The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sutthisak.t, 2020-07-21 22:11:05

CPRG Seminar Presentation-Handout

CPRG Seminar Presentation-Handout

CPRG Seminar
22nd July 2020

Customer Public Relation Group

“ใหน้ กั เรยี นใหมเ่ รียนคมุ องตอ่ เน่อื งนานข้นึ และสรา้ งความแขง็ แกร่งในการส่ือสารกับผู้ปกครอง”

• จัดทําช่องทางการส่อื สารผ่านทาง SMS และ LINE สาํ หรบั นักเรียนใหมเ่ มอ่ื ปีท่ีแลว้
• เพิ่ม LINE Official Account ในปนี ้ดี ้วย
• จดั ทําแบบสอบถาม และการวจิ ยั จากการสัมภาษณ์กับผ้ปู กครอง ในสัมมนาวันน้ี จะแจง้ ถึงผลของ

แบบสอบถามดงั กลา่ ว โดยหวงั วา่ ขอ้ มูลเหล่าน้ีจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ท่าน Instructor

“ควรสือ่ สารอะไรกบั ผู้ปกครองเมอื่ ใด”
โดยเข้าใจความต้องการของผู้ปกครอง

CPRG Seminar

เนื้อหา • ทําไมนกั เรียนหยดุ เรยี นทันที ทัง้ ๆ ทเ่ี พงิ่ สมัครเรยี นแท้ๆ?
ส่วนท่ี 1 • ถา้ ทาํ XX นกั เรียนจะเรยี นตอ่ เนอื่ งนานข้ึนหรือไม!่ ?

(2019: KIE customer emotion research)

• ศนู ย์กลับมาเปดิ ดําเนินงานแลว้ …แตค่ วรใหก้ ารเรยี นการสอนออนไลน์ เนื้อหา
หลังจากนีอ้ ย่างไร? สว่ นที่ 2

• อยากรู้วา่ ศนู ย์ท่ีผปู้ กครองรู้สกึ ประทบั ใจดําเนนิ งานอยา่ งไรบ้าง..!

แบบสอบถามผปู้ กครองที่จัดทาํ โดยคุมอง (ไทยแลนด์) ในเดือนกรกฎาคม

เนื้อหา วธิ กี ารเพม่ิ ประสิทธิภาพในการสอนออนไลน์
สว่ นที่ 3 ทผ่ี ปู้ กครองพงึ พอใจ!

(การทดลองเปรียบเทยี บทศ่ี นู ย์ COC)

CPRG Seminar (Part 1: KIE customer emotion research)

เนื้อหา
ส่วนท่ี 1

• ทําไมนักเรยี นหยดุ เรียนทันที ท้งั ๆ ท่เี พิ่งสมัครเรยี นแท้ๆ?
• ถ้าทาํ XX นกั เรยี นจะเรียนต่อเนอ่ื งนานขน้ึ หรอื ไม่!?

(2019: KIE customer emotion research)

CPRG Seminar (Part 1: KIE customer emotion research)

Customer Emotion Research ซ่งึ จัดทําขึน้ ท่วั โลกโดยผู้จัดทําหลกั คือ
คมุ อง (ประเทศญป่ี ุ่น) ซึง่ ได้จัดทาํ ข้ึนในประเทศไทยในปี 2019 ด้วย
จากผลลพั ธ์ทไ่ี ด้รบั ทาํ ให้ไดร้ ับความกระจ่างตอ่ คาํ ถามทีว่ ่า
“ทาํ ไมนักเรียนจงึ หยดุ เรยี นทันทภี ายในคร่ึงป”ี

6

The Customer Emotion Survey focus on emotion of “Parents”

13Items + 5 Emotion Indicators + Presence of Impressive Experience

(Response time 10 minutes)

Survey Items related to parent’s emotions Emotions Development of CenterImpression

