The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เรื่องราวเกียรติประวัติและผู้บุกเบิกการอนุรักษ์พลังงานไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

จุดเริ่มต้นคนพลังงาน ณอคุณ สิทธิพงศ์

เรื่องราวเกียรติประวัติและผู้บุกเบิกการอนุรักษ์พลังงานไทย

Keywords: ณอคุณ สิทธิพงศ์,พลังงาน,การอนุรักษ์พลังงาน,สถาบันพลังงาน,มช

ณจดุ เรอิ่มตค้นคุณนพลสงั งาทิน ธพิ งศ์

เรื่องราวเกยี รติประวตั แิ ละผู้บุกเบิกการอนรุ กั ษ์พลังงานไทย







ณอจดุคเรุณิ่มตน้ คสนพิทลธังงาิพน งศ์



สารบญั

บทท่ี 1 จดุ เรมิ่ ต้นคนพลังงาน “ณอคณุ สทิ ธิพงศ์” 2

บทที่ 2 ดาวรุ่งดวงแรกกบั เสน้ ทางผู้บกุ เบิก 8
การอนรุ กั ษ์พลังงาน

บทท่ี 3 ก้าวแรกของการมบี ทบาทในกระทรวง 14
พลงั งาน

บทท่ี 4 ยุคทองและมาสเตอรพ์ ซี ทนี่ ่าจดจ�ำ 22

บทที่ 5 ก�ำลังใจส�ำคัญ 34

บทสง่ ทา้ ย ERDI ทีส่ รา้ งสรรค์กบั ทา่ นณอคุณ 40



จุดเริ่มต้นคนพลงั งาน

“ณอคณุ สิทธพิ งศ์”



หากเอ่ยถึงข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในแวดวงพลังงานท่ีทุ่มเท
รบั ใชป้ ระเทศชาติแล้ว เชื่อว่าชือ่ แรกๆ ท่คี นในวงการพลังงาน
หรอื แมก้ ระทงั่ ผู้ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งนึกถงึ คงไมพ่ ้นชายร่างสูงใหญ่ ทา่ ทาง
ดุ แตใ่ จดีอย่าง ดร.ณอคุณ สิทธพิ งศ์ อดีตปลดั กระทรวงพลงั งาน
อย่างแนน่ อน
หากมองจากภายนอก แบบคนท่ีไมเ่ คยไดใ้ กล้ชดิ กับทา่ น
หลายคนท่ไี ดพ้ บเจออาจคดิ วา่ ทา่ นเปน็ คนดุ เสียงดงั พดู จาห้วนๆ
และดจู ริงจงั ตลอดเวลา โดยเฉพาะกบั เรอื่ งการท�ำงาน และการ
ประชุมภายในแตล่ ะครัง้ ท่แี ม้ท่านจะนงั่ อยูห่ วั โตะ๊ ท่ดี ูไกลตา แต่
ด้วยน้�ำเสียงและแววตาของท่านก็ท�ำให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเสียวสัน
หลังได้ตลอดเวลา ซ่งึ น่นั คือภาพภายนอกของทา่ นที่มาจากการ
ท่มุ เท มุง่ มั่น เพ่ือพฒั นาวงการพลังงานบ้านเรา
ในช่วงที่ท่านปฏิบัติหน้าที่บนเก้าอ้ีสูงสุดของฝ่าย
ขา้ ราชการประจ�ำกระทรวงพลงั งาน ซึ่งจะตอ้ งแบกความรบั ผิด
ชอบด้านพลังงานของประเทศท่ีเป็นปัจจัยท่ีส�ำคัญในการขับ
เคล่อื นเศรษฐกจิ ถือได้วา่ เปน็ ช่วงท่ีกอ่ ให้เกดิ ความเปลีย่ นแปลง
หลายเร่อื งไปในทางที่ดี จนแทบระบุวา่ ยคุ ที่ ดร.ณอคุณ เป็นปลัด
กระทรวงพลังงาน คือยุคทองของวงการพลงั งาน ท่ีได้พฒั นาอยา่ ง
ก้าวกระโดดจนท�ำให้หลายๆประเทศในแถบอาเซียนตาม
ประเทศไทยไม่ทนั โดยเฉพาะความก้าวหนา้ ดา้ นพลังงานทดแทน
การสง่ เสรมิ การอนุรักษพ์ ลังงาน และการพัฒนาเพื่อสร้างความ
มน่ั คงด้านพลังงานของประเทศ เพ่อื เสริมความแขง็ แกรง่ ให้
เศรษฐกจิ ในระยะยาว
คงต้องถือเป็นเรื่องโชคดีอย่างย่ิงของกระทรวงพลังงาน
โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ที่ได้ ดร.ณอครุ เขา้ มาบรหิ ารงานจนประสบ
ความส�ำเร็จในแวดวงพลังงาน และท�ำใหเ้ ร่อื งของพลังงาน คือ
วาระแห่งชาติที่ประชาชนทุกคนต้องให้ความสำ� คญั ดงั นน้ั ในฐานะ
ทีท่ ่านไดส้ รา้ งให้เกดิ คณุ ปู ก่หี ลายด้านใหแ้ กป่ ระเทศไทย จึงเกดิ
การรวบรวมอัตชีวประวัตขิ องทา่ นในหลายๆดา้ น
ต้ังแต่ด้านชวี ติ วัยเยาว์ การศึกษา ประวัตกิ ารท�ำงาน
เร่อื ยไปจนถงึ เรือ่ งวิสยั ทศั นก์ ารท�ำงาน และการขึน้ สูต่ ำ� แหน่ง ปลัด
กระทรวงพลังงาน ว่าต้องผา่ นร้อนผ่านหนาว ผ่านเร่ืองราวทน่ี า่
สนใจอย่างไรบา้ ง ถือเป็นบนั ทึกเร่อื งราวของบคุ คลส�ำคัญ ทค่ี วร
อย่างย่ิงที่จะต้องจดจ�ำจารึกเร่ืองราวของเขาไว้ให้คนรุ่นต่อไปได้
ศกึ ษาเรยี นรู้ ตลอดจนเป็นแบบอยา่ งในการทำ� งาน
และเรื่องราวท่ที า่ นจะไดอ้ า่ นตอ่ ไปนี้ คือ จดุ เรม่ิ ต้นของ
คนพลังงานอยา่ ง “ดร.ณอคณุ สิทธพิ งศ์”

จดุ เริม่ ต้นคนพลังงาน | 4

ทั้งทไ่ี มร่ วู้ า่ เกย่ี วกบั อะไร แม้ไม่ไดเ้ รยี นสงิ่ ท่ีใจรัก แต่ชวี ติ
นสิ ติ รว้ั จามจรุ ขี องท่านกไ็ ม่ธรรมดา ด้วยความทเี่ ปน็ คน
ชอบการทำ� กจิ กรรม ท�ำใหเ้ ขาได้ประสบการณ์ชีวติ ตง้ั แต่
เรยี นมากมาย
อาทิ ด�ำรงตำ� แหน่งหวั หน้านสิ ติ คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ ตอนปี 3, ประธานสภาซีเนียร์ ตอนปี 4,
นักกฬี ารกั บ,ี้ กรีฑา รวมทง้ั เป็นหวั หน้าคา่ ยกิจกรรม “ยุว
วศิ วกรบพธิ ” ออกไปบ�ำเพ็ญประโยชนโ์ ดยดูแลการ
ก่อสรา้ งอาคารเรียนและสะพานขา้ มหว้ ยล�ำวง ที่
อ.ค�ำชะอี จ.นครพนม (ปัจจบุ นั อ.คำ� ชะอี จ.มุกดาหาร)
ทีโ่ รงพยาบาลราชวถิ ี กรุงเทพมหานคร คนื วนั ท่ี และ อ.สวา่ งแดนดิน จ.สกลนคร
19 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 มีเดก็ ชายคนหนง่ึ ลืมตาขนึ้ มาดู การชอบทำ� กิจกรรมไดต้ ิดตัวทา่ นมา แมจ้ ะมี
โลกใบนี้ พร้อมกบั บรรยากาศที่เตม็ ไปความปติ ยิ ินดีของ ต�ำแหน่งทางราชการใหญ่โตแล้วก็ยังท�ำกิจกรรมช่วย
ร.อ. ทองแขม และ จไุ ร สทิ ธพิ งศ์ เหลือสงั คม และวงการกฬี า เช่น อาสารบั เปน็ นายก
อาศัยอยู่ทีก่ รงุ เทพฯ ได้ไม่นาน ผูเ้ ปน็ พอ่ ซึง่ รับ สมาคมวา่ ยน�ำ้ แห่งประเทศไทย เปน็ ต้น
ราชการทหาร สงั กดั กองทัพบก ไดย้ า้ ยไปประจ�ำการที่ ถามถึงส่ิงท่ีได้จากการท�ำกิจกรรมท่านบอกว่า
จงั หวัดเชยี งใหม่ และต่อมาได้กอ่ ต้ังโรงเรียนสริ มิ ังคลานุ ไดร้ จู้ ักการเสยี สละ ไดเ้ ห็นชีวิตความเปน็ อย่ใู นชนบท ท่ี
สรณ์ขน้ึ ซง่ึ เป็นโรงเรียนเอกชนท่ีสอนต้ังแตร่ ะดบั ปฐมวัย สว่ นใหญ่เปน็ เกษตรกร ความแตกตา่ งของความรำ่� รวย
ถึงมธั ยมศึกษาตอนต้น และยากจน สว่ นกฬี าสอนให้รู้จักการแพ้ ชนะ ความเสยี
หลงั จากทีใ่ ช้ชีวิตอยู่ในจังหวดั เชียงใหม่ จนถงึ สละ อดทน และมนี ้ำ� ใจเปน็ นักกีฬา
เวลาเข้าโรงเรียน ด.ช. ณอคณุ ได้เข้าเรยี นทโ่ี รงเรยี นมง นอกจากเปน็ นักกิจกรรมตวั ยง เขายังเปน็ ทีพ่ งึ่
ฟอร์ตวิทยาลัย ต้ังแต่ ป.1 จนถึง ม.ศ.1 กอ่ นย้ายไปเรียน ดา้ นการเรยี น โดยเปดิ บา้ นติวใหเ้ พื่อนร่วมรุ่นตา่ งสาขา
ทโี่ รงเรียนปรนิ สร์ อยแยลส์วิทยาลยั ชว่ ง ม.ศ.2-3 และท่ี ดว้ ย
นี่เองเขาไดค้ ว้า “รางวัลนักเรียนดยี อดเย่ยี มในทกุ ดา้ น หลงั จากปิดค่ายกจิ กรรมในช่วงปี 4 ว่าทบี่ ณั ฑติ
(Best all around of the year)” ของโรงเรยี น ณอคณุ ได้เดนิ ทางกลบั ไปเยยี่ มบ้านท่ี จ.เชียงใหม่ เพือ่ ไป
ท่ีท่านไม่ได้เรียนโรงเรียนท่ีครอบครัวเป็น ขอเงินแม่ นำ� มาปดิ บญั ชีค่ายที่ใช้จา่ ยเกินไป เนื่องจาก
เจา้ ของ เนื่องจากพ่อกลัวว่าเรียนโรงเรยี นของท่บี ้านจะ ของบางอย่างหาใบเสรจ็ มาเบิกไม่ได้ พรอ้ มกับขอ้ เสนอ
สบาย อกี อย่างทา่ นอยากให้มีเพ่ือนฝงู เยอะ ของแมท่ ี่วา่ ให้สอนหนังสอื ท่บี ้านเปน็ การแลกเปล่ยี น
และจากความท่ี “ยอดเยยี่ มในทุกด้าน” นีเ่ อง
ทำ� ใหช้ ว่ ง ม.ศ.4-5 สามารถสอบเขา้ โรงเรยี นเตรียม
อุดมศึกษาได้ส�ำเรจ็ กอ่ นที่ตอ่ มาจะสอบเขา้ มหาวทิ ยาลัย
อันดบั หน่งึ ของประเทศ อยา่ งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย
(วศ.14) และเป็นบัณฑิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา
วศิ วกรรมเคร่ืองกล เข้ารับพระราชทานปริญญา ในปี
พ.ศ.2518
ความจริงน้นั ท่านอยากเรียนวิศวะโยธา เพราะ
ทา่ นร้จู กั แคโ่ ยธา แตช่ ่วงนัน้ ราวปี พ.ศ.2515 เศรษฐกิจไม่
ดี คนทเี่ รียนโยธามกั ตกงาน จึงเรยี นเคร่ืองกลตามเพือ่ น

