The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการเบาะรองนั่งเพื่อสุขภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Arintaya Jaiaye, 2020-02-29 11:51:13

โครงการเบาะรองนั่งเพื่อสุขภาพ

โครงการเบาะรองนั่งเพื่อสุขภาพ

เบาะรองน่งั เพื่อสุขภาพ (Healthy Cushions)

จริ าพร มงพลอย
ประภัสสร กองมลู

โครงการนเ้ี ปน็ ส่วนหนึ่งของการศกึ ษาตามหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชั้นสงู
สาขาวิชาการจดั การสานกั งาน ประเภทวิชาบริหารธรุ กิจ
วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเชยี งใหม่
ปกี ารศกึ ษา 2562

ใบรับรองโครงการ
วิทยาลยั อาชวี ศึกษาเชยี งใหม่

เรอื่ ง เบาะรองน่ังเพื่อสขุ ภาพ (Healthy Cushions)

โดย นางสาวจิราพร มงพลอย รหัส 6132160007
นางสาวประภสั สร กองมลู รหัส 6132160030

ไดร้ ับการรับรองให้นบั เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการศึกษาตามหลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพช้ันสงู
สาขาวชิ าการจัดการสานักงาน ประเภทวิชาบรหิ ารธุรกจิ

............................................................... ….................................... ......................
(นางรุง่ ทิพย์ เตจะโส) (นายณรงคศ์ กั ด์ิ ฟองสนิ ธุ์)
รองผอู้ านวยการฝา่ ยวิชาการ
หวั หนา้ แผนกวิชาการเลขานกุ าร
วันท่ี..........เดอื น.....................พ.ศ.......... วนั ท่.ี ..............เดือน................พ.ศ..........

คณะกรรมการสอบโครงการ

....................................................... ประธานกรรมการ
(นางอรนิ ทยา ใจเอ)

........................................................ กรรมการ
(นางลภัสรดา สมบูรณ)์

........................................................ กรรมการ
(นางสาวพรสวรรค์ ปันธิ)

กิตติกรรมประกาศ

โครงการเร่ือง เบาะรองน่งั เพ่ือสขุ ภาพ (Healthy Cushions) สาเร็จลุลว่ งไดด้ ้วยดี คณะ
ผู้จดั ทาโครงการไดร้ บั ความช่วยเหลือ คาแนะนาตา่ ง ๆ ตลอดจนไดร้ บั กาลังใจจากจากบุคคลหลาย
ท่านเปน็ อยา่ งดียิ่ง ในโอกาสน้ีขอขอบคุณทุกท่าน ดังน้ี

ขอขอบคุณครูอรินทยา ใจเอ ท่ีปรึกษาโครงการ ท่คี อยให้คาปรกึ ษาหารือ ชว่ ยชี้แนะ
แนวทางในการประดิษฐผ์ ลงาน ตลอดจนวธิ กี ารดาเนนิ การจนสรปุ ผลเป็นรปู เล่มเอกสารทสี่ มบรู ณ์

ขอขอบคุณนางนันทการ ศวิ ปรชี า เจ้าของธรุ กจิ การผลติ เสื้อผ้า ซึ่งเปน็ ผทู้ ี่มีทกั ษะและความ
เชี่ยวชาญในการออกแบบตัดเยบ็ เส้อื ผ้า ให้ความร้แู ละคาแนะนาตา่ ง ๆ ตงั้ แตก่ ารเลือกวัสดุ การ
ออกแบบ ตลอดจนวธิ กี ารตัดเยบ็ จนกระทง่ั โครงการสาเร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดี

สาหรบั คุณความดีใด ๆ เกิดขึ้นจากโครงการนี้คณะผจู้ ัดทาขออทุ ิศความดีนีใ้ ห้กบั บิดา มารดา
ซึ่งเป็นท่รี ักและเคารพยิ่ง ตลอดจนครูอาจารยท์ ุกท่านที่ได้ประสิทธ์ิประสาทวิชาความรู้ให้แก่คณะ
ผจู้ ัดทา

จิราพร มงพลอย
ประภสั สร กองมลู

ชือ่ : นางสาวจิราพร มงพลอย
: นางสาวประภัสสร กองมลู
ช่ือโครงการ : เบาะรองนงั่ เพือ่ สุขภาพ (Healthy Cushions)
สาขาวิชา : การจัดการสานักงาน
ประเภทวชิ า : บรหิ ารธรุ กิจ
ครทู ป่ี รึกษาโครงการ : นางอรนิ ทยา ใจเอ
ปกี ารศึกษา : 2562

บทคดั ย่อ

โครงการ เบาะรองนง่ั เพื่อสุขภาพ (Healthy Cushions) มวี ัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เพอื่
ประดิษฐ์เบาะรองน่งั ผอ่ นคลาย 2) เพื่อลดอาการปวดหลงั หรอื ปวดก้นกบ 3) เพ่ือลดการเผาขยะ
ประเภทหลอดพลาสตกิ

กลุม่ ตวั อย่างในการศึกษาครง้ั น้ี ไดแ้ ก่ ครู บคุ ลากร และนักเรยี น นกั ศึกษา วทิ ยาลยั
อาชวี ศกึ ษาเชียงใหม่

การดาเนนิ การโดยผจู้ ดั ทาได้ประดิษฐเ์ บาะรองนงั่ เพื่อสุขภาพ (Healthy Cushions)
เครื่องมอื ท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในการจดั ทาโครงการครั้งนี้ ไดแ้ ก่ แบบสอบถามความพึงพอใจ
โดยแบบประเมนิ มกี ารประมาณคา่ 5 ระดบั

ผลการดาเนินการจากแบบสอบถามความพงึ พอใจของผตู้ อบแบบสอบถามพบวา่ ในภาพรวม
ของความพึงพอใจอยู่ในระดับดมี าก (4.54) โดยหวั ขอ้ ที่ได้รบั ความพงึ พอใจ เรยี งตามลาดบั ดงั น้ี

คุ้มคา่ ใชง้ านไดน้ าน คิดเปน็ ร้อยละ 4.65 มีความเหมาะสมกบั สรีระของผใู้ ชง้ าน คดิ เป็น
ร้อยละ 4.63 ความสวยงาม สีสนั นา่ ใช้ การตกแต่ง คิดเป็นร้อยละ 4.57 ขนาดกะทัดรัด สะดวก
ต่อการใช้งาน คดิ เป็นร้อยละ 4.57 ความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คิดเป็นรอ้ ยละ 4.56
ช่วยรองรบั นา้ หนัก ปรบั ใช้กับส่วนอืน่ ของรา่ งกายได้ เชน่ พิงหลงั คิดเป็นรอ้ ยละ 4.52 การตัดเย็บ
ละเอยี ดและประณตี คิดเปน็ ร้อยละ 4.52 ชว่ ยลดอาการปวดหลังหรือปวดก้นกบ ผ่อนคลายขณะใช้
งาน คิดเปน็ ร้อยละ 4.48 สามารถลดปรมิ าณขยะประเภทหลอดพลาสติก คดิ เป็นร้อยละ 4.48
ชว่ ยระบายความร้อนไดด้ ี คิดเป็นรอ้ ยละ 4.43

สารบัญ หนา้

เรือ่ ง ข
ใบรับรองโครงการ ค
กิตติกรรมประกาศ ง
บทคัดย่อ จ
สารบัญ ฉ
สารบัญ (ตอ่ ) ช
สารบญั ตาราง
สารบญั รปู ภาพ 1
บทท่ี 1 บทนา 2
2
1.1 ท่ีมาและความสาคัญของโครงการ 2
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ 2
1.3 ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รบั
1.4 ขอบเขตของโครงการ 3
1.5 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ 3
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ท่เี ก่ียวข้อง 4
2.1 ความหมายของเบาะรองนงั่ เพ่ือสุขภาพ 4
2.2 ลกั ษณะของเบาะรองน่ัง 5- 8
2.3 ความรเู้ ก่ยี วกบั สขุ ภาพ
2.4 ความรูเ้ กี่ยวกับหลอดพลาสติก 9
2.5 งานวจิ ัยท่เี กย่ี วขอ้ ง 9 - 11
บทที่ 3 วธิ กี ารดาเนนิ โครงการ 11 - 15
3.1 การวางแผน
3.2 วสั ดุ อุปกรณ์ในการประดิษฐเ์ บาะรองน่งั เพือ่ สุขภาพ 16 - 17
3.3 ขน้ั ตอนการประดิษฐ์เบาะรองนั่งเพ่ือสขุ ภาพ 18 - 19
บทที่ 4 ผลการดาเนนิ งาน
4.1 การวเิ คราะห์ขอ้ มูลทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม 20
4.2 การวเิ คราะห์ค่าเฉลี่ยและค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานต่อโครงการ 21 - 22
บทท่ี 5 สรปุ และอภิปรายผล
5.1 สรปุ ผล 22
5.2 อภิปรายผล 22
5.3 ปญั หาและอุปสรรค 22
5.4 วิธกี ารแกป้ ญั หา
5.5 ขอ้ เสนอแนะ

สารบญั (ตอ่ ) หน้า

เร่ือง
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก

ภาคผนวก ก. โครงร่างโครงการ
ภาคผนวก ข. แบบประเมิน
ภาคผนวก ค. รปู ภาพ
ประวตั ผิ ู้จัดทา

สารบญั ตาราง หนา้

เรอื่ ง 16
ตารางที่ 1 แสดงร้อยละของเพศชาย เพศหญงิ 17
ตารางที่ 2 แสดงรอ้ ยละของสถานภาพผปู้ ระเมิน 18
ตารางท่ี 3 สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ

สารบญั รูปภาพ หน้า
9
เรื่อง 9
ภาพท่ี 1 ผ้าเมตรพิมพล์ ายและผา้ เมตรสยี ีนส์ 10
ภาพที่ 2 กรรไกร 10
ภาพท่ี 3 ดา้ ย 10
ภาพที่ 4 ใยโพลเี อสเตอร์ 11
ภาพท่ี 5 จกั รเยบ็ ผา้
ภาพที่ 6 หลอดดูด

บทที่ 1
บทนา

1.1 ท่มี าและความสาคัญของโครงการ
ชวี ติ ประจาวนั ของคนสว่ นใหญท่ ่ีทางานในสานกั งานหรือประกอบอาชีพใด ๆ ก็ตาม

ต้องอาศัยการนัง่ บนเก้าอเ้ี พอื่ ทางานเปน็ เวลานาน ๆ ซึง่ จะทาให้เกิดอาการปวดเมื่อยลา้ ตามรา่ งกาย
การปวดเมอ่ื ยเหล่าน้สี ่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากการน่งั ทางานผดิ ท่า รวมไปถงึ การพยายามท่จี ะโคง้ ตัว
เพ่ือเขา้ ไปหาจอคอมพวิ เตอรม์ ากเกินไป จนทาให้เกิดอาการปวดบา่ ไหล่ และกระดกู ส่วนหลังค่อย ๆ
โค้งงอ ซง่ึ อาจจะทาให้หลงั ค่อมในวนั ข้างหน้าได้ ซงึ่ ถ้าหากกลา้ มเนือ้ ถกู ใช้งานจนเมื่อยล้าเกนิ ไปจะทา
ให้ยากต่อการเคลือ่ นไหวของร่างกายไปยังอิริยาบถอืน่ ๆ ตามมาได้ จากการประสบปญั หาการนงั่
ทางานนาน ๆ แล้วทาใหเ้ กิดอาการปวดหลงั หรือปวดก้นกบ อาการเหลา่ นีจ้ ะมีท้งั รุนแรงและไม่รนุ แรง
มากนกั ขน้ึ อยู่กับวา่ บคุ คลนนั้ ๆ มีการขยบั เขย้ือนร่างกายในเวลาทางานมากน้อยอย่างไร บางคนก็มี
วิธีแกป้ ัญหาคอื การนาเบาะมารองนัง่ เพอื่ ไม่ให้ปวดก้นกบ บ้างก็หาหมอนมาพิงหลังเพือ่ ไมใ่ ห้ปวดหลัง
โดยทว่ั ไปเบาะท่ีนามารองนัง่ หรอื หมอนที่นามาพงิ หลัง ข้างในจะบรรจุดว้ ยใยสังเคราะห์ ซ่ึงหากเมื่อใช้
งานได้สกั ระยะหนึ่ง อาจทาให้เกดิ ไรฝ่นุ ขึน้ ได้