When l 1. Expectations at enrollment Satisfaction Further pursuit of possibilities
enrolling l 2. Understanding when enrolling
l 3. assumed period of stay at enrollment Intention Presence of impressive experience
After to
enrolling l 4. Appropriateness of daily notifications
l 5. Regarding instructors and centers continue
Sense of l 6. Center‘s environment or atmosphere
accomplishment l 7. Center assistants Intention
l 8. Growth in academics to
Services l 9. Changes in attitude toward learning
provided by l 10. Mental growth introduce
Headquarters l 11. Achievement beyond expectation
l 12. Understanding of Kumon method Useful for
future
l 13. Headquarters’ services
Existence
value

CPRG Seminar (Part 1: KIE customer emotion research)

ไม่ว่าจะลาํ บากเพยี งใด หากได้รับ
“ประสทิ ธิผล” ทีเ่ หมาะสมหรือมากกว่าท่ลี งแรงไป

เราคงจะใช้บริการต่อไป

ปัญหาคือความสมดุลระหวา่ ง

“ความลําบาก”
“ประสิทธิผลท่ไี ด้รับ”

CPRG Seminar (Part 1: KIE customer emotion research)

“ความลาํ บาก” นา่ จะได้แก่ “ประสทิ ธิผล” นา่ จะเปน็ การอ่านออกเขียนได้
การบ้าน การไปรบั ไปสง่ และค่าใชจ้ ่าย ความเร็ว ความถูกต้อง สมาธิท่ีเพม่ิ ขึน้ เปน็ ตน้

เป็นท่ีนา่ เสยี ดายที่
“ประสทิ ธิผล” ทไ่ี ด้รับ

น้อยกวา่
“ความลําบาก”

จากแบบสอบถาม เราพบว่ามี “ลักษณะเฉพาะ” ของสมดลุ ระหว่าง
“ประสทิ ธผิ ล” กับ “ความลําบาก” ในแตล่ ะช่วงเวลาเรียน

CPRG Seminar (Part 1: KIE customer emotion research)

กอ่ น สาํ หรบั คาํ ถามเกยี่ วกับการดูแลของศนู ยก์ ่อนสมคั รเรียน
สมคั รเรยี น เป็นทีน่ ่าดใี จว่าท่ัวโลกไดร้ บั การประเมินในระดับท่สี ูง
อย่างย่งิ ว่าใหก้ ารดแู ลเปน็ อย่างดี และการอธิบายถงึ

ระบบคมุ องก็เขา้ ใจง่าย

CPRG Seminar (Part 1: KIE customer emotion research)

กอ่ น “กลุ่มทเี่ รยี นตอ่ เนื่องในระยะยาว”
สมัครเรยี น (ให้การประเมนิ สงู )

ใหก้ ารประเมนิ ในหวั ขอ้ “กลุ่มทลี่ าออกอย่างรวดเร็ว”
“ระบบการเรียนคุมองตรงกับ (ให้การประเมนิ ตา่ํ )

ความต้องการของฉนั ”
“ผปู้ กครองมภี าพชดั เจนว่าคุมอง

พัฒนาบุตรหลานได้จริง”

การให้ผปู้ กครองมีภาพของ “ประสิทธิผลทางการเรียน” อย่างเปน็ รูปธรรม
ซึง่ ตรงกบั ความต้องการของพวกเขาเปน็ ส่ิงสาํ คัญอยา่ งย่ิง

Explanation before enrollment

* Responses are rated on a 5-grade scale / Rate of positive evaluations (Grade 5 and 4) are indicated.

100.0%

95.0%

90.0%

85.0%

80.0% 01_0-20.99%
03_71-100%
75.0%

70.0%

(1) Before I enrolled (2) I received (3) The instructor's (4) The instructor (5) After receiving (6) When my child (7) When my child
my child, I didn't immediate explanation (before understand my explanation about started Kumon, it started Kumon,
have difficulty response to my
enrollment) was concerns and/or Kumon, I felt that was easy for me to nothing about
finding information inquiry .
for Kumon clear and easy to requests. Kumon suited my picture how the Kumon concerned

(including nearby unde rsta nd. needs. program woul d and/or worried me.
Kumon Centers).
help my child
develop.

— Compared to parents at a Center with a high withdrawal rate at less than 6 months, parents at Centers with a low rate were
more likely to give a high positive evaluation for "5. After receiving explanation about Kumon, I felt that Kumon suited my
needs" and "6. When my child started Kumon, it was easy for me to picture how the program would help my child develop.“

Ø This trend was the same when comparing current and discontinued parents. During explanations before enrollment, it is
important to explain the Kumon Method and create a specific image of their child's growth to meet the parent's requirements.