จดุ เรมิ่ ตน้ คนพลงั งาน | 5

ดร.ณอคุณ ยนื ทส่ี องจากซ้ายในทมี รกั บ้ีของคณะวิศวฯ จุฬาฯ ซ่ึงต่อมาท่าน
ได้รับความไวว้ างใจให้เปน็ หัวหนา้ ทีมและประธานชมรมรกั บขี้ องคณะ



ดาวรุง่ ดวงแรก

กบั

เสน้ ทางผู้บุกเบกิ
การอนรุ กั ษ์พลังงาน



ช่วงที่ท่านกลับมาท่ีเชียงใหม่เพ่ือขอเงินแม่ไปปิดงบค่าย
พอดกี ับทคี่ ณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ เปดิ รับ
สมัครบัณฑิตวิศวกรรมเครือ่ งกล เพอ่ื เปน็ อาจารยส์ อนภาควิชา
เครื่องกลเปน็ ร่นุ แรก ท่านซึ่งไมอ่ ยากท�ำงานกบั ท่บี ้าน จึงตัดสินใจ
ไปยื่นใบสมัครและต่อมาก็ได้ท�ำงานเป็นอาจารย์สอนภาควิชา
เครือ่ งกล
ทา่ นสอนวิชา Drawing อยู่หนึง่ ปี ก่อนท่ีจะเดินทางไป
ศกึ ษาตอ่ ปริญญาโท และปรญิ ญาเอก สาขาวศิ วกรรมเครือ่ งกล ณ
มหาวทิ ยาลยั แห่งรฐั โอเรกอน (Oregon State University)
ประเทศสหรัฐอเมรกิ า ใชเ้ วลา 4 ปี และควา้ ปรญิ ญาเอกด้วยวยั
เพยี ง 27 ปี
จากนั้นได้กลับมาสอนท่ีคณะวิศวกรรมศาสตร์
ม.เชยี งใหม่ อีกคร้ัง ไดร้ ับแตง่ ต้ังเป็นหวั หน้าภาควิชา 2 ปี รอง
คณบดี 2 ปี กระทัง่ อายุ 32 ปี ไดร้ ับแต่งตั้งเป็นคณบดี อยใู่ น
ตำ� แหน่ง 12 ปี พออายุ 44 ปี ก็ได้รบั แตง่ ตัง้ เปน็ รองอธกิ ารบดฝี า่ ย
วิจยั นาน 6 ปี ชว่ ง พ.ศ.2540-2546 กระทั่ง อายุ 50 ปี
ยอ้ นกลบั ไปช่วงปี พ.ศ.2533 ขณะทท่ี า่ นดำ� รงต�ำแหน่ง
รองคณบดฝี ่ายวิจัย ม.เชยี งใหม่ ไดร้ บั มอบหมายจากกระทรวง วิ
ทยาศาสตรฯ์ จาก ประพทั ธ์ เปรมมณี เลขาธกิ ารการพลังงานแหง่
ชาติ ในขณะนัน้ ให้เป็นหวั หน้า โครงการทำ� “สมุดปกขาว (White
paper)”
ซึ่งเป็นเอกสารที่บอกเล่านโยบายของประเทศด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทยในอนาคตหรือในช่ือ
ภาษาอังกฤษวา่ “Frontier Technology” เปน็ การคาดการณ์วา่
หากประเทศไทยจะแข่งขันกับชาติอ่ืนๆ ภายใน 10 ปขี ้างหน้า
ตอ้ งมีการพัฒนาหรือเกดิ เทคโนโลยอี ะไรบ้าง
บทสรปุ ทีอ่ อกมามหี ลายเรื่อง แตส่ ิ่งทีเ่ กดิ ขนึ้ จรงิ ในวนั นี้
แลว้ คอื การจดั ตัง้ สถาบันวิจยั แสงซินโคร ตรอน (องค์การมหาชน)
ทม่ี หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จ.นครราชสีมา
การเกิดขึ้นของส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิ
สารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ GISTDA รวมถงึ ศนู ยน์ าโน
เทคโนโลยีแหง่ ชาติ (นาโนเทค)
จ า ก ผ ล ง า น ท่ี สั่ ง ส ม ต ล อ ด ก า ร ท� ำ ง า น ที่ ค ณ ะ
วิศวกรรมศาสตร์ ม.เชยี งใหม่ น้ีเอง ส่งผลให้ทา่ นไดร้ ับรางวัล
วิศวกรดาวรุ่งแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั จากสมาคมนสิ ติ เก่า
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั เปน็ คนแรกในปี
พ.ศ.2534

จดุ เร่มิ ต้นคนพลังงาน | 10

ปรัชญาการท�ำงานของทา่ นคอื คนร่นุ หลังตอ้ ง กระทั่งรวมตัวกับสถาบันเทคโนโลยีก๊าซชีวภาพ
เป็นตัวขับเคลื่อนงานภายใต้การช้ีแนะของผู้บังคับบัญชา ซึง่ ทำ� หนา้ ที่วิจยั พัฒนา และประยุกต์ ใชเ้ ทคโนโลยีดา้ น
ถา้ คล่ืนลกู หลังดีกว่าคล่นื ลกู แรก มไี ฟ มคี วามคิดความ การย่อยสลายสารอินทรีย์แบบไรอ้ อกซิเจน เพ่อื จดั การ
อา่ นมากกว่าเรา หนว่ ยงานนนั้ ๆ ก็เดินหนา้ ไปดว้ ยดี ของเสียควบคกู่ บั การ ผลิตและใช้ประโยชนจ์ ากก๊าซ
เส้นทางชีวิตสายนักบริหารด้านพลังงานของ ชวี ภาพเปน็ พลังงานทดแทน เปน็ “สถาบนั วจิ ยั และ
ดร.ณอคณุ มจี ุดเรม่ิ ต้นจากการเป็นตัวแทนประเทศไทย พัฒนาพลังงาน ม.เชียงใหม”่
เขา้ อบรมกบั “องคก์ รเพม่ิ ผลผลิตแห่งเอเชีย (Asian Pro- ต่อมา สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม
ductivity Organization: APO” ซงึ่ เปน็ ทุนฝึกอบรมให้ ราชกุมารี พระราชทานชือ่ ใหม่ว่า “สถาบนั วิจัยและ
อาจารย์มหาวิทยาลยั ในอาเซียนประเทศละ 1 ทุน ไปฝึก พฒั นาพลังงานนครพงิ ค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม”่
อบรมเรื่องการอนุรักษ์พลังงานที่อินเดียและญ่ีปุ่น กลายเป็นศนู ยค์ วามเป็นเลศิ ทางพลังงาน ทำ�
ประเทศละ 2 สปั ดาห์ หนา้ ทีส่ นบั สนุนงานวิจยั และงานบรกิ าร ของ
ส่ิงท่ีได้เรียนรู้จากการเข้ารับการฝึกอบรมน้ีเอง มหาวิทยาลยั เปน็ แหล่งวจิ ยั คน้ ควา้ และใหบ้ รกิ าร
ท�ำใหท้ ่านสนใจ เรื่องการอนรุ ักษพ์ ลังงานอยา่ งจริงจัง เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านพลงั งาน เพือ่ ประโยชน์ของ
ด้วยเชอื่ ม่นั วา่ ... ประเทศ
“การอนุรักษ์พลังงาน คอื อนาคตเร่อื งพลงั งาน นอกจากน้ี ดร.ณอคุณ ยังเป็นหวั เรี่ยวหวั แรง
ของประเทศ” สำ� คญั ของ ม.เชียงใหม่ ท�ำงานดา้ นการ อนรุ ักษพ์ ลังงาน
หลงั จากทผ่ี า่ นการฝึกอบรม เดินทางกลบั มา ตลอดชว่ งเวลากวา่ 20 ปี ของการเปน็ บุคลากรทาง
ปฏบิ ตั หิ น้าทที่ ่ี ม.เชียงใหม่ จงึ เริ่มต้น การอนุรกั ษพ์ ลังงาน วชิ าการ ที่ ม.เชียงใหม่ และที่สำ� คญั คือไดส้ รา้ งเครอื ขา่ ย
ข้ึน โดยการกอ่ ตั้งสถานจดั การและอนุรกั ษพ์ ลังงานหรือ บุคลากรท่ที ำ� งานด้านการอนรุ ักษ์พลงั งานข้นึ ดว้ ย
EMC ซึ่งเป็นหน่วยงาน ในกำ� กบั ของคณะ ไมเ่ พียงที่ ม.เชยี งใหมเ่ ท่าน้ัน ทม่ี บี ุคลากรให้
วศิ วกรรมศาสตร์ ดำ� เนินงานดา้ นวิจยั พฒั นา และจัดการ ความสำ� คัญในเร่ืองการอนรุ กั ษพ์ ลังงาน ยงั มีเครอื ข่าย
ดา้ นการอนุรกั ษ์พลังงาน โดยอาศัยความรว่ มมือจาก บคุ ลากรที่ ดร.ณอคุณ สรา้ งไวเ้ พอ่ื ด�ำเนินการในเร่ืองน้ี
บคุ ลากรในมหาวิทยาลัย

