเซีย-ไทย สู่การเสนอป่าฮาลาบาลาเป็นมรดกโลกต่อไปร้อยละ 20 ตัวชี้วัด - ผลกระทบ เกิดความร่วมมือบูรณาการหน่วยงานภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทั้งในพื้นที่รวมทั้งประชาขนที่อาศัยในชุมชนบริเวณรอบผืนป่าฮาลาบาลา มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนให้เกิดการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรพันธุกรรมการพัฒนาศักยภาพชุมชนอย่างเข้าใจ และเห็นคุณค่ามีจิตส า แผนการด าเนินงาน 1. จัดท าแผนการด าเนินงานในการเตรียมความพร้อมเพื่อขอขึ้นทะเบียนเป็นแหล่ง มรดกโลก 26


Documentary Research คณะท างานได้รวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการขึ้นทะเบียนมรดกอาเซียนข้ามแดน (ในพื้นที่เป้าหมายที่ 1 คือ เขตผู้มีผลกระทบจังหวัด ยะลา) ได้แก่ การรีวิวเอกสารกระบวนการขึ้นทะเบียนมรดกโลกและอาเซียนข้ามแดน ข้อก าหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาให้เป็น มรดกโลก มรดกอาเซียน บริบทพื้นที่ต าบลอัยเยอร์เวง ต าบลแม่หวาด ต าบลบางลาง เป็นต้น 27 การสร้างการรับรู้ชุมชนสู่การจัดท าแผนชุมชนในการผลักดันป่าบาลา-ฮาลา สู่มรดกอาเซียนข้ามแดน คณะท างานได้ด าเนินการลงพื้นที่ในการสร้างการรับรับของชุมชน ในวันที่ 15 ธันวาคม 2565 โดยได้มีการแต่งตั้งวิทยากรและลงพื้นที่ โดยใช้กระบวนการสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มเพื่อสร้างการรับรู้เบื้องต้น ให้แก่ผู้น าในพื้นที่ จ านวน 3 คน กลุ่มประชาสังคมและ ประชาชนในพื้นที่ จ านวน 6 คน กลุ่มองค์กรภาคีภาครัฐและเอกชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จ านวน 2 คน รวมจ านวน 11 คน ณ บ้านบาลา ต าบลอัยเยอร์เวง อ าเภอเบตง บ้านแหร ต าบลธารโต อ าเภอธารโต และอุทยานแห่งชาติบางลาง ต าบลเขื่อนบางลาง อ าเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา ซึ่งพบว่า ประชาชนและเจ้าหน้าภาครัฐในพื้นที่ยังไม่มีการรรับรู้ข้อมูลหรือกระบวนการขึ้นทะเบียนป่าฮาลา-บาลา ขึ้นเป็น ณมรดกอาเซียนข้ามแดน จึงท าให้คณะท างานได้เสริมสร้างองค์ความรู้พื้นฐานให้แก่แกนน า และวางแผนการลงพื้นที่ซ้ าต่อไป


โครงการพัฒนาแนวทางการอยู่ร่วมกันระหว่างชุมชน 10 และผู้ประกอบการโรงโม่หิน เป้าหมายและตัวชี้วัดระดับโครงการ กลุ่มเป้าหมาย – เชิงปริมาณ ชาวบ้านผู้ได้รับผลกระทบต่อการด ารงชีวิตจากโรงโม่หิน จ านวน 200 ครัวเรือน ผู้ประกอบการโรงโม่หินในต าบลลิดล จ านวน 4 โรง กลุ่มเป้าหมาย - เชิงคุณภาพ มีข้อตกลงการอยู่ร่วมกันระหว่างชุมชนกับโรงโม่หินและมีความขัดแย้งลดลง ตัวชี้วัด - ผลผลิต ได้ข้อมูลการจัดกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมของโรงโม่หิน 1 กิจกรรม ได้ข้อมูลครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบต่อการด ารงชีวิตจากโรงโม่หิน 1 กิจกรรม ตัวชี้วัด - ผลลัพธ์ ได้รูปแบบและแนวทางในการเยียวยาและส่งเสริมกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมของโรงโม่หิน เพื่อการอยู่ร่วมกันกับชุมชนอย่างยั่งยืน 1 รูปแบบ ตัวชี้วัด - ผลกระทบ มีการสร้างข้อตกลงการอยู่ร่วมกันระหว่างชุมชนกับโรงโม่หิน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 1 พื้นที่ความร่วมมือ แผนการด าเนินงาน 1. พัฒนาแนวทางการอยู่ร่วมกันระหว่างชุมชนและผู้ประกอบการโรงโม่หินด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ต าบลลิดล อ าเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 28