— In the surveys of other overseas Centers, the positive evaluations for details following item 4 tend to drop. However, in the Thai
Centers with a low withdrawal rate at less than 6 months, the high rate of positive evaluations is maintained except for item 7.

CPRG Seminar (Part 1: KIE customer emotion research)

กอ่ น “ทําไมถงึ อยากให้
สมคั รเรยี น บุตรหลานเรยี นคุมอง

เหรอคะ” “(ผู้ปกครองตอบ)
………………..”

“ถา้ อยา่ งนนั้ คุมองก็เหมาะ การเชิญนกั เรยี นรุ่นพี่หรอื ผปู้ กครองของ
กับบุตรหลานของทา่ นพอดี นกั เรยี นดังกล่าวมาใน PO ก็เป็นวิธีทีศ่ นู ย์
ซงึ่ มอี ตั ราการเรยี นต่อเนอื่ งสงู ใช้กันมาก
เลย!! เพราะวา่ …” ซ่งึ ตรงกับความตอ้ งการของผปู้ กครองอย่าง
มากในด้านการทําใหม้ ภี าพพฒั นาการอยา่ ง
เล่าถึงลักษณะเดน่ ของระบบคมุ องทตี่ รงกบั ความตอ้ งการของผ้ปู กครองและ ชดั เจนและเป็นรูปธรรม
แจง้ วา่ จะทาํ ใหค้ วามต้องการของผปู้ กครองท่านน้ันเปน็ จริงเมื่อใด

Characteristics of parents(Expectations at enrollment)

KAO/タイ KCN/⾹港 KEA/UK KIE/⽇本 KNA/メキシコ KSA/ブラジルLIL/エルアイエル 総計/total

1.Basic academic skills 62.5% 78.9% 61.5% 78.6% 58.1% 25.8% 95.1% 55.7%

2.Learning habits 44.6% 63.6% 65.2% 73.8% 69.0% 71.2% 14.6% 65.6%

3.Self-management skills (organization skills) and tim7e9m.0a%nagemen5t6.7% 60.8% 24.1% 58.5% 53.8% 6.5% 46.1%

4.Concentration 70.6% 52.9% 75.0% 48.7% 76.7% 79.2% 41.9% 65.4%

5.Improved grades in school 63.2% 50.2% 68.5% 32.3% 48.6% 39.1% 4.0% 40.4%

6.Learn to like studying 44.2% 30.6% 40.6% 23.4% 36.9% 46.2% 2.3% 35.3%

7.Confidence 45.5% 36.0% 69.4% 43.7% 59.2% 55.6% 40.5% 49.7%

8.Ability to think independently 59.2% 40.1% 51.2% 34.2% 55.4% 56.5% 4.6% 46.4%

9.Perseverance (persistence, etc.) 51.7% 46.4% 49.0% 31.1% 49.8% 42.0% 13.4% 39.5%

10.Ability to take on new and unfamiliar tasks 33.2% 23.1% 44.2% 9.2% 46.1% 43.0% 3.4% 28.8%

11.Others (     ) 2.3% 0.8% 4.2% 2.1% 3.6% 4.6% 3.4% 3.2%

* ★ indicates items related to Academic skills, ★ indicates items related to study/learning habits and mental growth

Difference by subject

01. 数学/ math only 02. 英語/ EFLonly 03. 国語/Readingonly 04. 併習/ Acquisition of multiple subjects 総計/total

1.Basic academic skills 61.1% 56.3% 53.8% 66.5% 62.5%

2.Learning habits 42.8% 47.0% 40.0% 46.3% 44.6%

3.Self-management skills (organization skills) and time man7a8g.9e%ment 70.4% 70.0% 82.3% 79.0%