จดุ เรม่ิ ต้นคนพลงั งาน | 11

(จากซ้าย) ดร.อาชว์ เตาลานนท์, นายศิววงศ์ จงั คศิร,ิ ศ.ดร.อรณุ สรเทศน์, ดร.อาณัติ อาภาภิรม (นายกสมาคมนสิ ิตเกา่ วิศวฯ
จุฬาฯ ขณะนั้น) ฯพณฯ พล.อ.อ.กำ� ธน สนิ ธวานนท์ และ รศ.ดร.ณอคณุ สิทธิพงศ์ ในพิธีมอบรางวัล “วศิ วกีดเี ด่นและวิศวกร
ดาวรุ่ง” แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ประจ�ำปี พ.ศ.2534 เป็นการมอบรางวัลอนั ทรงเกียตินี้เป็นปแี รก



กา้ วแรกขกอรงะกทารรวมงีบพทลบงัางทาในน



ชายผู้บุกเบิกเรื่องการอนุรักษ์พลังงานของประเทศไทย
เมื่อร้วู า่ จะมกี ารจดั ตั้งกระทรวงพลังงานขึ้นกด็ ใี จ เปน็ ความรสู้ ึก
แรกของท่านท่กี ำ� ลังดำ� รงต�ำแหนง่ รองอธิการบดี ม.เชยี งใหม่ ใน
ขณะน้นั เม่อื ทราบวา่ รฐั บาลมีแนวคิดในการตง้ั กระทรวงทจ่ี ะมา
ดูแลเร่อื งพลังงานเป็นการเฉพาะ
ในฐานะคนท�ำงานเรอ่ื ง “พลังงาน” มาอยา่ งยาวนาน
ด้วยความรู้ ความสามารถ และจากประสบการณ์ท่สี ัง่ สมมาอยา่ ง
ตอ่ เนอ่ื งยาวนาน เมื่อทราบข่าวเรือ่ งการจดั ตั้งกระทรวงใหม่
ดร.ณอคณุ จึงตดั สินใจย่นื ใบสมคั รขอโอนย้ายไปรบั ราชการรว่ ม
งานดว้ ย ซึ่งในช่วงกอ่ ต้งั นน้ั ได้รวบรวมคนท่เี รียกว่าเปน็ “ยอด
ฝมี อื ” ด้านพลงั งานจากหลากหลายแหง่ มารวมกนั
แต่ปรากฏว่า ดร.ณอคุณ ไมไ่ ด้รับคัดเลือก แมจ้ ะไมไ่ ด้รว่ ม
งานกบั กระทรวงทเ่ี ขาตอ้ งการเหน็ ตั้งแต่แรกกอ่ ต้ัง แต่ตอ่ มาเม่อื
ปราโมทย์ เอย่ี มศิริ รองปลดั กระทรวงพลงั งานในขณะนั้น เกษยี ณ
อายุราชการ ใบสมัครขอโอนยา้ ยของ ดร.ณอคุณ ต้ังแต่เมื่อคร้งั น้นั
ก็ถกู น�ำมาพิจารณาอกี รอบ
และในที่สุดเขาก็ถูกเรียกตัวให้มาร่วมงานชนิดที่ค่อนข้าง
จะกะทนั หัน โดยทราบข่าวไมเ่ กนิ 1 สปั ดาห์ ก็ตอ้ งเกบ็ ขา้ วของ
จากเชยี งใหม่
ลงมาท�ำงานที่กรงุ เทพฯ เขา้ รบั ต�ำแหน่ง รองปลดั
กระทรวงพลงั งาน ในปี พ.ศ.2546 นบั เปน็ กา้ วแรกทีไ่ ด้รว่ มงานกบั
กระทรวงพลังงาน และเป็นกา้ วแรกท่จี ะเปล่ยี นโฉมงานดา้ น
“พลงั งาน” ของประเทศ ในเวลาต่อมา
สาเหตุที่ท�ำให้ท่านสนใจมาร่วมงานกับกระทรวงพลังงาน
คือ อยากทำ� เร่อื งการอนรุ ักษพ์ ลงั งานและพลังงานทดแทน เพราะ
เป็นผู้ริเริม่ และทำ� มาตลอดหลายสบิ ปีตัง้ แต่สมัยเมอ่ื ครง้ั ยงั เรียน
หนังสือ ต่อเนอ่ื งมาจนเรียนจบเป็นอาจารย์อยูท่ ี่ ม.เชยี งใหม่
คณุ สมบัตพิ ่วงทา้ ยเรื่องการอนรุ กั ษพ์ ลงั งานท่ี ดร.ณอคุณ
มีส่วนร่วม นน้ั มีมากมาย
อาทิ เป็นคณะกรรมการก�ำกับดแู ลและติดตามการดำ� เนนิ
การตามนโยบายประหยัดพลงั งานของประเทศ ส�ำนักนายก
รัฐมนตรี, เป็นคณะอนุกรรมการสง่ เสรมิ การอนุรักษ์พลังงานใน
โรงงานอาคารควบคมุ และอาคารของรัฐ, คณะกรรมการพจิ ารณา
การข้ึนทะเบียนท่ีปรึกษาด�ำเนินการอนุรักษ์พลังงานในอาคาร
ควบคุมและโรงงานควบคมุ ของกระทรวงวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และสงิ่ แวดล้อม

จดุ เร่มิ ตน้ คนพลังงาน | 16

เป็นอนกุ รรมการพจิ ารณาเคร่อื งจักร วัสดุ และ พ.ศ.2549
อปุ กรณท์ ่ปี ระหยัด พลงั งานของกระทรวงวิทยาศาสตร์ ขณะนน้ั ชื่อ ดร.ณอคุณ ถกู เสนอเข้าส่กู าร
เทคโนโลยแี ละส่งิ แวดล้อม, เป็นผจู้ ัดการโครงการวจิ ยั พจิ ารณาของคณะรฐั มนตรี เตรียมรับตำ� แหน่ง “ปลดั
เกย่ี วกับดา้ นพลังงาน, เปน็ ผู้จัดการโครงการเกีย่ วกับการ กระทรวงพลงั งาน” ต่อจาก เชิดพงษ์ สิรวิ ิชช์ ท่เี กษียณ
ประหยดั พลังงานในอาคารพาณชิ ย์ อาคารส่วนราชการ อายรุ าชการลงในเดือนกันยายน พ.ศ.2549 พอดี
และโรงงานอุตสาหกรรม (17 โครงการ) ฯลฯ แต่ทว่าทกุ อย่างกลับสะดดุ รัฐบาลพ.ต.ท.ทักษิณ
และทเี่ ป็นผลงานประจกั ษอ์ ยทู่ ี่ ม.เชียงใหม่ ชินวตั ร ยุติลง รัฐบาลชดุ ใหมเ่ ขา้ มาบริหารประเทศ
จนถงึ ปัจจุบันคอื เปน็ ผกู้ ่อตั้งสถานจัดการ และอนรุ ักษ์ ดร.ปิยสวสั ดิ์ อัมระนนั ทน์ ข้ึนด�ำรงตำ� แหน่งรัฐมนตรี
พลงั งาน ม.เชียงใหม่ เม่อื ปี พ.ศ.2538 ว่าการกระทรวงพลังงาน ส่วน ดร.ณอคณุ สทิ ธพิ งศ์ ยังคง
ดังนั้น การทำ� งานในต�ำแหน่งรองปลดั กระทรวง เปน็ รองปลัดกระทรวงพลังงาน ดงั เดมิ
พลงั งาน ซ่ึงแมจ้ ะเปน็ บทบาทหนา้ ทีใ่ หม่ จงึ ไม่ใชเ่ รื่อง ถึงแม้จะพลาดต�ำแหน่งก็ยังคงมุ่งมั่นท�ำงานต่อ
ยากเกินความสามารถ ไปโดยไม่ได้สนใจสง่ิ ทเ่ี กิดขนึ้ แมร้ ฐั บาลจะมีการ
และอกี เรอื่ งหน่ึง ซึ่งต่อมาจะกลายเป็นความ เปลีย่ นแปลง แต่งานในสว่ นของกระทรวงพลงั งานที่ดแู ล
ภาคภมู ิใจของชายชื่อ “ณอคณุ ” รับผดิ ชอบยังไม่เปลี่ยนแปลง
คือเรอ่ื ง การได้รับมอบหมายใหด้ ูแลการจัดท�ำ รวมถงึ งานสำ� คญั ท่ี ดร.ณอคุณ ดูแลมาต้งั แตต่ น้
“ร่างพระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน เรอ่ื ง “พระราชบัญญตั ิการประกอบกจิ การพลงั งาน”
พ.ศ...” เพอ่ื ให้ผูป้ ระกอบการเอกชนแขง่ ขันในเร่อื งการ 14 ธนั วาคม พ.ศ.2550 นบั เปน็ อีกหน่ึงวันส�ำคญั
ประกอบกิจการพลงั งานอยา่ งเสรี และมกี ารแยกอ�ำนาจ ทีค่ นในแวดวง “พลงั งาน” เฝ้าคอยและติดตามบทสรปุ ท่ี
ของผ้ปู ระกอบการกับผกู้ �ำหนดนโยบายให้ชดั เจน จะออกมาอย่างใกลช้ ิด เนอ่ื งจากในเชา้ วันนี้ ศาลปกครอง
แต่ทว่ายังไม่ทันท่ีจะได้เร่ิมงานอย่างเป็นช้ินเป็น สูงสุดจะมีการอ่านค�ำพิพากษาคดีความเกี่ยวกับการ
อนั กเ็ กิดเหตกุ ารณ์ “รัฐประหาร” เม่ือวันท่ี 19 กันยายน แปรรปู บรษิ ัท ปตท. จำ� กัด (มหาชน)

จดุ เริ่มตน้ คนพลงั งาน | 17

ดร.ณอคุณ สทิ ธิพงศ์ น�ำคณะตดิ ตามนายแพทย์วรรณรตั น์ ชาญนุกลู รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงพลังงาน (ขณะนั้น) ดูงานการ
กอ่ สร้างโรงไฟฟา้ นวิ เคลียร์ที่ Daya Bay มณฑลกวางตงุ้ ซง่ึ ดำ� เนินการโดยบรษิ ัท CGNPC และ CLP แหง่ ประเทศจนี