ปัญหาขยะซ่ึงเปน็ ปัญหาระดับโลก ขยะสว่ นใหญม่ ักจะถูกทิ้งลงในดิน ขยะบางชนดิ สลายตัว
ให้สารประกอบอนิ ทรยี ์และสารประกอบอนนิ ทรีย์แต่ขยะบางชนดิ สลายตัวยากเชน่ หนัง พลาสตกิ
โลหะเพราะปัญหาขยะท่คี ่อยๆ พอกพูนข้ึน กาลังสง่ ผลกระทบตอ่ สรรพชวี ติ ทง้ั หมด เรือ่ งน้ีจงึ เป็นสง่ิ ที่
ไม่ควรมองข้าม และควรใหค้ วามสนใจ สร้างความเข้าใจ ตอ่ ขยะทุกช้นิ ท่เี กิดข้ึนจากน้ามือของเราทกุ
คน ดงั เชน่ ท่ปี รากฏปญั หาการสะสมของขยะพลาสติกในท้องทะเล สิ่งน้ีเปรยี บเสมือนการนับถอยหลัง
ระเบิดเวลาท่ผี ลกระทบต่างๆจะย้อนกลบั มาสู่มนุษย์ในทสี่ ุด หลอดพลาสติกเกือบท้งั หมดทามาจาก
พลาสตกิ ทีช่ ่ือวา่ Polypropylene หรอื PP ซง่ึ เป็นพลาสติกเกรดพื้นฐานที่ใช้กนั อย่างแพร่หลายมี
สัดส่วนในการใชง้ านมากท่ีสุดในโลก หลอดพลาสติกส่วนใหญม่ นี ้าหนักเบาจึงมักจะหลุดรอดจาก
กระบวนการคัดแยกและปะปนกบั ขยะท่มี ีขนาดใหญ่กว่า ทาใหเ้ กิดปัญหาต่อสงิ่ แวดล้อม ทงั้ บนบก
และตกลงสทู่ ะเล เปน็ อนั ตรายต่อสิง่ มีชีวติ ในน้า เน่ืองจากสว่ นใหญข่ องหลอดพลาสติกไมถ่ กู นามา
รีไซเคลิ แต่สามารถนามาประยกุ ต์ใหเ้ กิดประโยชน์ได้

ดงั น้ันผูจ้ ดั ทาจึงได้คดิ ค้นหาวธิ ีท่ีจะแก้ไขปัญหาอาการปวดหลงั หรือปวดก้นกบ อกี ท้ังยัง
แก้ปญั หาเรื่องไรฝุ่นทอ่ี าจก่อใหเ้ กิดโรคภูมิแพ้ และยังชว่ ยแกป้ ัญหาขยะจากหลอดพลาสติกอีกด้วย
จงึ ไดจ้ ดั ทาโครงการเบาะรองน่งั เพ่อื สุขภาพ เนื่องจากคนที่น่ังทางานในสานักงานประสบปญั หาปวด
หลงั หรอื ปวดก้นกบ โดยนาหลอดพลาสตกิ และเศษผ้าที่ไมใ่ ช้แลว้ นามาใชแ้ ทนใยสงั เคราะห์ เพราะ
หลอดพลาสตกิ มกี ารถา่ ยเทอากาศได้สะดวกไมเ่ กิดความรอ้ นและสามารถบาบัดผูท้ ่มี ีปัญหาปวดหลัง
หรอื ปวดก้นกบใหร้ สู้ ึกสบาย ผอ่ นคลายได้

1.2 วัตถปุ ระสงค์
1.2.1 เพอ่ื ประดิษฐ์เบาะรองนั่งเพื่อสุขภาพ
1.2.2 เพ่ือลดอาการปวดหลังหรือปวดก้นกบได้
1.2.3 เพื่อลดการเผาขยะประเภทหลอดพลาสตกิ

1.3 ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รับ
1.3.1 ช่วยบรรเทาอาการปวดหลงั หรือปวดก้นกบได้
1.3.2 ผู้ใชง้ านเกดิ ความสบาย ผ่อนคลาย
1.3.3 ชว่ ยลดปรมิ าณขยะพลาสติกประเภทหลอดเคร่ืองด่ืม

1.4 ขอบเขตของโครงการ
เชิงปริมาณเบาะรองนั่งเพื่อสุขภาพ จานวน 6 ชิน้
เชงิ คณุ ภาพ เบาะรองน่ังเพื่อสุขภาพ มคี วามสามารถทาให้เกดิ การผ่อนคลาย อริ ิยาบถ

ลดปญั หาการปวดก้นกบ ขนาดกะทดั รดั สวยทันสมัย

1.5 นยิ ามศพั ท์
เบาะรองนงั่ เพื่อสขุ ภาพหมายถึง เบาะรองน่งั เพ่ือสุขภาพท่ีใช้รองนง่ั เกา้ อีเ้ พ่ือทาให้เกิดความ

สบายเวลานั่งทางานนาน ๆ โดยเบาะรองนง่ั ผ่อนคลายผลติ จากผา้ และบรรจุไส้หมอนที่ทามาจาก
หลอดพลาสตกิ เพ่ือทาให้เกิดการผ่อนคลาย อริ ิยาบถ ลดปัญหาการปวดกน้ กบ ขนาดกะทดั รดั
สวยทันสมยั และสามารถใช้งานไดจ้ รงิ

บทที่ 2
เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้อง

ในการจัดทาโครงการเบาะรองน่ังเพ่ือสขุ ภาพผ้ดู าเนินโครงการได้รวบรวมแนวคดิ ทฤษฎี
หลักการต่าง ๆ จากเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กี่ยวข้องดังตอ่ ไปนี้

2.1 ความหมายของเบาะรองน่งั เพ่ือสขุ ภาพ
2.2 ลกั ษณะของเบาะรองนั่ง
2.3 ความรเู้ กย่ี วกบั สุขภาพ
2.4 ความรเู้ กีย่ วกบั หลอดพลาสตกิ
2.5 งานวิจยั ท่ีเกยี่ วขอ้ ง

2.1 ความหมายของเบาะรองนง่ั
เบาะรองนั่งเพื่อสุขภาพหมายถึง เบาะรองนั่งเพ่ือสขุ ภาพท่ีใช้รองนงั่ เกา้ อเ้ี พอ่ื ทาให้เกิดความ

สบายเวลานั่งทางานนาน ๆ โดยเบาะรองนงั่ ผอ่ นคลายผลติ จากผา้ และบรรจุไส้หมอนทท่ี ามาจาก
หลอดพลาสติก เพ่ือทาให้เกดิ การผ่อนคลาย อิรยิ าบถ ลดปัญหาการปวดกน้ กบ ขนาดกะทัดรัด สวย
ทันสมยั และสามารถใช้งานได้จริง

เบาะน่งั หมายถึง ผลิตภณั ฑท่ีไดจากการนาผาใยธรรมชาติหรอื ใยประดษิ ฐมาเย็บประกอบ
เปนรูปทรงตาง ๆ เชน สเี่ หล่ียมจตั ุรัส ส่ีเหลี่ยมผืนผา ทรงกลม อาจใช้ผาทง้ั ผนื หรอื ใชเทคนคิ ในการ
ทาลวดลายเพ่อื ใหเกดิ ความสวยงาม อาจเย็บรองดานในดวยผาดบิ ชนดิ บางอีกครง้ั แลวบรรจุนุน
ใยโพลเี อสเตอร ฟองนา้ หรอื เสนใยอื่นที่เหมาะสม เยบ็ ตรึงดวยมือ อาจเยบ็ เปนชวง ๆ เพอ่ื ทาใหมี
ลักษณะเปนลอนตามขนาดท่ีตองการ ใชสาหรบั รองน่งั หรือเปนของตกแต่ง

2.2 ลักษณะของเบาะรองนั่ง
- เบาะรองนัง่ ควรมคี วามหนาพอประมาณ ถ้าเบาะบางเกินไปกจ็ ะชว่ ยเร่ืองของการน้าหนกั ได้

นอ้ ยกวา่ เบาะรองน่ังท่ีหนาหน่อยจะชว่ ยใหน้ ัง่ ลงสบายกวา่ เพราะนา้ หนักไดม้ าก นอกจากนน้ั เบาะท่ี
หนาจะใช้งานไดย้ าวนานกว่าดว้ ย

- เบาะรองน่ังควรมีขนาดพอเหมาะพอดีกับเก้าอีน้ ่ังขนาดของเบาะรองนั่งทด่ี ีควรมีขนาด
พอเหมาะพอดีกบั ท่ีนัง่ หากเบาะมีขนาดคบั แคบกวา่ ก็ทาใหน้ ั่งลงไมส่ บายดี หรือหากเบาะมีขนาด
ใหญ่โตกว่าก็จะเกินท่นี ่ังลงออกมาทาใหน้ ่ังไม่สบายเชน่ เดียวกนั ดังนนั้ เลอื กแบบที่พอเหมาะพอดีจะดี
ทส่ี ุด

- เบาะรองนั่งควรมสี ายเชือกผูกกบั เกา้ อ้ีนง่ั เพื่อไม่ใหข้ ยบั รว่ งได้ ถ้าเราต้ังเบาะบนเก้าอนี้ ่งั แล้ว
นั่งลง เบาะก็มีโอกาสท่ีจะขยับไปมาและหลน่ ออกจากเกา้ อีน้ ั่งได้ แทนที่จะช่วยให้นง่ั ลงสบายขึน้ กลบั
จะตอ้ งเป็นพะวง ดังนนั้ เบาะทด่ี ีควรมสี ายเชอื กไว้สาหรบั มัดตดิ กับขาหรือพนักพิงของเก้าอี้เพ่ือ
เกาะติดไม่ให้เคลอ่ื นหรือหล่นได้ เวลานงั่ ก็ไม่ตอ้ งกังวลอีกต่อไป