4.Concentration 73.2% 61.1% 60.0% 71.5% 70.6%

5.Improved grades in school 61.3% 60.3% 65.0% 65.7% 63.2%

6.Learn to like studying 39.7% 48.6% 47.5% 47.2% 44.2%

7.Confidence 42.6% 48.6% 45.0% 47.5% 45.5%

8.Ability to think independently 60.2% 48.6% 50.0% 62.0% 59.2%

9.Perseverance (persistence, etc.) 51.7% 46.6% 51.3% 53.1% 51.7%

10.Ability to take on new and unfamiliar tasks 32.0% 32.0% 30.0% 35.1% 33.2%

11.Others (     ) 1.3% 2.8% 3.8% 3.1% 2.3%

— In Thailand, many parents, accounting for 70% or more, have expectations for study/learning habits and mental growth such as "3. Self-management
skills (organization skills) and time management" and "4. Concentration."

— At the same time, more than 60% of parents selected academic skills aspects such as "1. Basic academic skills" and "5. Improved grades in school."
— In particular, "5. Improved grades in school" was selected at a higher rate compared to Centers in other regions. Thus, it appears that parents in

Thailand place priority on their child's mental growth as well as growth in academic skills.
— Regarding differences in parents' expectations by subject, a significant difference was not seen in the results of this survey.

CPRG Seminar (Part 1: KIE customer emotion research)

ก่อน “ผปู้ กครองมีความคาดหวังอย่างไรกอ่ นจะสมคั รเรยี นคมุ อง”
สมัครเรียน ขอ้ มูลจากทัว่ โลกแสดงใหเ้ ห็นว่า ผปู้ กครองทกุ ประเทศมี
เปา้ หมายอันดับแรกคือ

“พัฒนาการทางด้านความสามารถทางวชิ าการ”

สว่ นทป่ี ระเทศไทยเราพบว่า ความคาดหวงั ในพัฒนาการ
ด้านจิตใจ (เชน่ นิสยั และสมาธิ) ก็สงู ดว้ ยในเวลาเดยี วกนั

70.0% Recommendations by parents
60.0%
50.0% Difference by length of enrollment
40.0%
30.0% 01. 半年未満/ < 6months
20.0% 02. 1年未満/ < 1year
10.0% 03. 2年未満/ < 2years
04. 3年未満/ < 3years
0.0% 05. 3年以上/ >=3years
総計/total
(4)((((8(((1)M23()171)y1)5)(42)M))C(1(M(KMyh3M9i1yuy1)Ml)(MCMy16yyyC)1Cdm)hiCiM5lhMohC(ibCi()lnhyyliM1dnhMehlis7ydil)ydc9CtClbdM)raddmhChddi'yeC(iIiulelsMceiihe(h6tmcimviu)yvaddltnl1cehmspsedoec0dlCorlboptmur)MhnorrmcohoeeadihylclachovuaplpolaMlrehacacvenydemsetysaeenehddtdiobmoatdslndrCgrrhpehesihgoeuidhhiaoc'eehithnsneslitrlnsa’aocikf/i/oassrttdid//soochlqhdh(tmtbiisinniuheutesaee1aktyrs/rnrliieeefe8mscrglukh)imltnooameicmresnsrtcoceaOoeieho/ackurutmartbuaaarmpsscrnhtydehserotnwaeiioeiniioeealcrauitnphrfcontosnolrnmahwmsumt/ngiegdnogppKn(eghafvhcrrmrlhraieiucieesacoosaamrdmsasrt/mnkmtsivvibroodiekiiiieileheroenvrtelclntlnlendeystgfneessdsg.s.........).r...t………

— For recommendations by parents, a significant difference in trends was not seen by length of enrollment. However, "(1) Basic academic skills"
was selected most by parents in almost all length of enrollment levels, excluding parents in the less than 6 months level. (50% or more)

— Other items selected by many parents include, "(3) My child developed self/time management skills," "(5) My child's concentration/focus
improved." (approx. 40%), "(10) My child is more confident," "(11) My child can think by himself/herself," and "(12) My child improved his/her
school grades" (approx. 30%).

Ø Since items 3, 5, 11, and 12 match the items which were high for expectations at enrollment, we believe that an outcome somewhat matching
expectations was achieved, and parents wanted to recommend Kumon to others. This is a positive result.

— Regarding differences in recommendations by parents by progress, a significant difference was not seen in the results of this survey.