พดู ใหเ้ ขา้ ใจงา่ ยคอื เปน็ การฟอ้ งรอ้ งตอ่ ศาล ขอ คลอดสดๆ ร้อนๆ อยา่ ง พระราชบญั ญตั กิ ารประกอบ
ให้ยกเลิกการแปรรปู ปตท. และให้ กลับไปเป็น กจิ การพลงั งาน พ.ศ.2550
รฐั วสิ าหกิจดังเดมิ กฎหมายหลายฉบับท่ีต้องแก้ไขอาจใช้ระยะ
แลว้ ก็ถึงชว่ งเวลาทที่ ุกคนรอคอย เม่อื มีค�ำ เวลาไม่นาน แตท่ ่เี ป็นโจทย์หนิ คือ พ.ร.บ.การประกอบ
พิพากษาให้ “ยกฟ้อง” และให้บรษิ ัท ปตท. จ�ำกัด กิจการพลงั งาน ซง่ึ เป็นกฎหมายทีต่ ้องรา่ งใหม่ท้งั ฉบบั
(มหาชน) ยังคงสภาพ บริษัทในตลาดหลักทรัพย์ไว้ได้ เป็นกฎหมายที่ต้องท�ำงานกันอยา่ งเรง่ ด่วน ตอ้ งทมุ่ เทให้
ผลจากค�ำพิพากษาในคร้ังนี้ได้ท�ำให้หน่วยงาน ทงั้ แรงกายและแรงใจ ซ่งึ ดร.ณอคณุ ไดม้ อบใหอ้ ย่างเตม็
ซ่งึ คร้งั หน่ึงเคยเป็นของรัฐ สามารถแปรรปู ไปอยู่ใน ท่ี
ตลาดหลักทรพั ย์ ท�ำให้มคี วามคลอ่ งตวั ในการทำ� งาน พ.ร.บ.การประกอบกิจการพลงั งาน พ.ศ.2550
ตลอดจนแยกออกไปเปน็ “ผปู้ ระกอบกจิ การพลงั งาน” ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันท่ี 10 ธันวาคม พ.ศ.
อย่างชดั เจน และไมม่ ีอำ� นาจครอบคลุมมากมายดงั แต่ 2550 มีผลบังคบั ใช้วันรุ่งข้ึน จากนนั้ วนั ท่ี 14 ธนั วาคม
กอ่ น พ.ศ.2550 ศาลปกครอง สูงสุดก็มีค�ำพิพากษา
สว่ นหน่ึงที่ทำ� ให้บรษิ ทั ปตท. จ�ำกดั (มหาชน) แล้วกช็ ัดเจนจากค�ำพพิ ากษาวา่ พ.ร.บ.การ
ยงั คงด�ำรงสถานะในตลาดหลกั ทรพั ย์ ได้ตามค�ำพิพากษา ประกอบกจิ การพลังงาน พ.ศ.2550 คอื สาเหตุท่สี �ำคัญ
ของศาลปกครองสูงสดุ มาจากกฎหมายฉบับหนง่ึ ซง่ึ เพ่ิง สาเหตุหนง่ึ ที่ทำ� ใหก้ ารแปรรูป ปตท.ไมถ่ ูกเพกิ ถอน

จุดเริ่มตน้ คนพลังงาน | 18

ส่ิงหนึง่ ท่ีไมถ่ ามคงไมไ่ ด้ คือหลังจากเหตกุ ารณ์ เลิกงาน 4 โมงเยน็ เพราะบางครง้ั ต้องมกี ารประชมุ จน
รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ.2549 ดร.ปยิ สวัสด์ิ ขึ้นมา ดกึ ด่นื มืดค่�ำ
เปน็ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงพลงั งานแลว้ ท�ำไมถึงเลือก และดว้ ยความท่เี ปน็ คนต้ังใจ มุ่งมั่น ตอ้ งการให้
ดร.พรชยั รจุ ิประภา เป็นปลัดกระทรวงพลงั งาน ทั้งท่ี งานช้ินน้ีส�ำเรจ็ ใหท้ นั ก�ำหนด แทบทกุ ครั้ง ดร.ณอคณุ ใน
ก่อนหนา้ นม้ี ีการเสนอชือ่ ของ ดร.ณอคณุ เข้าสูก่ าร ฐานะประธานอนุกรรมการยกรา่ ง ไมเ่ คยหลบหายไปไหน
พจิ ารณา คณะรัฐมนตรีแล้ว อยรู่ ว่ มประชมุ ทกุ ครง้ั ลกู นอ้ งท�ำงานดกึ ๆ ด่นื ๆ ก็ซอ้ื ขา้ ว
ดร.ปิยสวสั ดิ์ กลา่ วว่า “ผมไดบ้ อกกับท่านณอ ซอ้ื ขนมมาเลี้ยง
คุณว่า ขอเลือกท่านพรชัย เป็นปลัดก่อน เพราะเปน็ คนท่ี ในการลงพ้ืนที่รับฟังความคิดเห็นจากประชาชน
มคี วามร้มู คี วามสามารถในเรอื่ งพลังงาน อีกทงั้ ในแง่ ท่ัวประเทศ ก็เดินทางไปชี้แจงดว้ ยตวั เอง
อาวโุ ส เข้ามาทำ� งานกอ่ น ท่านณอคณุ ซึ่งท่านณอคุณก็ นค่ี อื ความเปน็ มืออาชีพ ท่บี อกว่าท่านเตรยี มได้
บอกวา่ ไม่มปี ัญหา และท่านท�ำงานไดอ้ ยู่แลว้ ” รับการแต่งตั้งเป็นปลัด แต่เกิดรัฐประหารก่อน แตท่ ่านยงั
โดยคณะทำ� งานยกร่าง ถูกตงั้ ขึ้นในช่วงเดอื น คงตัง้ ใจท�ำงานอยา่ งเตม็ ที่
พฤศจิกายน พ.ศ.2549 โดยประมาณเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ และนี่เป็นอีกหน่ึงความภาคภูมิใจในชีวิตของ
พ.ศ.2550 การยกรา่ งตอ้ งแลว้ เสร็จ จากน้ันตอ้ งออกเดิน ดร.ณอคุณ ทีม่ อบใหก้ บั แวดวงพลงั งานท่เี ขารัก ตลอดจน
สายรับฟังความคดิ เห็นจากประชาชนท่วั ประเทศ พลิกโฉมเร่อื ง “พลงั งาน” ของประเทศชาตคิ ร้งั ใหญ่
การทำ� งานจึงไมใ่ ช่เวลาราชการแบบเขา้ งาน 8 โมงเชา้

จุดเรมิ่ ต้นคนพลงั งาน | 19

สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี พระราชทานพระราชานญุ าตให้คณะผู้บรหิ ารกระทรวง
พลงั งาน รว่ มในการฉายพระรปู ในคราวเสด็จฯ ไปทรงเปิดแท่นผลิตปโิ ตรเลยี มจากแหล่งบงกชใต้ เมื่อวนั ที่
24 กนั ยายน 2555



ยุคทอง

และ

มาสเตอร์พซี ทน่ี า่ จดจ�ำ



ในท่ีสุดชื่อ ณอคณุ สิทธิพงศ์ กไ็ ดร้ ับการแต่งตัง้ ให้ เปน็
ปลัดกระทรวงพลงั งาน ในปี พ.ศ.2553
แรกต้ังกระทรวงพลังงานมีการพูดถึงยุทธศาสตร์ด้าน
ความม่ันคงทางด้านพลงั งานของประเทศ เพราะเรานำ� เขา้
พลงั งานมาใช้ ไมไ่ ดผ้ ลติ ข้ึนเอง และยงั ไมม่ แี ผนรับมอื อยา่ งเปน็ รปู
ธรรม
จนกระทั่งปี พ.ศ.2551 กระทรวงพลังงานไดร้ ับเชญิ จาก
ทบวงพลังงานโลก หรอื International Energy Agency (IEA) ท้ัง
ทีไ่ ม่ได้เป็นสมาชกิ ใหม้ โี อกาสเขา้ ร่วมประชมุ เพอื่ เตรยี มความ
พร้อมรบั มอื วิกฤตพลงั งาน
เรอื่ งนตี้ ่างชาตทิ ี่น�ำเขา้ พลังงานเช่นกนั ใหค้ วามส�ำคญั มาก
มีการซักซ้อมหากเกิดเหตุการณข์ ึ้นจรงิ แต่ไทยกลับไมม่ ีแผนรับมอื
เลย
เรยี กไดว้ า่ การรว่ มประชมุ และแลกเปลย่ี นประสบการณ์
กบั หน่วยงานพลังงานระดบั โลก อยา่ ง IEA คอื แรงบันดาลใจส�ำคญั
ให้ ดร.ณอคณุ รองปลดั กระทรวงพลังงานในขณะนั้น จำ� เปน็ ตอ้ ง
กลบั มาปรับแกแ้ ผนทใี่ ชก้ ับประเทศให้รอบคอบ รัดกุมมากกว่าจะ
แค่ความกังวลใจว่าจะเกิดวิกฤต
ก่อนหน้าน้ัน ประมาณ พ.ศ.2550 ประเทศไทยเรมิ่ มกี าร
พูดถึงวกิ ฤตไฟฟา้ กันบา้ งแล้ว เพราะทราบดวี า่ ในแผนการผลิต
ไฟฟ้าของประเทศไดก้ ำ� หนดสดั ส่วนของการใช้ เชอ้ื เพลิงเพอ่ื ผลติ
ไฟฟา้ ในอัตราไม่เหมาะสม คือ พึง่ พาพลงั งานก๊าซธรรมชาตใิ น
สดั สว่ นทม่ี าก เกนิ ไป แต่ไมม่ ีใครสนใจท่ีจะแก้ปญั หาดงั กล่าวอย่าง
จรงิ จัง
กระท่ังปี พ.ศ.2551 เกิดเหตกุ ารณท์ ่ไี มค่ าดฝนั หลายอยา่ ง
ภาพรวมเรื่องพลงั งานไฟฟ้าของไทยน่าเป็นหว่ ง ซึ่งกระทรวง
พลังงานไดต้ ดิ ตามเร่ืองนอี้ ยา่ งใกลช้ ดิ
เทา่ นัน้ ไม่พอ เมือ่ เข้าสูช่ ่วงเดือนเมษายน เนอ่ื งจากอากาศ
รอ้ น ท�ำใหม้ ปี รมิ าณการใช้ไฟฟ้าสูง นอกจากน้ัน เน่ืองจากจะเข้าสู่
วนั หยดุ เทศกาลสงกรานต์ ภาคอุตสาหกรรมเรง่ ผลิตสินค้าเพื่อ
รองรบั ความตอ้ งการ และผลิตล่วงหนา้ เพื่อใหพ้ นกั งานได้ลากลับ
บ้าน เป็นชว่ งที่มีการใช้พลงั งานไฟฟา้ สูงสดุ ของปี
เท่านัน้ ยงั ไมพ่ อ เหตุการณ์ไมค่ าดฝนั ก็เกิดขึน้ เมอื่ วันที่
2-3 เมษายน แหล่งก๊าซธรรมชาติพมา่ เกิดปญั หาทางเทคนิค ทำ� ให้
การสง่ ก๊าซธรรมชาตจิ าก 2 แหลง่ คอื ยาดานา และ เยตากุน ที่
ไทยซื้อจากพม่ารวมกว่า 1,000 ลา้ นลกู บาศกฟ์ ตุ ตอ่ วัน เขา้ ระบบ
ในการผลิตไฟฟา้ ไมไ่ ด้