4

ดังนนั้ ที่นัง่ ที่มคี วามยืดหยุน่ มากเกินไปจึงไมเ่ พียง แตท่ าให้ร่างกายมนุษยไ์ ด้รับการสนบั สนนุ
แม้กระทั่งเนื่องจากจาเป็นต้องรกั ษาท่าทางทีแ่ นน่ อนและการเพ่ิมความเครยี ดในกล้ามเน้ือจะทาให้
ความเม่ือยลา้ เบาะรองนั่งประกอบด้วยเบาะผ้านุ่มเบาะสปรงิ ฯลฯ กน้ และต้นขาจมลงลึกลงในเบาะ
รองนง่ั และทัง้ รา่ งกายสัมผัสกับความดันสมั ผสั ของเบาะรองนั่ง ไม่สะดวกในการปรับท่านั่งและ
ประสทิ ธภิ าพของการไม่รวมความดนั ยังไม่ดี นอกจากนร้ี ่างกายมนษุ ย์นั่งบนเบาะเก้าอนี้ ุ่มเป็นเวลา
นานและต้องผา่ นกล้ามเน้อื การหดตัวทาหน้าทรี่ กั ษาท่านั่งทม่ี ่ันคงดังนนั้ เบาะรองน่งั ต้องไม่น่มุ เกนิ ไป

2.3 ความรเู้ กยี่ วกับสุขภาพ
สุขภาพ คอื สภาวะของรา่ งกายและจติ ใจของมนุษย์ การทม่ี นษุ ยจ์ ะดารงชีวิตอยู่ในสงั คมได้

อยา่ งปกติสุขน้นั ตอ้ งเป็นผู้ที่มสี ภาวะของรา่ งกายและจิตใจท่ีสมบรู ณ์ ปราศจากโรคภยั ไขเ้ จ็บ มี
โครงสร้างของร่างกายท่ีเหมาะสม

สขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ เป็นสิง่ สาคัญและจาเปน็ สาหรับทกุ ชวี ติ การทีจ่ ะดารง ชีวิตอยู่
อยา่ งปกตกิ ็คือ การทาใหร้ ่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ จติ ใจมคี วามสขุ ความพอใจ ความสมหวังทงั้
ตนเองและผูอ้ นื่ ผทู้ ม่ี ีสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ที่ดีจะปฏิบตั หิ น้าทีป่ ระจาวันไม่ว่าเปน็ การ เรียนหรอื
การทางานเป็นไปดว้ ยดี มปี ระสิทธิภาพการท่ีเรารสู้ ึกว่า ท้ังสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ของเรามีความ
ปกติและสมบรู ณด์ ี เราก็จะมีความสุขในทางตรงข้าม ถา้ สุขภาพกายและสุขภาพจิตของเราผิดปกติ
หรือไมส่ มบูรณ์ เรากจ็ ะมคี วามทกุ ข์รจู้ กั บารุงรักษาและส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตเปน็ สิง่ ที่
จาเป็นสาหรับชวี ิตของทุกคนในปจั จบุ นั เป็นที่ยอมรบั วา่ การร้จู กั ดูแลสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ นัน้
เป็นสิง่ สาคญั มากทจ่ี ะชว่ ยให้ชีวติ อย่ไู ด้ด้วยความสุขสมบรู ณ์และมีคุณภาพท่ีดี

2.4 ความรเู้ กย่ี วกับหลอดพลาสตกิ
หลอดดดู เปน็ อปุ กรณ์ในการดูดของเหลว มกั ใชก้ บั เคร่ืองดื่ม โดยทั่วไปหลอดดูดจะเปน็ ท่อ

ผอมและยาว ทาจากพลาสติก (มกั จะเป็น polystyrene) มีทง้ั หลอดดดู ตรง และหลอดดูดทส่ี ามารถ
งอตรงปลายได้ เพื่อให้ดูดเคร่ืองดืม่ ได้ง่ายขึ้น เม่ือดดู เคร่ืองด่มื เราจะนาปลายข้างหน่งึ ใส่ลงเคร่ืองดื่ม
อีกข้างหนึ่งใส่ปาก โดยมักจะใช้มอื จับไว้ด้วย เมอื่ กลา้ มเนื้อบรเิ วณปากทาการออกแรงดดู ทาให้ความ
ดันอากาศภายในปากลดลง ความดันอากาศรอบเคร่ืองดืม่ ซ่ึงมมี ากกว่าจะดันเครื่องดื่มให้ไหลเข้าไปใน
หลอดดดู เข้าสปู่ าก หลอดดูดถูกคิดค้นโดยชาวสุเมเรียน โดยใชใ้ นการดมื่ เบยี ร์ เพ่อื เล่ยี งเศษตะกอน
จากการหมัก หลอดดดู ในรูปแบบปัจจบุ นั คิดคน้ ในปี พ.ศ.2431 หลอดที่เกา่ ท่ีสดุ พบทีส่ ุสานชาว
สเุ มเรยี น อายุ 3,000 ปกี ่อนคริสตกาล เป็นหลอดทองประดบั ดว้ ยลาพสิ ลาซูล่ี ซึ่งประกอบด้วยแร่
3 ชนดิ คือแร่ไพไรท์ (Pyrite) สีทอง, แรค่ าลไซท์ (Calcite) สขี าว, แร่ลาซูไรท์ (Lazurite) สนี า้ เงนิ
ชาวอารเ์ จนตนิ าและข้างเคยี งใชเ้ ครือ่ งมือเหล็กคล้าย ๆ กนั เรียกวา่ bombilla ใชเ้ ปน็ ท้งั หลอดและ
ตะแกรงสาหรบั ด่มื ชาเมท (Yerba mate) หลายร้อยปี

การผลติ หลอดพลาสติกสง่ เสริมการใชป้ โิ ตรเลยี ม และหลอดทีใ่ ช้แลว้ กลายเป็นส่วนหนึ่งของ
มลภาวะพลาสตกิ ทัว่ โลกเมอ่ื ถูกท้ิง ส่วนใหญห่ ลังจากใชง้ านครง้ั เดียว กลมุ่ ผู้สนบั สนุนกลุ่มตอ่ ต้าน
หลอดพลาสตกิ ไดป้ ระเมินวา่ มกี ารใช้หลอดประมาณ 500 ล้านหลอดต่อวันในสหรฐั อเมริกาเทา่ นน้ั
และโดยเฉลี่ย 1.6 หลอดตอ่ หัวตอ่ วนั

5

2.5 งานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้อง
พันธ์ยศ วรเชฐวราวัตร์ (บทคัดย่อ : 2555)
การวิจัยครงั้ นม้ี วี ัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ ศกึ ษาพฤตกิ รรมและวิเคราะห์ทา่ นง่ั ทางานของพนกั งาน

เย็บจกั รในอุตสาหกรรมและผลกระทบดา้ นความเม่ือยล้าทีเ่ กิดขน้ึ จากการทางาน เพื่อหาสาเหตุท่เี ป็น
ทมี่ าของความปวดเมอื่ ยของร่างกายในสว่ นตา่ ง ๆ โดยมปี ระชากรกลุม่ เป้าหมายเป็นพนักงานเย็บ
ทั้งหมด 50 คน โดยเคร่อื งมือทีใ่ ช้เปน็ แบบสอบถามมีคา่ ความตรงเท่ากับ 0.833 และประเมนิ
ลกั ษณะการทางานจากภาพถ่ายและวิเคราะห์ผลดว้ ย RULA นามาวิเคราะหข์ ้อมลู ทางสถิตดิ ้วย
โปรแกรม SPSS (Statistical Package for the Social Sciences) Version 15 ผลการวิจยั พบวา่
พนักงานมีอาการปวดเมื่อยจากการทางานบริเวณไหล่ขวา คดิ เป็นรอ้ ยละ 44.9 รองลงมาคือบริเวณ
ไหลซ่ า้ ยและคอ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 40.8 และบริเวณหลงั สว่ นล่างคิดเป็นร้อยละ 34.7 ซง่ึ มสี าเหตุ
มาจากความสงู ของโต๊ะจักร และเก้าอที้ ่ีใชใ้ นการนง่ั ทางาน มคี วามสูงไม่เหมาะสมกับพนักงาน ทาให้
มลี กั ษณะการน่งั ทางานทีต่ ้องมกี ารก้มและโนม้ ตวั ไปข้างหน้ามาก ซึง่ เป็นสาเหตุของอาการปวดเมือ่ ย
อีกทั้งสภาพแวดล้อมในการทางานยังมีอากาศร้อนจงึ เปน็ ปัจจัยหนึ่งท่ีส่งผลใหพ้ นักงานเกิดความ
เครียดในการทางาน และเกิดการเจบ็ ป่วยเกดิ ข้ึนตามมา ซ่ึงโรคทเี่ ก่ยี วข้องกับความเมื่อยลา้ ที่พนักงาน
เปน็ มากที่สดุ คอื ไดแ้ ก่ โรคปวดหัว/ไมเกรน คดิ เป็นร้อยละ 12.12

ผลจากการวเิ คราะห์ภาพถ่ายดว้ ย RULA ปรากฏว่าระดบั คะแนนที่มีความถีม่ ากทีส่ ุด
คอื ระดบั คะแนน 5-6 คิดเป็นร้อยละ 62 และระดบั คะแนนที่มีความถีน่ อ้ ยท่ีสุดคือ ระดับคะแนน
3-4 คิดเปน็ ร้อยละ 32 จากระดบั คะแนนท้ังหมดมีคา่ เท่ากบั 5.3 แสดงให้เห็นว่างานน้ันเรมิ่ มีปญั หา
ด้านการยศาสตร์ ควรมีการศึกษาเพมิ่ เติมและรบี ดาเนนิ การปรับปรงุ แกไ้ ขลกั ษณะงานดังกล่าวโดยเรว็
ผูว้ จิ ัยได้เสนอแนะวธิ ีการปรบั ปรงุ การทางานไว้ 2 แนวทางคอื

1) ดา้ นสถานที่ทางาน ควรมีการปรบั ปรงุ โตะ๊ จักรใหส้ ามารถปรับความสูงต่าไดแ้ ละมคี วาม
เอยี งของพ้ืนโต๊ะอยู่ท่ี 10-20 องศา สว่ นเก้าอี้ควรเป็นเก้าอี้ท่ีสามารถปรับความสงู ต่าได้ มพี นกั พงิ ท่ี
พักแขนและที่พักเท้าเพ่ือช่วยลดปญั หาอาการเม่ือยลา้

2) ด้านอุปกรณ์ช่วยเสริมการทางาน เสนอแนะให้มกี ารปรับปรงุ โต๊ะเสริมให้มีความสงู เสมอ
กับโต๊ะจกั รเพ่อื ง่ายต่อการหยิบช้นิ งาน

ประดษิ ฐ์ ประทีปะวณิชม (บทคดั ยอ่ : 2557)
งานวจิ ัยชิ้นนี้ศึกษาเก่ียวกบั โรคคอมพวิ เตอรซ์ ินโดรม (Computer syndrome) หรือที่บคุ คล
ส่วนใหญร่ จู้ ักกันดีในช่ือท่เี รยี กรวมกนั ของกลุม่ อาการเจ็บป่วยจากการทางานสานักงานว่าโรคออฟฟิศ
ซินโดรม (Office Syndrome) คือ ลักษณะอาการบาดเจบ็ สะสมท่ีเกิดจากการมีพฤติกรรมทา่ ทางการ
ทางานในอริ ยิ าบทเดิม ๆ ของผู้ปฏิบตั งิ านเป็นระยะเวลานาน มีความเครยี ดประกอบจากการทางาน
และสภาพแวดลอ้ มจากการทางานไม่เหมาะสม ซ่ึงโรคคอมพิวเตอร์ซนิ โดรมจะแสดงอาการออกมาใน
2 ลักษณะ ดังนี้
1. อาการเจ็บปว่ ยสะสม (Repetitive strain injury) คอื การเจบ็ ปว่ ยสะสมของกลา้ มเน้อื
ความรสู้ กึ ตงึ ชา เกรง็ จนกลายเป็นอาการเรื้อรงั รวมท้ัง ความเครยี ดจากการทางานจะส่งผลตอ่ การ
อกั เสบของกล้ามเน้ือมากขึ้น