CPRG Seminar (Part 1: KIE customer emotion research)

ก่อน “ส่งิ ทรี่ ู้สึกว่าไมพ่ งึ พอใจหรอื ไม่เพยี งพอคืออะไร”
สมัครเรียน คาํ ตอบแทบจะทัง้ หมดตอบว่า “ความสามารถทางวิชาการ”

ถึงแมผ้ ู้ปกครองจะมคี วามคาดหวังในพัฒนาการทางด้านจติ ใจ แต่
พวกเขาก็ไมไ่ ดเ้ กดิ ความรสู้ กึ ไม่พึงพอใจมากขนาดนนั้ ถงึ แม้ความ
คาดหวังดงั กล่าวจะไม่เป็นจรงิ ก็ตาม

แต่พวกเขาจะไมพ่ งึ พอใจเป็นอยา่ งมาก หากไม่เกิดพฒั นาการในดา้ น
ความสามารถเชงิ วิชาการตามทคี่ าดหวงั ไว้

CPRG Seminar (Part 1: KIE customer emotion research)

หลงั สมคั ร “ทงั้ ๆ ท่ีสมคั รเรียนแลว้
เรียน – ครงึ่ ปี ทําไมจงึ หยดุ เรียนภายในเวลาไม่นาน” ?

Current412.8.792WM..11hy..51W.e.Wc3hWWI.nhheihhWelaW.neemhndhInynmeIWceItnsscfohtnfhaheeaiIlteemlmirtlnrfytstpdtI1lefeei6tlchfeb0td.hehtaweeit.ltdteleEagIthlhdsdcaicawemitontnamboatynhkeyrtsucihcloeganhchnitlhdayeiahgimnalhinniil'nngsdeactnrtdggrbsrlpesetlwjedoeheeiriaaseueavenudscnuts/etlclsiaototnndishnmnnuoooo.ryfterdytgs…………………………Reasons for considering withdrawing

30.0% Difference by length of enrollment
20.0%
10.0% 01. 半年未満/ < 6months
02. 1年未満/ < 1year
0.0% 03. 2年未満/ < 2years
04. 3年未満/ < 3years
Discontinued 05. 3年以上/ >=3years

40.0% — As reasons for considering withdrawing, "6. I couldn't see any
30.0% changes/improvements in my child." was selected most often
20.0% in both the less than 6 months and less than 1 year levels.
10.0% (The same trend was seen when withdrawing.)

0.0% — In the less than 3 years level, "5. When my child began
rejecting homework, or when providing support for homework
became a burden for me." was the highest reason.

*Reference
— Among the discontinued parents, "5. When my child began

rejecting homework, or when providing support for homework
became a burden for me." was not necessarily the highest
reason. However, item 6 was the highest reason for the less
than 6 months level, and in the less than 1 year level, item 6
and "4. When my child began saying he/she did not want to go
to Kumon.", and "9. When there was a change in our home
environment." were the top reasons for considering
withdrawing.
Ø It appears that whether the parents can see the "child's
growth" is a key point among parents with an enrollment period
of less than 1 year.
IWMWWyhhhwWWeeceahhnsnnWhWieeIEIlIIhsWhcnnfcdfaseheoteteoincnellnmmaustItonIryyfloifttftdccmeemmehenhlihhlp'ydediitlecttlllrctettrddswteehhihiehieaetlabbaanrewtdheesdtknatitggtaiodsihaanhnhnmnenngsadeegyy……………………………

CPRG Seminar (Part 1: KIE customer emotion research)

หลังสมคั ร “ท้ังๆ ท่สี มคั รเรียนแล้ว ทําไมจึงหยดุ เรยี นภายในเวลาไม่นาน” ?
เรยี น – ครง่ึ ปี
สาเหตุอนั ดับ 1 ก็คอื ความไม่พอใจใน “ประสิทธิผลทางการเรยี น” จงึ หยุดเรียน
หรือเคยพจิ ารณาวา่ จะหยุดเรียน
แทนทจ่ี ะกังวลว่าผูป้ กครองจะรสู้ ึกวา่ “ไดร้ บั ประสทิ ธผิ ลทางการเรยี นอยบู่ า้ ง แต่
ลําบากจึงจะใหล้ กู หยุดเรียน”
เราตอ้ งระวงั ไม่ให้ผู้ปกครองรสู้ กึ ว่า “ไมล่ าํ บากเท่าไหร่ แตถ่ ้าไม่ไดร้ ับประสทิ ธผิ ล
ทางการเรยี น กไ็ มม่ เี หตผุ ลท่ีจะมาเรยี นคุมอง”