จดุ เร่มิ ตน้ คนพลังงาน | 24

สถานการณ์เวลาน้ันเรียกได้ว่าไทยก�ำลังเข้าสู่ ในปเี ดยี วกัน หลงั วิกฤตผา่ นพ้น ทา่ นไดเ้ ดนิ ทาง
ภาวะขาดแคลนเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟา้ ไปประเทศฝร่ังเศสเพื่อร่วมประชุมกับทบววงพลังงาน
แต่อย่างไรก็ตาม เพอ่ื ให้เชอ้ื เพลงิ ท่ีจ�ำเป็นต้องใช้ โลก (IEA)
มเี พยี งพอ ดร.ณอคุณ ไดก้ ำ� ชับให้ ปตท. นำ� เข้านำ้� มนั เตา องค์กร IEA ต้งั ข้นึ เพอ่ื ถ่วงอ�ำนาจประเทศผผู้ ลติ
จากต่างประเทศเพ่ิม ขณะที่ได้ขอใหบ้ รษิ ัท บางจาก น�ำ้ มนั (โอเปค) มีประเทศผใู้ ช้นำ้� มนั รายใหญ่เป็นสมาชกิ
ปโิ ตรเลยี ม จำ� กัด (มหาชน) หา้ มส่งออกนำ้� มนั เตา ให้ไวใ้ ช้ มีเปา้ หมายเดียวกันคอื ใหส้ มาชกิ มีความพร้อมในการ
ในประเทศเทา่ นั้น วางแผนรบั มือวิกฤต นำ�้ มนั ขาดแคลน
สิ่งทีค่ ณะทำ� งานกลวั มากทีส่ ดุ คอื ไฟฟ้าดับหรือ ขณะน้ันไทยยังไม่เป็นสมาชิกแต่มีโอกาสเข้าร่วม
แบลก็ เอาต์ จะเกิดข้นึ ไม่ได้เด็ดขาด ถือว่าเปน็ เรื่องท่ดี มี าก ในการประชุมรว่ มกบั IEA ดร.ณอ
ขณะเดียวช่วงสงกรานต์ยังเกิดฝนตกหนักติดต่อ คณุ ได้เลา่ ประสบการณ์เผชิญวิกฤตก๊าซธรรมชาติของ
กนั หลายวนั ท�ำใหอ้ ณุ หภูมไิ มร่ ้อนจัด ดัง่ ทค่ี าดการณไ์ ว้ ไทยท่เี พง่ิ ประสบมาให้กบั ทป่ี ระชมุ ฟงั ซ่ึงไดร้ บั เสียงปรบ
ท�ำใหค้ วามกงั วลเร่ืองไฟพีคหมดลง ถอื ว่ารอดมาไดอ้ ย่าง มือชน่ื ชมนานมาก
หวุดหวดิ เมอ่ื กลบั จากการประชมุ IEA คราวน้ัน ดร.ณอ
แตส่ ิง่ ท่ีส�ำคัญท่เี หน็ ไดช้ ัด น่นั ก็คอื ความร่วมมือ คณุ จงึ ไดน้ ำ� แนวทางรบั มือวกิ ฤตน้�ำมันเขา้ มาด้วย
ของหน่วยงานท่เี กยี่ วขอ้ งภายใต้ชอ่ื ไทยแลนด์ทมี เพราะ ต่อมาปลายปี พ.ศ.2552 ไดเ้ ชิญตัวแทน IEA เขา้
เป็น “วิกฤตพลังงาน” ครงั้ แรกของประเทศไทย การ มาในไทยเพ่ือขอให้ช่วยแนะน�ำคนไทยในการจัดท�ำแผน
ทำ� งานในสภาวะวกิ ฤต เปน็ อกี สิ่งหน่ึงที่ฉายภาพให้เห็น ซกั ซ้อมกรณเี กิดวิกฤตพลังงาน
ตัวตนคนชือ่ “ณอคุณ” ได้อยา่ ง ชดั เจนทีส่ ุด

จุดเรมิ่ ต้นคนพลังงาน | 25

การชว่ ยเหลือของ IEA คร้ังน้ัน ถือเปน็ ครง้ั แรกที่ ทำ� ใหก้ ระทรวงพลังงาน ตั้งต�ำแหนง่ “Chief Change
หน่วยงานดังกล่าวยอมออกมาจัดการซ้อมแผนรับมือ Office (CCO)” หรอื “ผนู้ ำ� การเปล่ยี นแปลงกระทรวง
วกิ ฤตนอกกรุงปารีส ประเทศฝรัง่ เศส สถานทีเ่ ดยี วทจี่ ัด พลงั งาน”
ซอ้ มแผนของ IEA และเป็นคร้งั แรกอีกเชน่ กันที่ IEA ในฐานะรองปลัดกระทรวง ดร.ณอคุณ ได้เข้ามา
แนะนำ� ให้กบั ประเทศทีไ่ ม่ใชส่ มาชิกอยา่ งไทย รบั ต�ำแหนง่ น้ีเป็นคนแรก ท่านไดเ้ ปล่ียนแปลงด้านการ
กลายเป็นจุดเร่ิมต้นของประเทศไทยในการ ท�ำงาน โดยก�ำหนด คา่ นิยมใหข้ า้ ราชการรว่ มมอื ปฏิบตั ิ
รบั มือวกิ ฤตพลงั งานอยา่ งเป็นระบบ และท�ำใหต้ อ่ มา อย่างเครง่ ครดั น่นั คอื ค่านิยมทเี่ รยี กวา่ “ดับเบิลซีที
ทุกๆ ปี กระทรวงพลงั งานจะจัดใหม้ ีการซกั ซอ้ มแผน (Double C-T)”
รับมอื เหตุการณ์ วกิ ฤตในหลากหลายสถานการณ์ มกี าร ประกอบด้วย C ตัวแรกคือ Citizen Centered
ก�ำหนดเหตุการณ์จำ� ลอง เพอ่ื ใหก้ ารเผชิญเหตุการณจ์ รงิ มุ่งเนน้ ประชา และ C ตัวท่สี องคอื Can do Attitude
ไม่มปี ญั หา เชื่อม่ันทำ� ได้ ส่วน T ตวั แรกคือ Think out of the box
อีกทั้งใช้โอกาสท่ีประชาชนก�ำลังต่ืนตัวให้ความ กลา้ คดิ สรา้ งสรรคแ์ ละ I ตวั ทีส่ องคือ Teamwork ร่วมใจ
สนใจตอ่ สถานการณ์พลังงานประเทศ ออกแคมเปญ เป็นทีม
รณรงค์ประหยัดพลังงาน และไดผ้ ลดมี กี ารลดการใช้ เป็นค่านิยมเพ่ือใช้ปฏิบัติราชการของเหล่า
ไฟฟา้ ได้มาก ข้าราชการ พนกั งานราชการ และลูกจ้างของกระทรวง
ต่อมาในปี พ.ศ.2547 สำ� นกั งานคณะกรรมการ พลังงานทกุ คน เน้นเรือ่ งการปฏิบัตติ าม ยทุ ธศาสตร์
พฒั นาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ไดเ้ ปน็ คณะกรรมการที่ กระทรวงพลงั งานที่ก�ำหนดไว้ตามกรอบปี พ.ศ.2555-
เข้ามาวางทิศทางการเปลี่ยนแปลงขององค์กรภาครัฐ 2559

จดุ เร่มิ ต้นคนพลังงาน | 26

ปัจจัยหลักมาจากการพัฒนาองค์กรตามตัวช้ีวัด ตามแผนในช่วงกลางปี พ.ศ.2554
ของ ก.พ.ร.ทกี่ ำ� หนดใหท้ กุ กระทรวง ด�ำเนินการดา้ นการ นอกจากน้ันท่านยังต้องท�ำหน้าที่ติดตามงาน
พัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจัดการภาครัฐ (PMQA) คณะอนุกรรมการท่ีเหลืออีก 2 คณะ ได้แก่ คณะ
ประกอบด้วย 7 หมวด คอื อนุกรรมการดา้ นการมสี ว่ นรว่ มทรพั ยากรมนุษย์ และ
1.การนำ� องค์กรและความรับผิดชอบต่อสงั คม ภาคอตุ สาหกรรม และคณะอนุกรรมการ ดา้ นการมีส่วน
2.การวางแผนเชงิ ยุทธศาสตร์ ร่วมของภาคประชาชนอีกด้วย
3.การให้ความส�ำคัญกับผู้รับบริการและมีผู้ส่วน นอกจากการรับหน้าท่ีในการเป็นประธานคณะ
ไดส้ ่วนเสยี อนกุ รรมการต่างๆ แลว้ การติดต่อประสาน งานยังแสดง
4.การวัด การวิเคราะห์ และการจดั การ ความรู้ ใหเ้ ห็นถงึ สปิริตในการท�ำงานของ ดร.ณอคุณ อกี ด้วย
5.การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล แม้ว่าตอนนี้ผลงานที่ออกมาพร้อมท่ีจะเสนอ
6.การจัดการกระบวนการ คณะกรรมการนโยบายพลงั งานแห่งชาติ (กพช.) และ
7.ผลลพั ธก์ ารด�ำเนินการ ครม.อนุมัติโครงการ แต่ถูกชะลอออกไปถงึ ปี พ.ศ.2573
โดย ก.พ.ร.จัดใหม้ ีการประกวดในแต่ละหมวด หากพิจารณาการใช้พลังงานของนานาประเทศ
ครั้งแรกเมือ่ ปี พ.ศ.2555 และกระทรวงพลงั งานเป็นกระ ทวั่ โลก จะพบว่าอกี 20 ปีข้างหนา้ พลังงานพนื้ ฐานทจ่ี ะ
ทรวงทไี่ ดร้ างวัลหมวด 1 พอมีแหล่งทรัพยากรเหลืออย่มู ากพอ จะเหลือแค่ถ่านหนิ
หนึง่ ในบทบาทส�ำคญั ของ ดร.ณอคุณ ทีไ่ ด้รับ กบั พลงั งาน นวิ เคลียร์
มอบหมาย ซึ่งเป็นเร่ืองละเอียดออ่ น ตอ้ งการ ทำ� ความ เรยี กไดว้ า่ เรื่องราวเกีย่ วกับพลังงานนวิ เคลียร์ ได้
เขา้ ใจ ใหค้ วามร้กู ับประชาชน คอื ตำ� แหนง่ “ผูอ้ �ำนวย เขา้ มาเก่ียวข้องกบั ชวี ิตประจ�ำวัน มนุษยห์ ลายเร่ืองแลว้
การส�ำนกั งานพัฒนาโครงการ โรงไฟฟา้ พลังงาน เพียงแต่ว่าเราไม่รตู้ ัวเทา่ นน้ั เอง ขณะเดียวกนั เรอ่ื ง
นวิ เคลยี ร์ (สพน.)” พลังงานสะอาด ต้นทนุ ถูก กย็ งั เป็นสิ่งที่หลายคนถามหา
โดย ดร.ณอคณุ นับเป็น ผอ.สพน. คนแรกของ “พลังงานนวิ เคลียร์” แมจ้ ะตอบโจทยน์ ไี้ ด้ แตก่ ็
ประเทศไทย เปน็ สงิ่ ทห่ี ลายคนกงั วล แต่อยา่ งไรก็ตาม ดร.ณอคณุ กย็ ัง
แมจ้ ะเป็นงานยาก แต่เร่ืองนี้จำ� เปน็ ต้องจดุ คงคดิ ว่า โรงไฟฟา้ พลังงานนิวเคลียร์ยงั คงมีความจำ� เป็น
ประกายให้สังคมไทยตืน่ ตวั ในการรบั รู้ จงึ เต็มใจท่ีจะเข้า อยู่สำ� หรับประเทศไทย
มารบั หนา้ ทด่ี งั กล่าว แม้วา่ ตอนนี้ สพน.จะถูกยกเลิกไปแลว้ ตามขอ้
รวมท้ังรา่ งแบบพิมพ์เขยี วโครงการทัง้ หมด และ ก�ำหนดของ ครม. แต่ ดร.ณอคณุ ยังได้ริเร่มิ หน่วยงาน
ต้องจัดท�ำรายงานของประเทศ เพ่อื เตรยี มเสนอใหก้ ับ เพอ่ื มาสานเจตนารมณใ์ นเรื่องดงั กลา่ วภายใน กระทรวง
รัฐบาล ตามกรอบทท่ี บวง การพลังงานปรมาณูระหว่าง พลังงาน นัน่ คอื การจัดต้งั “สำ� นักศึกษาและประสานงาน
ประเทศ หรอื IAEA (International Atomic Energy พลงั งานนิวเคลยี ร์” ซึ่งเปน็ หน่วยงาน ภายในสำ� นกั งาน
Agency) วาง ไกดไ์ ลน์ใหเ้ ราว่า จะสรา้ งโรงไฟฟา้ ใน ปลัดกระทรวงพลังงาน
ประเทศตอ้ งมคี วามพร้อมประมาณ 19 ด้าน หน้าที่ของส�ำนักศึกษาและประสานงานพลังงาน
แตด่ ว้ ยความต้งั ใจที่จะบรรลุให้ได้ตามแผน PDP นวิ เคลยี ร์ หลกั ใหญๆ่ จากน้คี ือ การให้ ความรู้ความ
จงึ ทำ� ให้การประเมินทัง้ 19 ขอ้ ในข้นั ตอนสุดทา้ ยผ่าน เขา้ ใจประชาชน โรงฟ้าพลังงานนวิ เคลียรไ์ มค่ วรจะเปน็
เกณฑท์ ้ังหมด ภายใตก้ รอบระยะเวลาด�ำเนินงานของ เพยี งความฝนั แตค่ วรน�ำมาปฏบิ ตั ิได้จรงิ เพราะ จะเปน็
สพน. ท่ีก�ำหนด กรอบเวลาศึกษากอ่ ตง้ั สำ� นักงานเปน็ ทางเลอื กส�ำคญั ตอ่ ความม่นั คงทางพลงั งานของประเทศ
เวลา 3 ปี (พ.ศ.2551-2553) โดยขัน้ ตอนจากน้นั จะต้อง เปน็ เรอื่ งหนงึ่ ที่ ดร.ณอคุณ อยากใหเ้ กิดข้นึ ใน
น�ำรายงานความพรอ้ ม เพอ่ื เตรียมเสนอรฐั บาลพจิ ารณา แวดวงพลังงานไทย