6

2. อาการเม่ือยล้าบรเิ วณดวงตา (Computer Vision Syndrome) คือ กลุ่มอาการทางตา
ท่ีเกิดข้นึ จากการใช้คอมพวิ เตอร์เปน็ ระยะเวลานาน ผ้เู จ็บปว่ ยมกั ร้สู กึ แสบตา ปวดตา เม่ือยตา
มองภาพไมช่ ดั เจน

ทง้ั นี้ ผูท้ มี่ ีอาการโรคคอมพวิ เตอรซ์ ินโดรมส่วนใหญ่ จะเกดิ ความรู้สึกไม่สะดวกสบายยากตอ่
การเคลอื่ นไหว ทรมานในการใชช้ วี ติ ประจาวันในระยะยาว และสามารถเร้ือรงั ไปส่โู รคอ่นื ๆ ตามมา
ไดโ้ ดยปัจจบุ นั สามารถพบเห็นผเู้ จบ็ ป่วยทมี่ อี าการดังกล่าวได้บ่อยครง้ั ขึน้ ในกลุ่มพนกั งานท่ปี ฏบิ ัติงาน
ในออฟฟศิ เน่ืองมาจากมีการใชค้ อมพิวเตอร์ในการปฏบิ ัตงิ านเกอื บตลอดทั้งวนั สงั เกตได้จากแนวโน้ม
ของชว่ั โมงการทางานที่มากเพ่มิ สูงขนึ้ และชั่วโมงการทางงานทน่ี ้อยลดลงอยา่ งต่อเนือ่ ง โดยมีสัดส่วน
ของผทู้ ่ีมชี ว่ั โมงการทางานสูงมากกว่าผู้ที่มีช่ัวโมงการทางานนอ้ ยแตกต่างกนั อย่างชดั เจน

สาหรับประเทศไทย สานกั งานสถติ แิ หง่ ชาติได้มกี ารสารวจเกยี่ วกับจานวนผ้ทู ี่มีอาการโรค
คอมพิวเตอร์ซินโดรมของผู้ปฏิบตั ิงานภายในสานกั พิมพ์แหง่ หน่ึงในปี 2553 พบวา่ มผี ้ปู ฏบิ ัตงิ าน
ถึงร้อยละ 60 จากจานวนกล่มุ ตัวอย่างทั้งหมด 400คน มีอาการโรคคอมพวิ เตอร์ซนิ โดรม โดย
ลักษณะอาการที่พบส่วนใหญ่คือ ปวดหลงั เร้อื รัง ปวดศรี ษะ และอาการอักเสบของเส้นประสาท
ซึง่ เกดิ จาก 3 การกดทบั ของข้อมือ เป็นผลมาจากการทางาน การใช้คอมพวิ เตอรต์ ิดต่อกันเป็นระยะ
เวลานาน ถงึ วนั ละ 7 ชัว่ โมง การมีสภาวะเครยี ด และมีพฤตกิ รรมการน่ังที่ไม่ถูกตอ้ งตามหลกั
การยศาสตร์ (Ergonomics)

นอกจากน้ี 10% ของผู้ปฏิบัตงิ านในเมือง มีแนวโน้มการเปน็ โรคคอมพวิ เตอร์ซินโดรมเพิ่ม
มากขึ้น ซ่ึงสร้างใหเ้ กิดความสูญเสยี ทางเศรษฐกิจมากถึง 1.1 แสนล้านบาทตอ่ ปี คิดเปน็ มูลค่าการ
สญู เสยี มากถึง 38,820 บาทต่อปตี ่อคน โดยวัดจากจานวนผ้ปู ว่ ยนอกที่รกั ษาอาการเกยี่ วกับโครงร่าง
กลา้ มเนือ้ (Work-Related Musculoskeletal Disorders, WMSDs) ซึ่งเป็นช่อื เรยี กรวมของอาการ
ของผทู้ ี่ปฏบิ ัติงาน ทมี่ ีการเคลื่อนไหวในอิรยิ าบถเดิมติดต่อกันเปน็ ระยะเวลานาน เช่น การทางานหน้า
คอมพิวเตอร์ การยนื ต้อนรบั ซึง่ ลกั ษณะอาการของโรคกลุ่มน้ี ส่วนหนงึ่ เป็นผลมาจากโรคคอมพิวเตอร์
ซินโดรม ท้งั นี้ เนือ่ งจากปัจจุบันยงั ไม่ได้มีการศึกษาและเก็บข้อมลู ของผู้ที่เปน็ โรคคอมพิวเตอร์
ซินโดรม โดยเฉพาะอย่างจรงิ จงั ในประเทศไทย โดยจากข้อมลู แสดงใหเ้ หน็ ถึงแนวโน้มทเี่ พม่ิ ขึน้ และ
เป็นปญั หาอนั ดับหน่งึ ของวัยแรงงาน

สุจติ รา วาสนาดารงดี (บทคัดยอ่ : 2562)
ไดค้ าดการณ์ปริมาณขยะพลาสตกิ ทไ่ี หลสทู่ ะเลซงึ่ คาดว่าจะมีปริมาณสูงถงึ 13 ลา้ นตนั ตอ่ ปี
เทยี บเท่ารถบรรทุก 1 คันขนขยะพลาสติกทง้ิ ลงทะเลทกุ ๆ 1 นาที เนอ่ื งจากพลาสตกิ จัดเปน็ วสั ดุ
ที่ย่อยสลายตามธรรมชาติได้ยาก ใชเ้ วลานานหลายรอ้ ยปี ทาให้ปรมิ าณขยะพลาสตกิ สะสมในทะเล
เพ่มิ จานวนขึน้ กระจายที่กน้ ทะเลและเปน็ แพขยะขนาดใหญล่ อยในมหาสมุทร และถึงแมว้ ่าพลาสติก
จะยอ่ ยสลายยากแต่พลาสตกิ สามารถแตกตัวกลายเป็นไมโครพลาสตกิ มีงานวิจยั ทางวทิ ยาศาสตร์
จานวนมากท่รี ายงานผลกระทบของไมโครพลาสตกิ ต่อระบบนเิ วศและสิง่ มชี วี ิตในห่วงโซอ่ าหารของ
มนุษย์ (GESAMP, 2015) ทาใหส้ หประชาชาตแิ ละรฐั บาลทวั่ โลกต่นื ตัวและพยายามลด ละ เลกิ
พลาสตกิ แบบใชค้ ร้งั เดยี วแลว้ ทิ้ง ดังจะเห็นไดจ้ ากโครงการส่ิงแวดลอ้ มแห่งสหประชาชาติ (United
Nations Environment Program: UNEP) กาหนดใหว้ ันส่ิงแวดลอ้ มโลก (World Environmental

7

Day) เม่ือวันท่ี 5 มิถุนายน 2561 เป็นวนั แหง่ การต่อสกู้ ับมลพิษพลาสติก (Beat Plastic
Pollution) โดยรณรงคใ์ ห้ปฏิเสธการใช้พลาสตกิ ชนิดน้ี

ประเดน็ ปัญหาขยะพลาสตกิ นับเป็นปญั หาท่ีสาคญั ของประเทศไทยเชน่ กัน โดยในแตล่ ะปี
ประเทศไทยมกี ารผลติ และใช้ถุงพลาสติกกวา่ 45,000 ล้านใบ ในปี พ.ศ. 2560 ปริมาณขยะ
พลาสตกิ ประเภทถงุ พลาสตกิ หูห้ิวอยู่ที่ 517,054 ตนั แก้วนา้ พลาสตกิ แบบใช้ครงั้ เดยี ว 241,233
ตัน หลอดพลาสติก 3,873 ตัน กลอ่ งโฟมบรรจอุ าหาร 29,248 ตนั (คณะอนุกรรมการบรหิ าร
จัดการขยะพลาสติก, 2561) ในชว่ ง 10 ปีท่ีผา่ นมา มีขยะประเภทพลาสติกเกดิ ข้ึนในประเทศทั้งสนิ้
ร้อยละ 12 ของปรมิ าณขยะทั้งหมด หรือประมาณปีละ 2 ล้านตนั นากลับมาใชป้ ระโยชน์ ปลี ะ 0.5
ลา้ นตนั (ร้อยละ 25) สว่ นท่ีเหลอื 1.5 ล้านตนั ถกู นาไปกาจัดดว้ ยวธิ ฝี งั กลบหรือเตาเผา บางส่วน
ตกคา้ งในสิ่งแวดลอ้ ม (กรมควบคมุ มลพษิ , 2560) อกี ทั้งประเทศไทยยังถูกจัดให้อยู่อันดับ 6 ของ
ประเทศท่ที ้งิ ขยะพลาสตกิ มากทส่ี ุดในโลก (Jambeck et al., 2015) สง่ ผลกระทบต่อภาพลักษณ์
ของประเทศและการท่องเที่ยวของประเทศเปน็ อยา่ งมาก เพือ่ แก้ปัญหาขยะพลาสตกิ และขยะทะเล
รัฐบาลไทยได้จัดทารา่ งแผนปฏิบตั กิ ารดา้ นการจัดการขยะพลาสติก (พ.ศ. 2561-2573) บทความน้ี
จึงมวี ตั ถุประสงค์เพ่ือทบทวนภาพรวมของมาตรการของภาครัฐในประเทศตา่ ง ๆ ทว่ั โลกในการแก้ไข
ปัญหาขยะพลาสตกิ เพื่อเปน็ ขอ้ มูลสาหรับผ้กู าหนดนโยบายประกอบการจดั ทาแผนปฏบิ ัติการและ
มาตรการทางกฎหมาย นอกเหนอื จากมาตรการรณรงคเ์ ชิงสมัครใจทภ่ี าครัฐใช้อยู่ในปจั จุบนั บทความ
นี้ ผเู้ ขียนมุง่ เนน้ ไปทมี่ าตรการเพอ่ื ลดปรมิ าณพลาสตกิ ตง้ั แตต่ น้ ทาง (Waste prevention) นัน่ คอื
มาตรการควบคุมการใช้ถงุ พลาสติกชนดิ หูห้ิว (Plastic carrier bag) ซึ่งเปน็ ประเภทท่มี ีการผลติ และ
ใช้มากท่ีสดุ โดยข้อมูลบางส่วนรวมถึงมาตรการควบคุมกล่องโฟมและพลาสตกิ แบบใช้คร้ังเดียวแล้วท้ิง
อ่นื ๆ