การสื่อสารใหผ้ ้ปู กครองทราบถงึ พฒั นาการของบตุ รหลานจึงเปน็ ส่งิ สําคัญ

CPRG Seminar (Part 1: KIE customer emotion research)

หลงั สมัคร “ทาํ ให้การเรียนในช่วงเร3ิมแรก (ช่วง 8-:เดอื นแรก) เหน็ ประสทิ ธิผลทางการเรียน
เรยี น – ครึง่ ปี อย่างชัดเจน และพยายามถ่ายทอดให้ผู้ปกครองและนักเรียนทราบในเชงิ รุก”

มีเรอ่ื งลําบากเก่ยี วกับ “สะดวกมาคุยกับคุณครูในวันเสาร์ หน้ า
การเรียนไหมคะ? มัย7 คะ?”
ถา้ มีอะไรกส็ ามารถ
“คุณแม่คะ ตอนนีน7 ้องสามารถทาํ เรDืองนี7
ปรกึ ษาได้ทกุ เม่ือนะคะ ได้แล้ว ต่อไปเราจะเน้นในการพฒั นา

ไม่เพยี งพอ ความสามารถนีก7 ันนะคะ”
“แม้จะเป็ นเรDืองบวก L เหมือนกับชุด
ก่อนหน้า แต่น้องเรDิมทาํ โจทย์ทDตี วั ตงั7 มี
จาํ นวนมากและทาํ โจทย์ทDมี ีการทดได้

อย่างคล่องแคล่วแล้วค่ะ”

CPRG Seminar (Part 1: KIE customer emotion research)

หลังสมัคร First 3 Month Communication Sheet
เรียน – ครึ่งปี
ทีไ่ ดแ้ นะนาํ ให้ Instructor ทุกทา่ นไปเมื่อต้นปี ก็
เปน็ อุปกรณ์ที่สร้างขึ้นจากผลการสํารวจน้ี

เป้าหมายของอปุ กรณ์น้ี คือการแบ่งพฒั นาการของ
นกั เรียนออกเป็นลาํ ดับข้ันอยา่ งละเอยี ด
เพอื่ ใหผ้ ปู้ กครองของนกั เรยี นทเี่ พง่ิ เรมิ่ เรียนคุมองได้
1-2 เดอื น กส็ ามารถร้สู ึกถงึ พัฒนาการของบุตร
หลานได้ง่ายข้ึน

CPRG Seminar (Part 1: KIE customer emotion research)

หลงั สมัคร มุมมองในการปอ้ งกันกเ็ ปน็ ส่ิงสาํ คญั เช่นกัน ขอให้ Instructor ทกุ ทา่ นเป็นนักพยากรณ์
เรียน – คร่ึงปี
ในขน้ั ตอนการ PO หรอื การ PM หลงั สมคั รเรยี น 1 เดือน การเรียนอาจยังราบร่ืน แตเ่ ม่อื ผ่านไปประมาณ 3
เดอื นถงึ ครง่ึ ปี นักเรยี นอาจจะเร่มิ ไม่อยากทําคมุ อง ซึ่งระยะเวลาดงั กลา่ วเป็นระยะเวลาท่ีนกั เรยี นจะเรมิ่ เข้า
ใกล้เนอื้ หาท่ที นั ชั้นเรียนหรือเข้าสเู่ นือ้ หาที่ทนั ช้นั เรียนน่นั เอง นีเ่ ป็นกาํ แพงดา่ นแรกท่ีนกั เรียนจะได้เจอในการ
เรยี นคมุ อง ในเวลาเชน่ นี้ เราอยากให้ผปู้ กครองกลา่ วชมนกั เรียนว่า