จุดเริม่ ตน้ คนพลงั งาน | 27

มโี อกาสตอ้ นรบั Bill Clinton อดตี ประธานาธบิ ดีสหรัฐอเมรกิ าในคราวท่ีเดินทางมาแสดงปาฐกถาทท่ี ำ� เนยี บรฐั บาล
ซ่งึ เปน็ กิจกรรมหนึง่ ในการรณรงค์ “ลดโลกรอ้ น ถวายพอ่ ” ของกระทรวงพลังงาน

จดุ เริ่มต้นคนพลงั งาน | 28

หากจะถาม ถึงผลงานทเี่ ป็นระดับ “มาสเตอร์ โดยแผนAEDP ดังกลา่ วไดเ้ ขา้ สกู่ ารเห็นชอบจาก
พีซ” หรือผลงานท่ีทรงคุณค่า และถอื เป็นการเปลีย่ น คณะรัฐมนตรี และจะเป็น Road map ทส่ี �ำคญั ในการ
โฉมหน้า วงการพลงั งานใหก้ า้ วกระโดดอยา่ งทไ่ี ด้เกร่ินไว้ พัฒนาพลงั งานทดแทนของไทย ซ่ึงตอ้ งยกเปน็ ความต้งั ใจ
ซงึ่ ก็มีหลายผลงาน และหลากหลายโครงการ ของ ดร.ณอคณุ ท่ีได้ ผลักดันแผนดังกลา่ วแบบสุดก�ำลงั
แต่หากจะกล่าวถึงผลงานเด่นที่สุดส�ำหรับ จนเป็นที่ยอมรับในคณะรัฐมนตรีฝ่ายบริหารบ้านเมือง
กระทรวงพลงั งาน คงหนีไม่พน้ การวางนโยบาย ด้าน และ ถกู ก�ำหนดไวใ้ หเ้ ป็นวาระแหง่ ชาติ ท่ีทกุ รฐั บาลจากนี้
พลังงานเพือ่ อนาคต สำ� หรับลกู หลานไทยให้ได้มพี ลังงาน ตอ้ งปฏิบตั ติ าม
ใช้อย่างยัง่ ยืน ซง่ึ น่าจะเป็นผลงานระดบั มาสเตอรพ์ ีซ โดย ด้านผลงานท่ีโดดเด่นอีกด้านในการท�ำงานของ
แท้ ซ่งึ ในช่วงท่ี ดร.ณอคณุ ไดก้ ้าวมาสตู่ ำ� แหนง่ ปลดั ดร.ณอคุณ ได้แก่ การผลักดนั ให้เกิด แผนอนรุ กั ษ์พลงั งาน
กระทรวงพลังงาน ระหว่างปี พ.ศ.2553-2556 ไดเ้ กิด 20 ปี (พ.ศ.2554-2573) ซึ่งไดก้ ำ� หนดให้มกี ลยุทธ์ 5 ดา้ น
นโยบายการผลักดันการสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน 34 มาตรการ ซง่ึ จะท�ำใหป้ ระเทศไทยของเราสามารถใช้
สำ� หรับอนาคตไทย โดยมีนโยบายเด่นๆ ท่จี ะเป็นการทำ� พลังงานได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพย่งิ ขน้ึ และเมอ่ื ถงึ ส้ินปี
พมิ พ์เขยี วด้านพลังงาน ซง่ึ ถือว่าเป็น พันธสัญญาให้ พ.ศ.2573 จะสามารถช่วยใหป้ ระเทศประหยัดงบ
บุคลากรทุกคนในกระทรวงพลังงานต้องมีหน้าท่ีด�ำเนิน ประมาณและลดดัชนีด้านการประหยดั พลังงาน หรอื En-
การใหไ้ ดต้ ามแผน และต้องทำ� ใหส้ มั ฤทธผิ ล ได้แก่ ergy Intensity ได้มากถึงร้อยละ 25 ตามเป้าหมายของ
1.การผลักดันแผนการส่งเสริมการใช้พลังงาน แผน ทง้ั น้กี ลยุทธ์ 5 ดา้ น ประกอบดว้ ย
ทดแทนและพลังงานทางเลอื ก (AEDP) ร้อยละ 25 ใน 10 1.กลยุทธ์ด้านการบังคับด้วยกฎระเบียบและ
ปี (พ.ศ.2555-2564) มาตรฐาน
2.การผลกั ดันแผนอนรุ ักษ์พลังงาน 20 ปี (พ.ศ. 2.กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการ
2554-2573) อนุรักษพ์ ลงั งาน
3.การจัดท�ำแผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของ 3.กลยุทธ์ด้านการสร้างความตระหนักและ
ประเทศ (PDP) เปลย่ี นแปลงพฤติกรรม
4.การเสาะหาพลังงานจากต่างประเทศมาเติม 4.กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยี
เตม็ พลังงานไทย และ นวตั กรรม
5.การปรับราคาพลังงานเพื่อสะท้อนต้นทุนท่ีแท้ 5.กลยุทธ์ด้านการพัฒนาก�ำลังคนและความ
จรงิ สามารถเชงิ สถาบัน