นิตยา วิรยิ ะธารากจิ (บทคัดย่อ : 2557)
ผลการใช้หมอนรองหลงั ในขณะนั่งทางานทาให้การทางานของกลา้ มเนื้อและแรงกดบน
หมอนรองกระดกู มีคา่ ลดลง ความหนาและลักษณะรูปทรงของหมอนรองหลังมคี วามสาคัญต่อการ
ทางานของกลา้ มเนือ้ หลังโดยเฉพาะหมอน รองหลังที่มีความหนามากกวา่ ๓ เซนตเิ มตรนอกจากน้ี
หมอนรองหลังที่มลี ักษณะโค้งรบั กบั แนวกระดกู สันหลงั สง่ ผลใหก้ ลา้ มเนอื้ ทานน้อยกวา่ การใช้หมอน
รองหลงั แบบแบนราบและการไมใ่ ชห้ มอนรองหลงั ดังนน้ั การใชอ้ ุปกรณ์ป้องกนั คือ เคร่อื งมือ,
เคร่ืองใช้, อุปกรณ์ช่วย, อปุ กรณ์ประกอบที่ใชใ้ นการปฏบิ ตั ิกิจการหรอื งาน เช่น หมอนรองหลงั หมอน
รองคอ เบาะรองน่ัง เก้าอีส้ ขุ ภาพ หรอื อปุ กรณ์เพือ่ ส่วนหนึ่งสว่ นใดของรา่ งกายอย่างถูกต้อง ไม่ให้
ได้รับอันตรายหรือใชเ้ พ่อื บรรเทาอนั ตรายทเ่ี กดิ ข้นึ เนอื่ งจากการทางาน การฝกึ ปฏบิ ัติการ เครอ่ื งมือ
เครอื่ งใช้อปุ กรณด์ ังกลา่ ว ต้องมีความรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกับอปุ กรณ์ การควบคุม คมุ้ ครองความ
ปลอดภยั สว่ นบุคคล ปอ้ งกันอุบตั เิ หตุหรอื ที่อาจจะเกิดขึ้นจากการใชเ้ คร่ืองมือ

8

รัตติกาล เหมือนสุทธวิ งศ์ (บทคดั ยอ่ : 2553)
จากผลการวิจยั พบว่า การรบั รู้สถานะสขุ ภาพ ด้านการรับรู้เก่ียวกับสขุ ภาพทวั่ ไปการเขา้ ถึง

แหลง่ ประโยชนข์ องหน่วยงานและทศั นคตเิ ก่ียวกับพฤติกรรมการป้องกนั อาการปวดหลังส่วนล่างของ
ผู้ใชแ้ รงงานในโรงงานอุตสาหกรรมไดร้ ้อยละ 16.2 ต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถติ ดิ งั นั้นการรับรทู้ า่
น่งั คอื การทบี่ ุคคลรบั รู้วา่ ตนเองมคี วามเส่ียงหรือโอกาสท่ีจะได้รับอันตรายต่อการนง่ั ที่ไม่ถูกวธิ ที ้งั น้ี
ขึน้ กบั ความร้สู ึกนกึ คดิ ความเช่ือทเี่ กดิ จากภายในตัวบคุ คล และการรบั รู้ความสามารถของตนเองวา่
ปจั จัยใดบ้างท่ีมีผลต่อการน่ังทไี่ ม่ถูกต้องแล้วทาใหเ้ กดิ กลุ่มอาการบาดเจบ็ อนั เนื่องมาจากการทางาน
ต่อระบบโครงสร้างร่างกาย

บทที่ 3
วธิ กี ารดาเนินโครงการ

ผจู้ ดั ทาได้ดาเนนิ การประดษิ ฐ์เบาะรองนงั่ เพื่อสุขภาพได้ดาเนินโครงการตามหวั ข้อต่อไปนี้
3.1 การวางแผน
3.2 วสั ดุ อปุ กรณใ์ นการประดษิ ฐ์เบาะรองนัง่ เพื่อสุขภาพ
3.3 ขั้นตอนการประดิษฐ์เบาะรองนั่งเพื่อสขุ ภาพ
3.1 การวางแผน
3.1.1 เตรียมวสั ดุ อุปกรณ์
3.1.2 เร่ิมผลิตเบาะรองน่ังเพือ่ สุขภาพ
3.2 วสั ดุ อุปกรณ์ในการประดิษฐ์เบาะรองน่งั เพอื่ สุขภาพ

ภาพที่ 1 ผ้าเมตรพิมพล์ ายและผา้ เมตรสียนี ส์

ภาพท่ี 2 กรรไกร

10
ภาพที่ 3 ดา้ ย
ภาพท่ี 4 ใยโพลีเอสเตอร์
ภาพที่ 5 จักรเยบ็ ผ้า

11

ภาพที่ 6 หลอดดูด
3.3 ขั้นตอนการผลิตเบาะรองนง่ั เพอื่ สขุ ภาพ

3.3.1 การตัดเย็บเบาะรองน่ังเพื่อสุขภาพรูปทรงแบบสีเ่ หลย่ี ม

1. วัดขนาดเกา้ อี้สานกั งาน เพ่ือกาหนดขนาดท่จี ะตัดเย็บ

12

2. ตดั หลอดเครอ่ื งด่ืมเปน็ ชน้ิ เลก็ ๆ ความยาวประมาณ 1 น้ิว
3. วดั และตัดผา้ ใหไ้ ด้รปู รา่ งตามขนาดที่ตอ้ งการ (ทรงสี่เหลย่ี ม)

4. วดั และตัดใยโพลีเอสเตอร์ให้ไดข้ นาดเดียวกบั ผ้า เพื่อนามารองด้านในของเบาะ
แล้วเย็บประกบกันโดยเหลอื ริมไวส้ าหรับบรรจใุ ยโพลเี อสเตอรแ์ ละหลอดเครื่องดมื่

13

5. นาหลอดเครอ่ื งดมื่ ทต่ี ัดไวม้ าบรรจใุ สเ่ ป็นไสข้ า้ งในเบาะหลังจากน้นั เย็บขอบเก็บริม
ผา้ ใหเ้ รยี บรอ้ ย

6. ตกแต่งให้เกิดความสวยงาม น่าใช้
3.3.1 การตดั เยบ็ เบาะรองนั่งเพือ่ สุขภาพ (ทรงวงกลม)

1. วดั ขนาดเกา้ อีส้ านกั งาน เพอ่ื กาหนดขนาดทีจ่ ะตัดเยบ็

14

2. ตดั หลอดเคร่อื งด่ืมเป็นชน้ิ เล็ก ๆ ความยาวประมาณ 1 น้ิว
3. วัดและตัดผา้ ใหไ้ ด้รปู ร่างตามขนาดที่ตอ้ งการ (ทรงวงกลม)
4. วดั และตัดใยโพลีเอสเตอร์ใหไ้ ด้ขนาดเดยี วกับผา้ เพ่ือนามารองดา้ นในของเบาะ
แล้วเยบ็ ประกบกนั โดยเหลอื ริมไว้สาหรับบรรจใุ ยโพลีเอสเตอรแ์ ละหลอดเคร่ืองดมื่

15

5. นาหลอดเครื่องดืม่ ท่ตี ดั ไวม้ าบรรจุใส่เป็นไสข้ า้ งในเบาะหลังจากนนั้ เยบ็ ขอบเกบ็ ริม
ผา้ ใหเ้ รียบรอ้ ย

6. ตกแตง่ ใหเ้ กิดความสวยงาม น่าใช้

บทท่ี 4
ผลการดาเนินงาน

ผจู้ ดั ทาไดด้ าเนินการประดษิ ฐ์เบาะรองน่งั เพ่ือสขุ ภาพ ในการจัดทาโครงการดังหวั ขอ้ ต่อไปนี้
4.1 การวิเคราะห์ขอ้ มลู ทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม
4.2 การวิเคราะห์คา่ เฉลย่ี และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานต่อโครงการเบาะรองนั่งเพื่อสขุ ภาพ

4.1 การวเิ คราะหข์ ้อมูลทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
4.1.1 เพศ

เพศ จานวน (คน) ร้อยละ

ชาย 9 17

หญงิ 45 84

รวม 54 100

ตารางที่ 1 แสดงรอ้ ยละของเพศชาย เพศหญิง

จากตารางท่ี 1 แสดงใหเ้ ห็นวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามเปน็ เพศชาย จานวน 9 คน
คดิ เป็นร้อยละ 17 เพศหญิง จานวน 45 คน เปน็ ร้อยละ 84

เพศ

17%

84%

ผ้ชู าย ผ้หู ญิง

แผนภมู ิท่ี 1 แสดงเพศผูต้ อบแบบสอบถาม

17

4.1.2 สถานภาพ

สถานภาพ จานวน (คน) ร้อยละ
ครู/อาจารย์ 2 2
บคุ ลากร 6 11
นักเรยี น/นักศึกษา 46 87
54 100
รวม

ตารางท่ี 2 แสดงร้อยละของสถานภาพผูป้ ระเมิน

จากตารางที่ 2 แสดงให้เหน็ ว่าผตู้ อบแบบสอบถามมีสถานภาพ คร/ู อาจารย์ จานวน 2 คน
คิดเปน็ ร้อยละ 2 บุคลากร จานวน 6 คน คดิ เป็นร้อยละ 11 นกั เรยี น/นกั ศึกษา 46 คน
คิดเป็นร้อยละ 87

สถานภาพ

2
11

87

ครู/อาจารย์ บคุ ลากร นกั เรียน/นกั ศกึ ษา

แผนภูมทิ ่ี 2 แสดงรอ้ ยละสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม

18

4.2 การวิเคราะห์คา่ เฉลย่ี และคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐานต่อโครงการเบาะรองน่งั เพื่อสขุ ภาพ

รายการ คา่ เฉลีย่ ค่า แปลความ
เบี่ยงเบน
1. ชว่ ยลดอาการปวดหลงั หรอื ปวดกน้ กบ ผ่อนคลาย xˉ มาตรฐาน ดี
ขณะใชง้ าน
2. ชว่ ยรองรบั นา้ หนกั ปรับใช้กบั ส่วนอน่ื ของรา่ งกาย 4.48 S.D. ดมี าก
ได้ เชน่ พิงหลงั
3. สามารถลดปรมิ าณขยะประเภทหลอดพลาสติก 0.71 ดี
4. ความสวยงาม สสี นั น่าใช้ การตกแต่ง ดมี าก
5. ขนาดกะทดั รดั สะดวกต่อการใช้งาน 4.52 0.69 ดมี าก
6. ความคดิ ริเรม่ิ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ ดมี าก
7. การตัดเย็บละเอียดและประณตี 4.48 0.71 ดีมาก
8. ชว่ ยระบายความร้อนไดด้ ี 4.57 0.66
9. คุ้มคา่ ใช้งานไดน้ าน 4.57 0.60 ดี
10. มีความเหมาะสมกบั สรรี ะของผใู้ ช้งาน 4.56 0.60 ดีมาก
4.52 0.63 ดมี าก
รวม 4.43 0.71 ดมี าก
4.65 0.61
4.63 0.59
4.54 0.65

ตารางท่ี 3 สรปุ แบบทดสอบความพึงพอใจ

จากตารางท่ี 3 แสดงให้เหน็ วา่ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อชน้ิ งานในภาพรวมอยู่
ในระดบั ดีมาก คิดเปน็ ร้อยละ 4.54