“มาถึงกาํ แพงด่านแรกแล้วนะ! ถ้าก้าวข้ามไปได้จะถือวา่ เราไดเ้ ตบิ โตขนึ้ เยอะเลย”

เมอ่ื นกั เรียนเริ่มรูส้ ึกไมอ่ ยากทาํ การบา้ นคมุ อง ระหว่างผู้ปกครองที่คิดวา่
1. ลาํ บากจัง อยากใหล้ กู หยุดเรยี น
2. นี่คือส่งิ ทคี่ ุณครูเคยพดู ไวน้ ี่ ในทส่ี ดุ ก็เกดิ ขนึ้ กับลกู ของเราแล้ว...
ความคิดของผู้ปกครอง ระหว่างขอ้ 1 และ 2 จะส่งผลใหผ้ ู้ปกครองปฏิบตั ิต่อลูกต่างกนั โดยสนิ้ เชิง

3) Emoti2o3 ns of parents withdrawing within six months
(What would have made you think about continuing?)

1. Option to make adjustments in my child's learning 【KIE/Japan】 【KAO/Thailand】
progress
2. System to help manage homework 1 23.9% 1 42.4%
3. System to help encourage students 2 21.1%
4. Opportunity to communicate and consult with other 3 12.7% 2 23.7%
parents 4 0.0%
5. Help/Support from the head office. 5 5.6% 3 47.5%
6. Approach from the instructor 6 4 5.1%
7 5.6%
5 5.1%

15.5% 6 16.9%

7 1.7%

7. Opportunity for my child to interact and communicate 8 16.9% 8 15.3%
with other Kumon students 9
7.0% 9 10.2%

8. There were more class day options per week. 10 31.0% 10 11.9%

9. There were more class hour options per week. < 6months_Discontinued(n=71) < 6months_Discontinued(59)

10. Others ( )

【KCN/HK】 【KNA/Mexico】 【KSA/Brazil】

1 44.4% 1 23.5% 1 29.2%
2 33.3% 2 17.6% 2 19.8%
3 33.3% 3 41.2% 3
4 8.3% 4 5.9% 4 31.7%
5 2.8% 5 5.9% 5 4.1%
6 19.4% 6 11.8% 6 4.9%
7 5.6%
8 19.4% 7 0.0% 7 12.8%
9 19.4% 12.8%
10 2.8% 8 0.0% 8
9 0.0% 9 16.5%
< 6months_Discontinued(n=36) 10 10 13.2%

< 6months_Discontinued(n=12) 49.0%
< 6months_Discontinued(n=243)

Q21 どのような対応・サービスがあれば、公⽂を続けられたと思われますか。(いくつでも○)
Which of these options would have convinced you to not withdraw your child from Kumon?(Please select ALL that apply)

CPRG Seminar (Part 1: KIE customer emotion research)

คําตอบของผู้ท่หี ยุดเรยี นหลงั จากสมัครเรยี นได้ไม่นาน ในคําถามว่า
“หากมสี ่ิงใด จงึ จะเรียนคมุ องต่อ?”

(เกินกว่า 40%) (เกนิ กวา่ 40%) (17%)
หากได้ปรึกษา
หากศนู ยม์ ีการ หากมีการให้ กบั Instructor
ปรับความก้าวหนา้ กําลังใจทีด่ ี ก็จะเรียนตอ่
กจ็ ะเรยี นตอ่
ก็จะเรียนต่อ

กลา่ วคือ แม้ผ้ปู กครองจะตอ้ งการความชว่ ยเหลอื แตก่ จ็ ะไมป่ รึกษา Instructor นน่ั เอง

CPRG Seminar (Part 1: KIE customer emotion research)

ดังนัน้ Instructor จึงตอ้ งเชญิ ชวนผูป้ กครองในการเขา้ รว่ ม PM “ในเชงิ รกุ ”
หากเปน็ ฝา่ ยรอต้งั รับวา่ “หากผู้ปกครองต้องการจะพดู คุยกับคุณครู ก็
สามารถขอคุยกบั คณุ ครูได้คะ่ ” อาจทําให้ตอ้ งเสยี นักเรียนคนที่เราสามารถ
ปอ้ งกันการหยุดเรยี นได้
ดังนัน้ ขอให้ Instructor เปน็ ฝ่ายชักชวนผปู้ กครองใหเ้ ข้าร่วม PM เพ่ือ
พดู คยุ สอบถามเกยี่ วกบั “ประสิทธผิ ลทางการเรียน” และช่วยลด “ความ
ลาํ บาก” ต้ังแต่เน่นิ ๆ