จุดเร่ิมต้นคนพลงั งาน | 29

นอกจากทง้ั 2 นโยบายดังกล่าว นโยบายทส่ี ำ� คัญ เพือ่ ดูความเปน็ ไปได้ของโครงการ ใน 4 ประเด็น
อีกประการที่ ดร.ณอคณุ ไดว้ างทศิ ทาง ไว้ใหค้ นพลงั งาน คอื 1.มเี ทคโนโลยที แี่ นน่ อน 2.มีจดุ เชื่อมโยงไฟฟ้า 3.มี
คือ แผนพัฒนาก�ำลงั ผลิตไฟฟา้ หรือ PDP ซ่ึงปจั จุบันอยู่ ทีด่ นิ ก่อสรา้ งโครงการ และ 4. มกี ารสนับสนุนจาก
ในข้ันตอนการจดั ทำ� แผน “ PDP 2013” คอื ต้องเปน็ สถาบนั การเงิน ซ่ึงหากมีครบกส็ ามารถใหเ้ ดนิ หนา้
“PDP ยั่งยนื -มน่ั คง” PDP เริ่มจากปัจจยั 3 ขอ้ คอื ความ โครงการได้
มั่นคง ส่งิ แวดล้อม และอตั ราราคาค่าไฟฟ้า นอกจากเรื่องการส่งเสรมิ พลังงานทดแทน การ
หลกั การคอื ต้องกระจายแหลง่ เชือ้ เพลิงให้มาก อนุรักษพ์ ลงั งาน และแผนการพัฒนากำ� ลัง ผลิตไฟฟ้า
ขนึ้ เพราะในอนาคตการผลติ ไฟฟา้ จะตอ้ งเผชญิ กบั ข้อ หรือ PDP ตามที่กล่าวไปแลว้ ภาพรวมการใชพ้ ลงั งานใน
จำ� กัดหลายเรื่อง ราคาเชอื้ เพลิงที่ปรบั ตัวสูงข้นึ และความ ประเทศไทย ไมไ่ ดม้ ี เฉพาะแตก่ ารใชไ้ ฟฟา้ เทา่ นั้น หาก
มัน่ คงทางดา้ น ซัพพลาย ยังมกี ารใชพ้ ลังงานในรูปแบบอื่นอีกด้วย เชน่ การใช้
โดยเฉพาะประเดน็ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับ “กรนี ” หรือ นำ�้ มัน
“ส่งิ แวดล้อม” นั้น ดร.ณอคณุ เปน็ ผตู้ ้ังประเด็นมาวา่ ก๊าซธรรมชาติ ซ่งึ เปน็ ส่วนส�ำคัญในภาคการ
ต้องต้ังเป้าหมายลดการปล่อย CO เพอื่ ใหป้ ระเทศไทยได้ ขนส่ง และครวั เรือน ดงั นน้ั การสรา้ งความม่นั คง ด้าน
เปน็ ส่วนหน่งึ ของประชาคมโลก เพราะท่วั โลกเริ่มตืน่ ตัว พลงั งานในระยะยาว จึงเปน็ เร่อื งสำ� คญั
ประเด็นสิ่งแวดลอ้ ม เพราะในขณะท่ีประเทศไทยไม่มีพลังงานเพียง
ฉะน้ันในแผน Green PDP น้นั จะเน้นในเร่อื ง พอต่อการใช้ จึงจ�ำเปน็ ต้องแสวงหา พลังงานเข้ามาเพ่มิ
ของพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลงั งาน มกี าร เติม เพื่อให้ประเทศไทยมีความม่นั คงทางพลงั งาน
บริหารจดั การใน 2 ดา้ น คอื ดมี านน์และซัพพลาย ในการแสวงหานำ้� มัน กา๊ ซธรรมชาติ และไฟฟา้
Green PDP ฉบับน้ถี ือวา่ มคี วามเป็นรูปธรรม จากภายนอกประเทศเพื่อสร้างความ มน่ั คงด้านพลงั งาน
มากขึน้ ในแง่ของพลงั งานทดแทน กอ่ นหน้านี้มอี ยู่แลว้ แต่ ในระยะยาวนัน้ ดร.ณอคุณ ได้ใช้ยทุ ธวิธี “การทตู ” คอื
ไม่ได้ต้งั เป้าหมายและไมม่ ีเกณฑ์ทช่ี ดั เจน เปน็ พัฒนาการ ให้กระทรวงการตา่ ง ประเทศชว่ ยเหลอื กระทรวง
ท่ี ดร.ณอคุณ ในฐานะปลดั กระทรวงพลังงานได้ผลักดัน พลังงานออกหน้าติดต่อกับประเทศท่ีเป็นแหล่งพลังงาน
ใหเ้ กิดขนึ้ แล้วส่งตอ่ ใหห้ นว่ ยงานพลังงานของไทยเขา้ ไปติดตอ่ เพอื่
แต่การจะตัดสินใจว่าโครงการใดมีความเป็นไป ลงทนุ ดา้ นพลังงานรว่ มกบั ประเทศเหลา่ นัน้ มาเติม เต็ม
ได้หรือไมไ่ ด้ จะมีคณะกรรมการบริหาร มาตรการส่งเสริม สว่ นที่ขาด และเก็บไว้เปน็ พลังงานส�ำรองของประเทศ
พลงั งานการผลติ ไฟฟา้ จากพลงั งานหมนุ เวียน ด้วย

จุดเรม่ิ ต้นคนพลงั งาน | 30

อย่างไรกต็ าม นอกจากการส่งเสริมพลงั งาน การให้บริการก๊าซธรรมชาติ ผา่ นการขยายสถานบี ริการ
ทดแทน การอนรุ ักษพ์ ลงั งาน การวางแผน ผลิตไฟฟ้าใน NGV เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกให้กบั ผู้ใชบ้ รกิ าร
อนาคตใหก้ ับประเทศไทยตามแผน PDP รวมไปถึงการ โดยผลประโยชน์ที่ได้รับจากการปรับโครงสร้าง
สรา้ งความมน่ั คงด้านพลงั งาน ตามที่กลา่ วมาแลว้ อกี ราคา พลงั งานครง้ั นี้ จะส่งผลท�ำใหร้ าคาพลังงานค่อยๆ
หนึ่งผลงานท่ีน่าจะเป็นสุดยอดมาสเตอร์พีซอีกช้ินของ สะท้อนตน้ ทนุ ท่แี ทจ้ ริง ภาครัฐลดภาระในการดูแล
ดร.ณอคณุ คอื อดุ หนนุ ราคา ท่ที �ำให้เสียระบบ การใช้งบประมาณ และ
การปรับโครงสร้างราคาพลังงานให้สะท้อน จะไดน้ �ำงบประมาณซึ่งแตเ่ ดมิ ใชอ้ ดุ หนุน ราคาพลงั งาน
ตน้ ทนุ ท่ีแทจ้ ริง มาโดยตลอด มาใช้ในการพัฒนาประเทศดา้ นอน่ื ๆ ซ่งึ จะ
งานของกระทรวงพลังงานในชว่ งที่ ดร.ณอคุณ เปน็ ผลประโยชนโ์ ดยรวมใหแ้ ก่คนไทยท่วั ประเทศต่อไป
ทิง้ ท้ายในชว่ งที่ทา่ นเป็นผู้น�ำสงู สุด คือการท�ำใหก้ ระทรวง จากผลงานทง้ั หมดที่ไดก้ ลา่ วมา เป็นเพยี งสว่ น
พลงั งานมีนโยบายที่ ชัดเจนในการปรบั โครงสรา้ งราคา หนึ่งของมาสเตอร์พซี ทจ่ี ะช่วยฉายภาพให้เหน็ วิสยั ทัศน์
พลงั งานใหส้ ะท้อนต้นทนุ ทแ่ี ทจ้ รงิ โดยเฉพาะราคาก๊าซ ของผูบ้ ริหาร ท่ีได้เขา้ มาเปลย่ี นโฉมด้านพลงั งานของไทย
หุงตม้ (LPG) รวมถงึ การเขม้ งวดกวดขนั ไม่ใหม้ กี าร และตอกยำ้� ถึงความสำ� เร็จ ในการทำ� งานในฐานะปลดั
ลกั ลอบสง่ ออก และลักลอบบรรจุผิดประเภท ซ่ึงเป็นการ กระทรวงพลงั งานของ ดร.ณอคณุ
กระท�ำ ทผี ิดกฎหมาย และสร้างความเสยี หายใหก้ ับ ถอื เปน็ มาสเตอร์พซี “ณอคุณ” ทค่ี ุณทุกคนจะ
ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศโดยรวม ตลอดจนการขยาย จดจ�ำ

ดร.ณอคุณ สิทธพิ งศ์ ในงานแถลงข่าวการค้นพบแหลง่ ผลิต “บงกชใต”้ ซงึ่ ถือเป็นแหลง่ ทรพั ยากรก๊าซธรรมชาติแหล่งใหญ่
ทส่ี ดุ แหล่งหนึง่ ของประเทศไทย ซง่ึ ดำ� เนนิ การโดยบริษทั ปตท. ส�ำรวจและผลิตปโิ ตรเลียม จำ� กดั (มหาชน)

จดุ เริม่ ต้นคนพลังงาน | 31

กฬี ากอล์ฟ กจิ กรรมสดุ โปรด และไดีมโี อถา่ ยรปู กบั ไทเกอร์ ว้ดู ส์



กำ� ลงั ใจสำ� คญั



กว่าจะมาถึงจุดสูงสุดในชีวิตข้าราชการประจ�ำอย่าง
ต�ำแหนง่ ปลดั กระทรวง คงไม่ใชเ่ รอ่ื งงา่ ยสำ� หรบั ใครหลายคน ยิ่ง
ไปกว่าการดำ� รงตำ� แหนง่ คอื การเปน็ ปลัดกระทรวงทด่ี ี มผี ลงาน
เปน็ ทปี่ ระจกั ษ์
จนเป็นบุคคลหน่ึงที่อาจเรียกว่าเป็นแบบฉบับให้คนรุ่น
หลงั ได้ คอื ดร.ณอคณุ ผูม้ งุ่ ม่นั ทุ่มเท ทำ� งานเพ่อื พัฒนาประเทศ
โดยเฉพาะในแวดวงพลังงานที่เขาเก่ียวข้อง ต่อเนื่องยาวนานกว่า
40 ปี
และกว่าจะมาถึงวันนไี้ ด้ ตอ้ งมคี รอบครวั และคนใกล้ชิดท่ี
เขา้ ใจคอยเป็นกำ� ลังใจสำ� คญั ให้ท่าน ท่านได้เจอกบั บุญญรศั มิ์
ภรรยาตอนไดท้ ุนไปเรียนตอ่ ต่างประเทศ ท่มี หาวทิ ยาลัยโอเรกอน
เจอกันไม่นานก็แต่งงานกนั
แต่ที่ตลกคอื การแต่งงานที่อเมรกิ านน้ั เน่ืองจากเราไม่ได้
เปน็ ครสิ เตยี น จึงตอ้ งไปแตง่ งานกนั ทศ่ี าล เราสองคนยงั ถือฤกษ์
จากเมอื งไทย ท�ำให้ต้องไปข้ึนศาลในช่วงบา่ ย ของวันทม่ี กี ารสอบ
ตอนสง่ ข้อสอบอาจารยย์ งั บอกวา่ ขอแสดงความยนิ ดีดว้ ย
น่นั คือ เรื่องราวชวี ติ ของ ดร.ณอคณุ สทิ ธพิ งศ์ ในวนั ท่ี
ตดั สนิ ใจจะใชช้ ีวติ คูก่ บั บุญณร์ ศั ม์ิ สทิ ธิพงศ์
ทา่ นทัง้ สองเจอกนั ทต่ี า่ งประเทศ เพราะได้ทุนไปเรียนต่อ
เหมือนกัน แต่คุณบญุ ณร์ ศั ม์ติ อนนน้ั เรยี นหนงั สอื ไปด้วย ทำ� งานไป
ดว้ ยสารพดั เพือ่ หารายได้พิเศษ น่ีคงเป็นเหตุผลที่ทำ� ใหท้ า่ นณอ
คุณถกู ใจ ท่ีคณุ บญุ ญรศั มเ์ิ ป็นผู้หญงิ ท�ำงาน เพราะทา่ นกเ็ ปน็ ผู้ชาย
ท�ำงาน
ชวี ิตคขู่ องทั้งสองคนเริม่ ตน้ ในต่างแดน หากแตป่ ัญหา
ต่างๆ ทแ่ี ตล่ ะคนอาจเผชิญคือ หลังจากทก่ี ลับมาทำ� งานท่ีเมอื ง
ไทย โดยเฉพาะทา่ นซึ่งกลบั มาท�ำงานสำ� คัญอยา่ งเร่อื ง “พลังงาน”
ใหก้ ับประเทศชาติ ตอ้ งยอมรับวา่ เปน็ งานท่ีหนกั และสาหัส
เอาการทีเ่ ดียว ถ้าคู่ชีวติ ไม่เขา้ ใจ ชวี ิตค่กู ค็ งจะไมร่ าบรน่ื เทา่ ไหร่
นกั
และเพราะความเข้าใจน่ีเอง ท�ำใหบ้ ุญณ์รศั มิ์นอกจากจะ
ท�ำหน้าท่อี าจารย์ประจำ� คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ
เชียงใหม่แล้ว ยงั รบั หน้าท่ดี ูแลกิจการโรงเรยี นสริ มิ งั คลานุสรณ์ ที่
จงั หวัดเชียงใหม่ ซงึ่ เปน็ มรดกตกทอดของ ดร.ณอคุณ ดว้ ย เพอ่ื ให้
สามไี ดท้ ำ� งานอย่างเต็มท่ี
และอกี หนง่ึ กำ� ลังใจกม็ าลูกสาวของท่านทง้ั สองคน น่นั คือ
“หนอ่ ย” พนิตพิมพ์ สทิ ธิพงศ์ พ่สี าวคนสวยและ “นกุ ” ณ นุต
สทิ ธพิ งศ์ นอ้ งสาวคนเล็ก