29 พัฒนาแนวทางการอยู่ร่วมกันระหว่างชุมชนและผู้ประกอบการโรงโม่หินด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ต าบลลิดล อ าเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา วันที่ 15 ธันวาคม 2565 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ซูลฟีกอร์ มาโซ หัวหน้ากิจกรรมพัฒนาแนวทางการอยู่ร่วมกันระหว่างชุมชนและ ผู้ประกอบการโรงโม่หิน โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพัตรา รุ่งรัตน์ อาจารย์ ดร.ยุทธนา กาเด็ม และอาจารย์กมลวรรณ ชนะกุล พร้อมด าเนินงาน นางสาวนูรีดา มะแซ นายบูฆอรี แยนา นายฮารีฟ อาลี เดินทางลงพื้นที่ส ารวจและศึกษาพื้นในการด าเนินโครงการ โดยมี นายนูรดิน กะลูแป องค์การบริหารส่วนต าบลลิดล เป็นผู้ให้ค าปรึกษาและให้ข้อมูลชุมชนเพื่อให้ด าเนินการโครงการ พร้อมกับก านัน และผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3 นายยะผา สาและ ภายใต้โครงการพัฒนาแนวทางการอยู่ร่วมกันระหว่างชุมชนและผู้ประกอบการโรงโม่หินด้วย กระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ต าบลลิดล อ าเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา


โครงการส่งเสริมและพัฒนาการด าเนินงานของการดูแลผู้สูงอายุและผู้มี 11 ภาวะพึ่งพิง “จันทน์กะพ้อ” มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เป้าหมายและตัวชี้วัดระดับโครงการ กลุ่มเป้าหมาย – เชิงปริมาณ 1. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสุขภาพ ไม่ต่ ากว่า 15 คน/เดือน 2. ผู้สูงอายุที่เข้ารับการดูแลในศูนย์การดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง“จันทน์กะพ้อ” ได้รับ การดูแล/ ส่งเสริมสุขภาพ /ฟื้นฟูสุขภาพทุกคน กลุ่มเป้าหมาย - เชิงคุณภาพ 1. ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาศักยภาพ สามารถดูแลตนเองได้ตามศักยภาพ 2. ไม่มีจ านวนข้อร้องเรียนจากผู้รับบริการในศูนย์การดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง “จันทน์กะะพ้อ” ตัวชี้วัด - ผลลัพธ์ ร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่ได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพในศูนย์การดูแลผู้สูงอายุร้อยละ 80 ไม่มีข้อร้องเรียนจากผู้สูงอายุ/ญาติในการรับบริการที่ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ แผนการด าเนินงาน 1. พัฒนาและส่งเสริมการด าเนินงานของการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง “จันทน์กะพ้อ” มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา 30


31 พัฒนาและส่งเสริมการด าเนินงานของการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง “จันทน์กะพ้อ” มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา ประชาสัมพันธ์กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการด าเนินงานของการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง “จันทน์กะพ้อ” ในวันเวลาราชการ เริ่ม ให้บริการตั้งแต่วันที่ 8 ตุลาคม 2565 เวลา 08.00 –17.00 น. ณ ศูนย์การดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง “จันทน์กะพ้อ” โดยมีอาจารย์ ผู้รับผิดชอบคือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนีย์ เครานวล และอาจารย์ อนงค์ภัทร์ ประสิทธิ์ภัทรเวช ผู้ดูแลผู้สูงอายุจ านวน 2 คน วันที่ 25 ตุลาคม 2565 ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุและผู้สูงอายุร่วมต้อนรับคณะผู้บริหารจาก Yogyakarta State University ประเทศอินโดนีเซีย ให้เกียรติเยี่ยมชมศูนย์การดูแลผู้สูงอายุ"จันทน์กะพ้อ" วันที่ 8 ธันวาคม 2565 ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุและผู้สูงอายุร่วมต้อนรับผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไชยรัตน์ ปราณี อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครสวรรค์และคณะ ให้เกียรติ์เยี่ยมชมศูนย์การดูแลผู้สูงอายุ ทั้งนี้ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และแนวทางการด าเนินงานเดแคร์ วันที่ 14 ธันวาคม 2565 รับการตรวจประเมินการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง จันทน์กะพ้อ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา แบบพักค้างคืน จากศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพที่ 12


โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อยกระดับพืชท้องถิ่น (ดาหลา) 12 สู่การน าไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ เป้าหมายและตัวชี้วัดระดับโครงการ กลุ่มเป้าหมาย – เชิงปริมาณ จ านวนสายพันธุ์ดาหลาที่ได้รวบรวมและขยายพันธุ์ไม่น้อยกว่า 4 สายพันธุ์ ผลิตภัณฑ์จากดอกดาหลาในการจ าหน่ายเชิงพาณิชย์อย่างน้อย 2 ผลิตภัณฑ์ กลุ่มเป้าหมาย – เชิงคุณภาพ ถ่ายทอดกระบวนการขยายพันธุ์พืชดาหลา ให้กับชุมชน เพื่อให้เกิดการอนุรักษ์และน าไปใช้ประโยชน์ ถ่ายทอดกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากดอกดาหลา ให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เพื่อจ าหน่ายเชิงพาณิชย์ ตัวชี้วัด - ผลผลิต จ านวนสายพันธ์ดาหลาที่ได้รับรวบรวมและขยายพันธุ์ไม่น้อยกว่า 4 สายพันธุ์ ผลิตภัณฑ์จากดอกดาหลาในการจ าหน่ายเชิงพาณิชย์อย่างน้อย 2 ผลิตภัณฑ์ ถ่ายทอดกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากดอกดาหลา แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่อย่างน้อย 1 ราย ตัวชี้วัด - ผลลัพธ์ พันธุ์ดาหลาได้รับการขยายพันธุ์เชิงพาณิชย์น าไปสู่การอนุรักษ์พันธุ์ไม้ท้องถิ่นชายแดนใต้และใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ร้อยละ 100 สามารถสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร และผู้ประกอบการในพื้นที่ร้อยละ 20 ตัวชี้วัด - ผลกระทบ เกิดการกระจายรายได้ให้กับชุมชนอย่างมั่นคง และยั่งยืน 1 ชุมชน แผนการด าเนินงาน 1. ยกระดับพืชท้องถิ่น (ดาหลา) สู่การน าไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ 2. พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากดอกดาหลาเชิงพาณิชย์ 32


ยกระดับพืชท้องถิ่น (ดาหลา) สู่การน าไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ วันที่ 27 ตุลาคม 2565ณ ห้องผู้อ านวยการกองพัฒนานักศึกษา ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น จัดประชุมวางแผนการด าเนินโครงการ พัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อยกระดับพืชท้องถิ่น (ดาหลา) สู่การน าไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิรันดิ์เกียรติ ลิ่วคุณูปการ (เป็นประธานในการประชุม) โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์เวคิน วุฒิวงศ์ หัวหน้าศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิสริยาภรณ์ ด ารงรักษ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิสมะแอ เจ๊ะหลง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิไลวัลย์ แก้วตาทิพย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมทบ เวทโอสถ อาจารย์ ดร.นิราณี บือราเฮง อาจารย์ ดร.อัจฉราพร ยกขุน นายเอกชัย สิงหเดช เข้าร่วมประชุมในครั้งนั้ด้วย 33 วันที่ 5 พฤศจิกายน 2565 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิรันดิ์เกียรติ ลิ่วคุณูปการ (เป็นประธานในการประชุม) ผู้ช่วยศาสตราจารย์เวคิน วุฒิ วงศ์ หัวหน้าศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น ผศ.ดร.วิไลวัลย์ แก้วตาทิพย์ ผศ.ดร.อิสมาแอ เจ๊ะหลง อ.ดร.อัจฉราพร ยกขุน อ.ดร.วาริษา วาแม น.ส.พาตีเมาะ อาแยกาจิ นายมูฮ าหมัดตายุดิน บาฮะคีรี นายซูไบดี โตะโมะ อาจารย์และเจ้าหน้าทีประจ าโครงการ พัฒนา ผลิตภัณฑ์เพื่อยกระดับพืชท้องถิ่น (ดาหลา) และเจ้าหน้าที่ประจ าศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น ลงพื้นที่ประชุมและวางแผนการปลูกดอก ดาหลา ขา ตะไคร้ ในโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อยกระดับพืชท้องถิ่น (ดาหลา) สู่การน าไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ณ ต าบลล าพะยา อ าเภอเมือง จังหวัดยะลา


[email protected] WWW.Lpdc.yru.ac.th 061-178-6505 Yala Rajabhat University End Of Proposal THANK YOU ศ ู นย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาสัยราชกัฏยะลา Y a l a R a j a b h a t U n i v e r s i t y Local Promotion and Development Center


Click to View FlipBook Version