เม่อื พิจารณาเปน็ รายขอ้ พบว่า ความพึงพอใจอยูใ่ นระดับดีมาก โดยเรียงลาดับดังน้ี
คมุ้ ค่า ใชง้ านไดน้ าน คิดเปน็ ร้อยละ 4.65 มีความเหมาะสมกับสรรี ะของผู้ใชง้ าน คดิ เป็นรอ้ ยละ
4.63 ความสวยงาม สสี นั น่าใช้ การตกแตง่ คิดเป็นร้อยละ 4.57 ขนาดกะทดั รัด สะดวกตอ่ การใช้
งาน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.57 ความคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ คดิ เป็นร้อยละ 4.56 ชว่ ยรองรับ
นา้ หนัก ปรับใช้กับสว่ นอืน่ ของรา่ งกายได้ เชน่ พิงหลัง คดิ เป็นร้อยละ 4.52 การตดั เยบ็ ละเอียด
และประณีต คิดเปน็ ร้อยละ 4.52 สว่ นความพึงพอใจทีอ่ ยใู่ นระดับดี เรยี งตามลาดบั ดังน้ี ช่วยลด
อาการปวดหลงั หรือปวดกน้ กบ ผ่อนคลายขณะใชง้ าน คดิ เป็นร้อยละ 4.48 สามารถลดปริมาณขยะ
ประเภทหลอดพลาสติก คิดเปน็ ร้อยละ 4.48 ชว่ ยระบายความรอ้ นไดด้ ี คดิ เปน็ ร้อยละ 4.43

19

แสดงร้อยละความพงึ พอใจ

4.7

4.65

4.6

4.55

4.5

4.45

4.4

4.35

4.3
ข้อที่ 1 ข้อท่ี 2 ข้อที่ 3 ข้อที่ 4 ข้อที่ 5 ข้อที่ 6 ข้อที่ 7 ข้อท่ี 8 ข้อที่ 9 ข้อท่ี 10

ร้อยละ

แผนภูมทิ ี่ 3 แผนภมู ิแสดงรอ้ ยละความพงึ พอใจ
หมายเหตุ

เกณฑ์ที่ใชว้ ิเคราะห์ข้อมลู โดยกาหนดคา่ เป็น 5 ระดบั ดังนี้
5 หมายถงึ มีความพึงพอใจในระดับมากที่สดุ
4 หมายถงึ มีความพงึ พอใจในระดบั มาก
3 หมายถึง มคี วามพึงพอใจในระดับปานกลาง
2 หมายถึง มีความพงึ พอใจในระดับน้อย
1 หมายถงึ มีความพงึ พอใจในระดับน้อยทส่ี ดุ
การหาค่าเฉลีย่ ดงั นี้
ค่าเฉล่ยี ระดับ 4.51 – 5.00 มคี วามพึงพอใจมากท่ีสดุ
คา่ เฉลี่ยระดับ 3.51 – 4.50 มีความพึงพอใจมาก
ค่าเฉล่ยี ระดบั 2.51 – 3.50 มคี วามพงึ พอใจปานกลาง
ค่าเฉลี่ยระดับ 1.51 – 2.50 มคี วามพึงพอใจน้อย
คา่ เฉลี่ยระดับ 1.00 – 1.50 มีความพงึ พอใจน้อยทีส่ ุด

บทที่ 5

สรุปและอภิปรายผล

ผจู้ ัดทาไดด้ าเนินการประดษิ ฐ์เบาะรองนงั่ เพื่อสุขภาพ โดยรวบรวมผลสรุปการดาเนินงานใน
การจดั ทาโครงการดงั หัวข้อต่อไปนี้

5.1 สรปุ ผล
5.2 อภปิ รายผล
5.3 ปญั หาและอุปสรรค
5.4 วิธีการแกป้ ัญหา
5.5 ข้อเสนอแนะ

5.1 สรปุ ผล

จากการดาเนนิ การประดิษฐเ์ บาะรองนงั่ เพ่ือสุขภาพ ตามโครงการลลุ ่วงไปได้ดว้ ยดี ซง่ึ เปน็ ไป
ตามวตั ถปุ ระสงค์ทต่ี ้ังไว้ ไดร้ จู้ ักการวางแผนการทางานอยา่ งเปน็ ระบบ ได้ร้จู ักใช้เวลาวา่ งให้เกิด
ประโยชน์ มคี วามรแู้ ละความคดิ รเิ ริม่ สร้างสรรค์ในการประดิษฐเ์ บาะรองนง่ั เพ่ือสุขภาพ จนสามารถ
นาไปประกอบเปน็ อาชีพอสิ ระได้ในอนาคต

จากการดาเนนิ โครงการเบาะรองนั่งเพ่ือสุขภาพ โดยการประเมนิ ชน้ิ งาน จากผ้ทู ดลองใชง้ าน
จานวน 54 คน พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามเปน็ เพศชาย จานวน 9 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 17 เพศหญงิ
จานวน 45 คน คิดเปน็ ร้อยละ 84 ครู/อาจารย์ จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2 บุคลากร จานวน
6 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 11 นกั เรียน/นักศกึ ษา จานวน 46 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 87 และมีความพึง
พอใจในภาพรวมอย่ใู นระดบั ดีมาก คิดเปน็ ร้อยละ 4.54 เม่อื พิจารณาแตล่ ะข้อโดยเรียงลาดับดังนี้
ค้มุ คา่ ใชง้ านไดน้ าน คิดเป็นร้อยละ 4.65 มีความเหมาะสมกบั สรรี ะของผใู้ ชง้ าน คดิ เป็นรอ้ ยละ
4.63 ความสวยงาม สสี ันน่าใช้ การตกแตง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 4.57 ขนาดกะทดั รดั สะดวกต่อการใช้
งาน คิดเป็นรอ้ ยละ 4.57 ความคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ คดิ เป็นร้อยละ 4.56 ชว่ ยรองรับ
น้าหนัก ปรบั ใชก้ ับสว่ นอืน่ ของร่างกายได้ เช่น พิงหลัง คิดเปน็ ร้อยละ 4.52 การตัดเย็บละเอยี ดและ
ประณีต คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.52 ส่วนความพงึ พอใจที่อยูใ่ นระดับดี เรียงตามลาดบั ดงั นี้ ชว่ ยลดอาการ
ปวดหลงั หรือปวดกน้ กบ ผ่อนคลายขณะใช้งาน คดิ เป็นร้อยละ 4.48 สามารถลดปรมิ าณขยะ
ประเภทหลอดพลาสติก คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.48 ชว่ ยระบายความรอ้ นได้ดี คดิ เปน็ ร้อยละ 4.43

21

5.2 อภิปรายผล

การจัดทาโครงการเบาะรองน่ังเพอื่ สุขภาพ ได้รับความพงึ พอใจภาพรวมอยู่ในระดบั ดมี าก
คิดเป็นรอ้ ยละ 4.54 เมื่อพจิ ารณาเปน็ รายข้อพบวา่ รายการประเมนิ หวั ข้อ “คุม้ คา่ ใช้งานได้นาน”
ได้รับความพึงพอใจอยู่ในระดับดมี าก (4.65) อาจเปน็ เพราะผจู้ ดั ทาเลือกสรรเนอ้ื ผ้าในการนามาตัด
เย็บทหี่ นา สีทที่ าใหด้ ูสวยงามและไมเ่ ป้ือนง่าย เม่ือใช้งานชวนให้เกดิ ความร้สู ึกผ่อนคลาย รสู้ กึ สบาย
ไมป่ วดหลัง หรอื ปวดก้นกบ อีกทัง้ ยงั มีการปรบั รปู แบบของเบาะทง้ั ทรงสเี่ หลี่ยมและทรงกลมให้เปน็ ท่ี
พอใจของผูใ้ ชง้ านตามความต้องการ หลอดท่นี ามาบรรจุเป็นไส้หมอนในเบาะรองน่งั ก็นามายอ่ ยให้มี
ขนาดเล็กและเปล่ยี นจากวัสดุที่ทาลายสง่ิ แวดลอ้ มมาทาให้เกิดประโยชนใ์ นทางเลอื กใหม่ เป็นการลด
ปัญหาปรมิ าณขยะ ตัวหลอดพลาสตกิ ยังสามารถรองรบั การกดทบั ได้ดี ไม่ยุบตัวง่าย ท่ีสาคญั ชอ่ ง
อากาศที่อยภู่ ายในหลอด สามารถลดความอับชน้ื ไม่ทาให้เกิดเชอื้ รา มีการระบายอากาศไดด้ ี

ส่วนรายการประเมินที่ไดร้ บั ความพงึ พอใจในลาดับต่อมา คือหวั ข้อ “มคี วามเหมาะสมกบั
สรรี ะของผู้ใช้งาน” ไดร้ ับความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก (4.63) ซ่ึงสอดคลอ้ งกับงานวิจยั ของ
พนั ธย์ ศ วรเชฐวราวตั ร์ (บทคดั ย่อ : 2555) การวจิ ยั ครง้ั นี้มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือศึกษาพฤติกรรมและ
วเิ คราะหท์ า่ น่งั ทางานของพนักงานเยบ็ จักรในอุตสาหกรรมและผลกระทบด้านความเม่ือยล้าทเ่ี กิดข้นึ
จากการทางาน เพ่ือหาสาเหตุทีเ่ ป็นทีม่ าของความปวดเม่ือยของรา่ งกายในส่วนตา่ ง ๆ โดยมปี ระชากร
กลมุ่ เปา้ หมายเปน็ พนักงานเย็บท้ังหมด 50 คน โดยเครอ่ื งมอื ที่ใช้เปน็ แบบสอบถามมีคา่ ความตรง
เทา่ กบั 0.833 และประเมนิ ลักษณะการทางานจากภาพถ่ายและวิเคราะห์ผลดว้ ย RULA นามา
วเิ คราะห์ข้อมูลทางสถติ ดิ ว้ ยโปรแกรม SPSS (Statistical Package for the Social Sciences)
Version 15 ผลการวิจัยพบวา่ พนกั งานมีอาการปวดเม่ือยจากการทางานบริเวณไหล่ขวา คดิ เป็น
รอ้ ยละ 44.9 รองลงมาคือบริเวณไหล่ซา้ ยและคอ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 40.8 และบรเิ วณหลงั สว่ นล่าง
คดิ เปน็ ร้อยละ 34.7 ซ่ึงมีสาเหตุมาจากความสงู ของโตะ๊ จักร และเก้าอท้ี ่ใี ชใ้ นการนั่งทางาน มีความ
สูงไมเ่ หมาะสมกับพนักงาน ทาใหม้ ีลกั ษณะการน่ังทางานท่ีตอ้ งมีการก้มและโน้มตวั ไปขา้ งหน้ามาก
ซงึ่ เปน็ สาเหตขุ องอาการปวดเม่ือย อีกท้ังสภาพแวดลอ้ มในการทางานยังมีอากาศรอ้ นจงึ เป็นปัจจยั
หนงึ่ ท่ีสง่ ผลให้พนกั งานเกิดความเครยี ดในการทางาน และเกดิ การเจบ็ ป่วยเกิดขนึ้ ตามมา ซึ่งโรค
ท่เี ก่ียวข้องกับความเมื่อยล้าที่พนกั งานเปน็ มากท่สี ดุ คือ ได้แก่ โรคปวดหวั /ไมเกรน คดิ เป็นรอ้ ยละ
12.12 ผลจากการวเิ คราะห์ภาพถา่ ยดว้ ย R2U2LA ปรากฏวา่ ระดับคะแนนท่ีมคี วามถม่ี ากท่สี ดุ คอื
ระดับคะแนน 5-6 คดิ เป็นร้อยละ 62 และระดบั คะแนนท่ีมีความถน่ี ้อยทสี่ ุดคือ ระดับคะแนน 3-4
คิดเป็นรอ้ ยละ 32 จากระดับคะแนนท้ังหมดมีค่าเท่ากบั 5.3 แสดงใหเ้ หน็ วา่ งานนั้นเริม่ มีปัญหาด้าน
การยศาสตร์ ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมและรบี ดาเนนิ การปรับปรุงแก้ไขลักษณะงานดังกล่าวโดยเรว็
ผวู้ จิ ัยไดเ้ สนอแนะวิธีการปรับปรุงการทางานไว้ 2 แนวทางคือ