จดุ เร่ิมตน้ คนพลังงาน | 36

“หนอ่ ย” พนิตพมิ พ์ สิทธิพงศ์ นางสาวไทย ลูกสาวทง้ั สองคนว่าต้องเปน็ เหมือนตัวเอง หรอื ต้องเรียน
ประจ�ำปี พ.ศ.2545 ลกู สาวคนโต เปิดเผย ถงึ ความเป็น อะไร
คนเจา้ ระเบยี บของผู้เปน็ พ่อ เธอบอกว่าตอนเด็กๆ ไม่ จึงท�ำให้ลูกสาวท้ังคู่เลือกเส้นทางที่ไกลสุดกู่จาก
อยากใหพ้ อ่ ไปรับ เพราะถา้ สายท่านจะไมร่ อ แตก่ บ็ อก ตัวผู้เปน็ พ่อ โดยคนพเี่ ลอื กเรียน คณะเศรษฐศาสตรท์ ่ี
วา่ นีเ่ หมอื นจะเปน็ วิธที พ่ี ่อฝึกใหล้ ูกๆ มีวินัยไปในตวั จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั กอ่ นจะไปคว้าปริญญาโททาง
ลูกสาวคนสวยเผยอีกวา่ พอ่ เป็นคนท่ีมรี ะเบียบ ด้านเศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลยั บอสตัน มาครอบ
มากกบั การใชช้ ีวติ ตอ่ ให้กลบั บา้ นดึกดื่น แค่ไหนก็ตอ้ ง ครองอกี ใบ ดา้ นนอ้ งสาวคนเลก็ เลอื กเรยี นปริญญาตรี
ตื่นเช้าไปท�ำงานให้ได้ คณะการสือ่ สารมวลชน ม.เชยี งใหม่
ด้านลูกสาวคนเล็กอย่าง “นกุ ” ณ นุต สิทธพิ งศ์ เห็นเป็นอย่างนี้ก็ใช่ว่าครอบครัวสิทธิพงศ์จะไม่มี
กล่าวเก่ยี วกบั เรอ่ื งการเป็นก�ำลงั ใจให้ กับผเู้ ปน็ พ่อวา่ มุมกุ๊กกก๊ิ อบอุ่น เหมือนครอบครัวอนื่ ๆ โดยไม่วา่ จะ
ปกติจะดูแลใหค้ วามใสใ่ จเร่ืองเล็กๆ น้อยๆ ภายในบา้ น เหนอ่ื ยแค่ไหน ใน 1 สัปดาห์ ดร.ณอคุณ จะต้องมารวม
ทำ� ให้คณุ พ่อในส่งิ ทท่ี า่ น ไมม่ เี วลาทำ� เชน่ งานบา้ น หรอื ตวั กนิ ขา้ วกบั ครอบครัว และ หากมีเวลา ครอบครัวนีจ้ ะ
บางครัง้ กเ็ ฝา้ บา้ นให้เวลาท่ีมีช่างมาท�ำงานทีบ่ ้าน ตอ้ งรวมตัวกนั ไปท่องเทีย่ ว ไมใ่ ชแ่ ค่กจิ กรรมใหญ่ๆ ท่ีต้อง
และแม้จะดุ เฉยี บ เน้ยี บ หรือเจา้ ระเบียบแค่ เปน็ ไปตามแผนทนี่ ดั เท่านนั้ มุมอบอนุ่ ท่ใี ครหลายคนอาจ
ไหนกต็ าม สงิ่ หนง่ึ ท่ี ดร.ณอคณุ ไม่เคยเข้าไปก้าวก่ายการ ไมร่ ู้
ตดั สินใจต่างๆ หากตง้ั อยบู่ นหลกั เหตุผลแล้ว ก็พร้อมทจ่ี ะ เป็นเร่ืองราวของคนใกล้ชิดที่มีต่อตัวชายช่ือ
ใหแ้ ตล่ ะคนไดเ้ ดิน ไปบนเส้นทางทช่ี อบ “ณอคณุ สิทธิพงศ์” ต่อเรอ่ื งราวของ “กำ� ลงั ใจ” ที่มีให้
เชน่ เร่อื งการเรียน ดร.ณอคุณ ไมเ่ คยบังคับ กลายเปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ในชีวิต ชว่ ยใหผ้ า่ นช่วงวกิ ฤตไปได้

จุดเร่ิมต้นคนพลงั งาน | 37

“หนอ่ ย“ พนติ พิพม,์ “นุก“ ณ นุต และอาจารย์บุญณร์ ศั ม์ิ สทิ ธพิ งศ์
สามสาวผ้เู ปน็ กำ� ลังใจทสี่ �ำคญั ของทา่ นปลัดณอคุณ



ERDI ทส่ี ร้างสรรค์

กับ

ทา่ นณอคณุ



หลงั จากที่ ดร.ณอคุณ กอ่ ตัง้ สถานจดั การและอนุรักษ์
พลงั งานหรือ EMC จนกระทัง่ รวมตัวกับสถาบันเทคโนโลยกี ๊าซ
ชวี ภาพ และเปลย่ี นช่อื ใหมเ่ ปน็ “สถาบันวิจัยและพัฒนาพลงั งาน
ม.เชยี งใหม”่
สถาบนั วจิ ยั และพัฒนาพลังงานนครพิงค์ (สวพ.)
มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ (Energy Research and Development
Institute - Nakornping, Chiang Mai University) เป็นองค์กร
ในก�ำกับมหาวิทยาลัยที่ด�ำเนินงานสนับสนุนการวิจัยและงาน
บรกิ ารวชิ าการของมหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ไดร้ บั อนมุ ตั ิจากสภา
มหาวิทยาลยั ใหเ้ ปน็ สถาบนั ตามมติการประชมุ ของสภา
มหาวทิ ยาลยั ครง้ั ท่ี 1/2550 โดยมผี ลตั้งแต่ 6 มีนาคม 2550
(ปจั จุบันถือวา่ วนั ที่ 6 มีนาคม เปน็ วันสถาปณาสถาบัน)
ตอ่ มา สถาบนั ฯไดร้ ับพระราชทานชอ่ื ใหม่จาก สมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เปน็ “สถาบนั วิจัย
และพัฒนาพลงั งานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม”่ โดยมเี ปา้
หมายในการพัฒนาองค์การให้เป็นศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางด้าน
พลงั งาน มรี ะบบการบรหิ ารจดั การทีเ่ ปน็ อสิ ระจากระบบราชการ
สามารถพง่ึ พาตนเองได้ เปน็ แหลง่ วจิ ัย ค้นคว้า และให้บรกิ าร
เทคโนโลยีและนวตั กรรมดา้ นพลงั งาน เพอ่ื สร้างประโยชน์ต่อ
ประเทศ โดยมวี ิสยั ทศั นแ์ ละพันธกจิ ดังน้ี
วิสัยทศั น์
“เป็นสถาบันชั้นน�ำด้านพลังงานทดแทนในภูมิภาค
อาเซยี น”
พนั ธกิจ
• ผลติ ผลงานวิจยั และสรา้ งนวัตกรรมดา้ นพลงั งาน
ทดแทน ทตี่ อบสนองความตอ้ งการในภมู ภิ าคอาเซยี น
• ให้บริการวิชาการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมท่ี
ได้มาตรฐานสากล
• พั ฒ น า ร ะ บ บ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ท่ี ดี แ ล ะ มี
ประสทิ ธภิ าพ

จดุ เร่มิ ตน้ คนพลงั งาน | 42

วสิ ัยทัศน์ถูกน�ำมาก�ำหนดเป็นภารกิจหลกั ในการดำ� เนินงานของสถาบนั พรอ้ มทงั้ มีการตรวจสอบภายในและ
ภายนอกองค์กร ทั้งนี้มคี วามมงุ่ มนั่ ท่จี ะท�ำใหอ้ งคก์ รก้าวไปสเู่ ปา้ หมายทตี่ ้ังไว้ในระยะ สนั้ ท่ชี ดั เจนและระยะยาวตามที่
ไดว้ างแผนไว้ และยึดถือหลักการดำ� เนนิ งานตามภารกจิ อยา่ งเครง่ ครดั ภารกิจทส่ี ำ� คัญขององคก์ รประกอบไปดว้ ย
• มุ่งเนน้ การพฒั นา วจิ ัย และสง่ เสริมด้านกา๊ ซชีวภาพ
• สนับสนุนการวิจยั และพัฒนาดา้ นพลงั งานท่มี คี ุณภาพ ทัง้ ดา้ นพลงั งานทดแทน ด้านอนรุ ักษพ์ ลังงาน
หรอื ประสิทธิภาพพลังงาน การจดั หาพลงั งาน รวมถึงด้านอืน่ ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งหรอื เปน็ ผลกระทบจากพลังงาน
• ส่งเสรมิ ใหม้ ีการเชื่อมโยงงานวิจยั ของสถาบันกับการศกึ ษาในทุกระดับท่ี สอดคล้องกบั ทาง
มหาวทิ ยาลัย รวมถึงการเชื่อมโยงงานวจิ ัยกับภาคอตุ สาหกรรมท้งั ระดับท้องถิ่น ระดบั ชาติ จนถงึ ระดบั นานาชาติ
• ให้บริการทางวิชาการดา้ นพลงั งาน และดา้ นที่เกยี่ วขอ้ งหรือเปน็ ผลกระทบจากพลงั งาน รวมถงึ ให้
บรกิ ารแหล่งขอ้ มลู และองคค์ วามรทู้ างด้านพลงั งานในทุกดา้ นทส่ี ามารถ เผยแพรส่ ู่สังคม
• มงุ่ เน้นส่งเสรมิ การพฒั นาบุคลากรของสถาบัน เพื่อใหเ้ ป็นผู้ทีม่ คี วามเช่ียวชาญอย่างแทจ้ รงิ ในด้าน
พลงั งาน

จดุ เริ่มต้นคนพลังงาน | 43


Click to View FlipBook Version