1) ดา้ นสถานที่ทางาน ควรมีการปรับปรุงโต๊ะจักรใหส้ ามารถปรับความสูงต่าได้และมคี วาม
เอียงของพืน้ โตะ๊ อยูท่ ี่ 10-20 องศา สว่ นเก้าอ้คี วรเปน็ เก้าอี้ท่ีสามารถปรับความสูงตา่ ได้ มพี นักพิง ที่
พกั แขนและที่พักเท้าเพ่ือช่วยลดปญั หาอาการเม่ือยล้า

2) ด้านอุปกรณช์ ว่ ยเสริมการทางาน เสนอแนะให้มีการปรับปรุงโต๊ะเสริมให้มีความสูงเสมอ
กับโต๊ะจักรเพอ่ื งา่ ยต่อการหยิบช้ินงาน

เหตทุ ไี่ ดร้ บั ผลการประเมนิ ดังกลา่ ว อาจเปน็ เพราะผ้จู ัดทาโครงการได้ออกแบบชน้ิ งานโดย
การวางแผนการดาเนินงานและแก้ไขเมื่อพบปัญหาระหว่างการดาเนินโครงการทันที มกี ารนาชนิ้ งาน
มาขอรบั คาแนะนา คาติชม อย่างสม่าเสมอ เมื่อครูที่ปรึกษาโครงการได้ให้คาแนะนา ก็นาไปแก้ไข
ปรับปรุงชนิ้ งานในทันที จึงทาให้เบาะรองนงั่ เพ่ือสุขภาพได้รับการออกแบบอย่างสวยงามและทนั สมัย
เหมาะสมกบั สรีระของผใู้ ชง้ าน

5.3 ปัญหาและอุปสรรค

5.3.1 ผจู้ ัดทาขาดความรู้ ความชานาญ ในการเลอื กวสั ดผุ ้าท่นี ามาตัดเย็บ
5.3.2 ผจู้ ัดทาไมม่ ีความสามารถการตัดเยบ็ ต้องอาศัยชา่ งเย็บผา้ ทาใหเ้ สียค่าใชจ้ า่ ยเป็น
จานวนมาก ต้นทนุ ในการจดั ทาค่อนขา้ งสงู
5.3.3 ช่างเยบ็ ผา้ ไมไ่ ด้เปดิ ร้านเป็นประจาเน่ืองจากมีภารกิจอื่น ๆ จงึ ทาให้ไมไ่ ด้รับช้นิ งาน
ตามเวลาทน่ี ัดไว้ ทาใหเ้ กิดความล่าชา้ ในการประสานงาน และการดาเนินงานไมเ่ ปน็ ไปตามเวลาที่
วางแผนไว้

5.4 วธิ แี กป้ ัญหา

5.4.1 ปรกึ ษาหาความรแู้ ละขอรับคาแนะนาจากผชู้ านาญในการตดั เย็บผา้ และควรนาผู้
ชานาญในการเลือกซื้อผ้าไปด้วย

5.4.2 ผจู้ ัดทาควรมพี ื้นฐานของการตดั เยบ็ ดว้ ยตนเอง เพ่ือลดคา่ ใช้จา่ ยในการจ้างงาน

5.5 ข้อเสนอแนะ

5.5.1 แมว้ า่ เบาะรองนั่งทจ่ี ัดทาจะไม่สามารถถอดซักได้ แตห่ ากเมื่อใช้งานไปนานจงึ
สามารถนาเบาะรองนง่ั ไปตากแดดและพลกิ ด้านในเพ่ือช่วยแก้ไขปัญหาไรฝนุ่

5.5.2 บรรจุหลอดพลาสตกิ ที่ทาเป็นไสห้ มอนให้แน่น เพ่ือไมใ่ ห้หลอดพลาสติกเคล่ือนที่และ
ช่วยรักษาสภาพเบาะรองนัง่ คงรปู ไวไ้ ด้นาน

5.5.3 ควรสารวจร้านเย็บผ้าหลาย ๆ แหง่ เพ่ือสอบถามอัตราคา่ จา้ ง หากผูจ้ ดั ทาไม่สามารถ
ตัดเยบ็ ไดด้ ว้ ยตนเอง เพื่อลดค่าใช้จา่ ย

บรรณานกุ รม

ลักษณะของเบาะรองนง่ั (ระบบออนไลน)์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://www.dropshoppingthai.com
สืบคน้ เมือ่ วันที่ 16 ธันวาคม 2562

ความรูเ้ กยี่ วกบั สขุ ภาพ (ระบบออนไลน)์ เข้าถึงได้จาก http://armsiniz.blogspot.com
สบื คน้ เม่ือวันท่ี 16 ธันวาคม 2562

ความรู้เกีย่ วกบั หลอดพลาสตกิ (ระบบออนไลน)์ เข้าถึงไดจ้ าก https://th.wikipedia.org
สบื ค้นเมื่อวันที่ 16 ธนั วาคม 2562

งานวจิ ยั ทเี่ กี่ยวข้อง (ระบบออนไลน)์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://ethesisarchive.library.tu.ac.th
สบื คน้ เมื่อวนั ที่ 16 ธนั วาคม 2562

ภาคผนวก ก

แบบนาเสนอขออนมุ ัตโิ ครงการวชิ าชีพ
วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

รายวชิ า โครงการ รหสั วชิ า 3216-8501 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2562
ชอ่ื โครงการ เบาะรองนั่งเพ่ือสุขภาพ Healthy cushions
ระยะเวลาดาเนินงาน ต้ังแต่วนั ที่ 15 ตุลาคม 2562 ถงึ วันที่ 31 มกราคม 2562
สถานทีด่ าเนนิ งาน วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาเชียงใหม่ ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง

จ.เชยี งใหม่ 50200
ประมาณการค่าใช้จา่ ย 670 บาท
คณะผจู้ ดั ทาโครงการ นักศึกษา ระดบั ชนั้ ปวส. 2/7 สาขาวิชาการจดั การสานักงาน

1. นางสาวจิราพร มงพลอย
2. นางสาวประภสั สร กองมูล

ลงช่ือ..........................................หวั หน้าโครงการ
(นางสาวจริ าพร มงพลอย)

.............../......................../..................

ความเหน็ ของอาจารย์ประจาวชิ าโครงการ ......................................................................................

ลงชอ่ื .....................................................
(นางอรนิ ทยา ใจเอ)

อาจารย์ประจาวชิ าโครงการ

แบบเสนอโครงการ

1. ชื่อโครงการ เบาะรองนั่งเพ่ือสขุ ภาพ Healthy cushions

2. ผู้จัดทาโครงการ
1. นางสาวจริ าพร มงพลอย ระดับช้ัน ปวส.2/7 สาขาวชิ า การจัดการสานกั งาน
2. นางสาวประภสั สร กองมูล ระดับช้นั ปวส.2/7 สาขาวิชา การจัดการสานักงาน

3. ครทู ่ปี รึกษาโครงการ ครูอรินทยา ใจเอ

4. ความเป็นมาและความสาคัญของโครงการ

ชวี ติ ประจาวนั ของคนส่วนใหญท่ ที่ างานในสานกั งานหรือประกอบอาชีพใด ๆ ก็ตาม ต้อง
อาศยั การน่งั บนเกา้ อเี้ พ่ือทางานเปน็ เวลานาน ๆ ซง่ึ จะทาให้เกดิ อาการปวดเมื่อยล้าตามร่างกาย การ
ปวดเมอื่ ยเหล่าน้ีสว่ นหน่งึ มสี าเหตุมาจากการนัง่ ทางานผิดท่า รวมไปถงึ การพยายามทจี่ ะโค้งตวั เพ่ือ
เขา้ ไปหาจอคอมพิวเตอร์มากเกนิ ไป จนทาให้เกิดอาการปวดบ่า ไหล่ และกระดูกสว่ นหลังคอ่ ย ๆ โค้ง
งอ ซ่งึ อาจจะทาใหห้ ลงั ค่อมในวนั ขา้ งหน้าได้ ซ่งึ ถ้าหากกล้ามเน้อื ถูกใชง้ านจนเม่ือยล้าเกินไปจะทาให้
ยากตอ่ การเคลื่อนไหวของรา่ งกายไปยังอิริยาบถอ่ืน ๆ ตามมาได้ จากการประสบปญั หาการนงั่ ทางาน
นาน ๆ แล้วทาใหเ้ กิดอาการปวดหลังหรือปวดก้นกบ อาการเหลา่ น้ีจะมีทัง้ รนุ แรงและไม่รุนแรงมาก
นกั ขน้ึ อยู่กบั ว่าบคุ คลน้นั ๆ มีการขยบั เขยอ้ื นร่างกายในเวลาทางานมากนอ้ ยอยา่ งไร บางคนก็มีวิธี
แก้ปัญหาคือการนาเบาะมารองนัง่ เพอ่ื ไมใ่ ห้ปวดก้นกบ บ้างก็หาหมอนมาพงิ หลงั เพ่อื ไมใ่ หป้ วดหลงั
โดยทัว่ ไปเบาะท่นี ามารองนั่งหรอื หมอนที่นามาพงิ หลัง ขา้ งในจะบรรจุดว้ ยใยสงั เคราะห์ ซ่งึ หากเมื่อใช้
งานไดส้ ักระยะหน่ึง อาจทาใหเ้ กิดไรฝนุ่ ข้นึ ได้

ปญั หาขยะซง่ึ เป็นปญั หาระดับโลก ขยะสว่ นใหญม่ ักจะถูกท้ิงลงในดนิ ขยะบางชนิดสลายตัว
ให้สารประกอบอินทรยี แ์ ละสารประกอบอนินทรยี ์ แต่ขยะบางชนดิ สลายตัวยากเชน่ หนัง พลาสติก
โลหะ เพราะปัญหาขยะที่ค่อย ๆ พอกพนู ขน้ึ กาลงั สง่ ผลกระทบต่อสรรพชวี ติ ทง้ั หมด เรื่องนีจ้ ึงเป็นสงิ่
ท่ไี ม่ควรมองขา้ ม และควรให้ความสนใจ สรา้ งความเข้าใจ ต่อขยะทุกช้นิ ท่ีเกดิ ข้ึนจากน้ามอื ของเราทกุ
คน ดังเช่นที่ปรากฏปัญหาการสะสมของขยะพลาสติกในท้องทะเล สิง่ นีเ้ ปรียบเสมือนการนบั ถอยหลงั
ระเบิดเวลาท่ีผลกระทบตา่ ง ๆ จะย้อนกลบั มาสมู่ นษุ ย์ในทสี่ ุด หลอดพลาสติกเกือบทั้งหมดทามาจาก
พลาสตกิ ท่ชี ื่อวา่ Polypropylene หรอื PP ซึ่งเปน็ พลาสตกิ เกรดพนื้ ฐานทใี่ ช้กนั อยา่ งแพร่หลายมี
สัดสว่ นในการใชง้ านมากทสี่ ดุ ในโลก หลอดพลาสตกิ สว่ นใหญม่ นี า้ หนักเบาจึงมกั จะหลุดรอดจาก
กระบวนการคดั แยกและปะปนกับขยะที่มีขนาดใหญ่กวา่ ทาใหเ้ กิดปัญหาต่อส่ิงแวดล้อม ท้ังบนบก
และตกลงสู่ทะเล เป็นอันตรายต่อส่งิ มีชีวติ ในน้า เน่อื งจากสว่ นใหญข่ องหลอดพลาสติกไม่ถกู นามารี
ไซเคิล แต่สามารถนามาประยุกตใ์ ห้เกิดประโยชนไ์ ด้

ดงั น้นั ผจู้ ัดทาจึงไดค้ ดิ ค้นหาวิธที จ่ี ะแก้ไขปัญหาอาการปวดหลังหรอื ปวดก้นกบ อกี ทั้งยัง
แก้ปัญหาเรื่องไรฝุน่ ทอ่ี าจก่อใหเ้ กิดโรคภูมิแพ้ และยังช่วยแก้ปัญหาขยะจากหลอดพลาสตกิ อีกดว้ ย จึง
ได้จัดทาโครงการเบาะรองนัง่ เพ่ือสขุ ภาพ เน่อื งจากคนทีน่ งั่ ทางานในสานักงานประสบปัญหาปวดหลงั
หรอื ปวดก้นกบ โดยนาหลอดพลาสตกิ และเศษผา้ ท่ไี มใ่ ชแ้ ล้วนามาใชแ้ ทนใยสังเคราะห์ เพราะหลอด

พลาสติกมีการถ่ายเทอากาศไดส้ ะดวก ไม่เกดิ ความรอ้ น และสามารถบาบัดผทู้ ่ีมีปัญหาปวดหลังหรอื
ปวดกน้ กบให้รสู้ กึ สบาย ผ่อนคลายได้

5. วตั ถุประสงคข์ องโครงการ
1. เพอื่ ประดษิ ฐ์เบาะรองน่ังผ่อนคลาย
2. เพอ่ื ลดอาการปวดหลังหรอื ปวดกน้ กบได้
3. เพื่อลดการเผาขยะประเภทหลอดพลาสติก

6. ขอบเขตโครงการ (เป้าหมาย, กลุ่มประชากร)
เป้าหมายของโครงการ
6.1 เชิงปรมิ าณ เบาะรองน่ังเพอื่ สุขภาพ จานวน 6 ช้ิน
6.2 เชงิ คุณภาพ เบาะรองนั่งเพ่ือสุขภาพผลิตจากผา้ และไสห้ มอนทที่ ามาจากหลอด

พลาสตกิ ชนิ้ งานมีความสามารถทาให้เกดิ การผ่อนคลาย อิริยาบถ ลดปัญหาการปวดกน้ กบ ขนาด
กะทัดรดั สวยทันสมัยและสามารถใช้งานได้จรงิ

6.3 ระยะเวลาและสถานท่ใี นการดาเนินงาน
ระยะเวลาดาเนนิ งาน ตงั้ แตว่ นั ท่ี 15 ตลุ าคม 2562 ถงึ 31 มกราคม 2653
สถานทด่ี าเนนิ งาน วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาเชียงใหม่

7. ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รับ
1. ชว่ ยบรรเทาอาการปวดหลงั หรอื ปวดกน้ กบได้
2. ผู้ใชง้ านเกดิ ความสบาย ผอ่ นคลาย
3. ชว่ ยลดปริมาณขยะพลาสติกประเภทหลอดพลาสติก

8. นิยามศัพท์
เบาะรองนงั่ เพ่ือสุขภาพ หมายถึง เบาะรองน่ังที่ใชร้ องน่ังเก้าอแี้ ละพิงหลงั เพ่อื ทาให้เกดิ ความ

สบายเวลาน่งั ทางานนาน ๆ โดยเบาะรองนง่ั ผลิตจากผ้าและบรรจุไส้หมอนทท่ี ามาจากหลอดพลาสติก
เพือ่ ทาให้เกิดการผ่อนคลาย อิริยาบถ ลดปญั หาการปวดก้นกบ ขนาดกะทัดรดั สวยทนั สมัยและ
สามารถใชง้ านไดจ้ ริง

9. วธิ ดี าเนนิ โครงการ
1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมตั ิ
2. จัดเตรียมการทาโครงการ
3. ดาเนินการตามโครงการ
4. ประเมนิ ผลประสทิ ธิภาพ ความพงึ พอใจ
5. สรุปและรายงานผล

10. แผนดาเนินโครงการ

ระยะเวลาดาเนินการ (สปั ดาห์ที่ 1- 18 )
ลาดบั ขนั้ ตอน
ดาเนินงาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

1. เสนอโครงการ
เพ่ือขออนุมัติ

2. จัดเตรยี มการ
ทาโครงการ

3. ดาเนินงานตาม
โครงการ

4. สรปุ และ
รายงานผล

11. งบประมาณและทรัพยากร จานวน 670 บาท

11.1 รายรับ จานวน 670 บาท

เกบ็ จากสมาชิกกลุม่ จานวน 2 คน คนละ 335 บาท รวมเป็นเงิน 670 บาท

11.2 รายจา่ ย

1. วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมอื

ผ้าเมตร 6 เมตร เมตรละ 35 บาท จานวน 210 บาท

ผา้ ดบิ 6 เมตร เมตรละ 30 บาท จานวน 180 บาท

ค่าจา้ งเย็บผา้ 30*6 จานวน 180 บาท

2. เอกสารการพิมพ์ จานวน 100 บาท

รวมงบประมาณ 670 บาท
12. การตดิ ตามประเมนิ ผล

ตัวชีว้ ดั ผลสาเรจ็ วิธีการประเมนิ เครอ่ื งมือท่ใี ช้ประเมนิ
นบั จานวน แบบบันทึก
- เชิงปริมาณ
เบาะรองนงั่ แบบพิงหลงั เพ่ือ สอบถามความคิดเหน็ แบบประเมินความพึงพอใจ
สขุ ภาพ จานวน 6 ชนิ้

- เชิงคณุ ภาพ
เบาะรองนง่ั แบบพิงหลังเพอ่ื
สุขภาพมคี วามสามารถทาให้เกิด
การผ่อนคลาย อริ ิยาบถ ลด
ปัญหาการปวดกน้ กบ ขนาด
กะทัดรัด สวยทนั สมยั และ
สามารถใชง้ านได้จริง

13. เอกสารอ้างอิง
https://advancebio11.com/หลอดพลาสติกไซต์จว๋ิ , สืบคน้ ขอ้ มลู : 31 ตลุ าคม 2562
https://www.greenpeace.org/thailand/story/1668/ocean-crying/เสยี งร่าไหจ้ าก

มหาสมุทร: ความโหดร้ายของหลอดพลาสติกทเี ราอาจละเลย, สบื ค้นขอ้ มลู : 31 ตุลาคม 2562

ภาคผนวก ข

แบบประเมินความพงึ พอใจ
โครงการเบาะรองนัง่ เพอื่ สุขภาพ

คาช้ีแจง แบบสอบถามน้ีสาหรับผ้ทู ดลองใชง้ านเบาะรองน่งั เพือ่ สุขภาพ มีวัตถุประสงค์เพ่ือศกึ ษา
ความพงึ พอใจของผู้ใช้งานต่อประสิทธิภาพของเบาะรองน่ังเพอ่ื สุขภาพ

แบบสอบถามน้ีมี 2 ตอน ประกอบด้วย
ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 2 ระดับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบประเมิน

ตอนที่ 1 ขอ้ มูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม  นกั เรียน/นกั ศึกษา
คาชี้แจง โปรดทาเคร่ืองหมาย  ลงใน  ตามความเปน็ จรงิ

1. เพศ  ชาย  หญิง
2. สถานภาพ  คร/ู อาจารย์  บคุ ลากร

ตอนที่ 2 ระดบั ความพึงพอใจของผู้ตอบแบบประเมิน
คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย  ลงในชอ่ งว่างที่ตรงกบั ความเปน็ จริง
ระดบั ความพึงพอใจ 5 = มากทส่ี ุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = นอ้ ย 1 = น้อยที่สดุ

ลาดับรายการ ระดับความพึงพอใจ
54321
1. ชว่ ยลดอาการปวดหลังหรือปวดกน้ กบ ผ่อนคลาย ขณะใช้งาน
2. ช่วยรองรบั นา้ หนกั ปรบั ใชก้ ับสว่ นอน่ื ของร่างกายได้ เช่น พงิ หลัง
3. สามารถลดปริมาณขยะประเภทหลอดพลาสติก
4. ความสวยงาม สีสนั น่าใช้ การตกแต่ง
5. ขนาดกะทัดรัด สะดวกต่อการใชง้ าน
6. ความคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์ แปลกใหม่
7. การตดั เยบ็ ละเอียดและประณีต
8. ช่วยระบายความร้อนไดด้ ี
9. คุ้มค่า ใช้งานได้นาน
10. มคี วามเหมาะสมกับสรีระของผใู้ ช้งาน

ขอ้ เสนอแนะ

ขอขอบคณุ ในความรว่ มมือ

QR แบบประเมิน
โครงการเบาะรองนง่ั เพอ่ื สขุ ภาพ (Healthy cushions)

ภาคผนวก ค





ประวัติสว่ นตวั

ชอ่ื - สกุล นางสาวจิราพร มงพลอย

ชื่อโครงการ เบาะรองนง่ั เพื่อสขุ ภาพ

สาขาวชิ า การจดั การสานกั งาน

ประเภทวชิ า บรหิ ารธุรกจิ

ประวตั ิส่วนตัว

เกิดวนั ที่ 20 เดอื นกรกฎาคม 2542 ทอ่ี ยู่ 105 บ้านปากทางเจรญิ ตาบลดอยหล่อ
อาเภอดอยหลอ่ จังหวัดเชียงใหม่ 50160

ประวตั ิการศกึ ษา

(พ.ศ.2559)

จบการศึกษาจากโรงเรยี นสองแคววทิ ยาคม ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.6)

(พ.ศ.2562)

ปจั จุบนั กาลงั ศกึ ษา ระดบั ชน้ั ปวส.2 สาขาวชิ าการจดั การสานักงาน ประเภทวิชา

บรหิ ารธุรกิจ วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาเชยี งใหม่

เบอรโ์ ทรศพั ท์ 09 7357 9836

ประวัติสว่ นตวั

ช่ือ - สกุล นางสาวประภัสสร กองมลู

ชื่อโครงการ เบาะรองนงั่ เพ่อื สขุ ภาพ

สาขาวชิ า การจดั การสานักงาน

ประเภทวิชา บริหารธรุ กิจ

ประวตั ิสว่ นตวั

เกดิ วันท่ี 15 เดือนเมษายน 2542 ท่อี ยู่ 64/1 บา้ นแพะ ตาบลทา่ ศาลา อาเภอเมือง
จงั หวดั เชียงใหม่ 50000

ประวตั กิ ารศกึ ษา

(พ.ศ.2560)

จบการศึกษาจากโรงเรียนกาวิละวทิ ยาลัย ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.6)

(พ.ศ.2562)

ปัจจุบนั กาลงั ศกึ ษา ระดบั ชั้น ปวส.2 สาขาวชิ าการจดั การสานกั งาน ประเภทวชิ า

บริหารธรุ กจิ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเชยี งใหม่

เบอรโ์ ทรศพั ท์ 09 3139 7377


Click to View FlipBook Version