การทาํ เชน่ นก้ี ็คือ Official PM น่นั เอง



OPM in July and August

Online OPM

OPM in July and August

OPM: ท'านอยากให/ผูป/ กครองรสู/ ึกอยา' งไรหลงั จากประชุมจบ?

1. การให้ feedback

• การสะท้อนในสง่ิ ดีๆ ท่ผี ปู้ กครองให้ความร่วมมอื ดูแลบุตรหลาน ให้มีกําลังใจมากข้นึ

2. การเปน็ ผู้ฟงั ท่ีดี

• สบตา ตัง้ ใจฟัง แสดงถึงความใสใ่ จ ให้เกยี รติ และพร้อมให้ความความชว่ ยเหลือ

3. ใหค้ วามมั่นใจ

• ผา่ นส่ิงท่ีนักเรยี นทาํ ได้ดีขึ้น และความสามารถทจ่ี ะไดร้ ับการพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

First 3 month PM

CPRG Seminar (Part 1: KIE customer emotion research)

จดุ ทีค่ วรสงั เกตในการทํา PM ทค่ี ุณทาคาฮิระแนะนํา! หากนักเรียนมีสภาวะเช่นนค้ี วรจัด PM ทนั ที

Ø มีวนั ที่ไมท่ าํ การบ้านมาเพ่ิมขน้ึ แมจ้ ะทํามาแตท่ ําไมค่ รบทง้ั ชุด
Ø ลายมือเรมิ่ จะไมเ่ รยี บรอ้ ย
Ø ไม่เขยี นวันท่แี ละเวลา

*นักเรียนทม่ี สี ภาพเหล่านมี้ คี วามเป็นไปไดส้ ูงว่าผูป้ กครองจะไม่ไดด้ แู ลการทํา
การบ้านของนักเรยี น

Ø มาศนู ย์ชา้ ลง หยดุ เรยี นมากขน้ึ
Ø ไมม่ สี มาธิ ถามเยอะขึน้

CPRG Seminar (Part 1: KIE customer emotion research)

เรายงั มเี ทคนคิ อนื่ ๆ มาแนะนํา

1. ในประเทศไทย มผี ปู้ กครองท่ยี กสง่ิ เหลา่ นมี้ าเป็นเหตผุ ลจาํ นวนมาก เช่น เวลาเปดิ ศนู ย์ สถานท่ีตงั้ การ
รบั สง่ บตุ รหลาน และเรอื่ งการบ้าน

2. การทําการบ้านของนกั เรยี น มผี ู้ท่ีตอบว่า บุตรหลานทําการบา้ นครง้ั ละ 10 นาทีมากทส่ี ดุ และเป็นกล่มุ ที่มี
ระดบั ความพงึ พอใจสงู สุด กลมุ่ ท่ีมจี ํานวนมากเปน็ อนั ดบั สองคือ บตุ รหลานทําการบ้านครง้ั ละ 30 นาที
แตใ่ นกลมุ่ น้ีโดยเฉพาะนกั เรยี นท่ยี งั สมคั รเรยี นไดไ้ มถ่ งึ 1 ปี มีหลายกรณีที่ระดบั ความพงึ พอใจต่ําอย่างเหน็
ได้ชัด ดังนั้นแม้จะรสู้ ึกวา่ นักเรียนทําการบา้ นได้ด้วยตนเอง แต่ก็ควรตรวจสอบว่า ผปู้ กครองเขา้ มาดแู ล
บตุ รหลานทาํ การบา้ นเพียงใด (ขอให้ลองพจิ ารณาปรับความก้าวหน้าในกรณที ผ่ี ้ปู กครองตอบวา่ ใช้เวลา
30 นาทีขึน้ ไป)

(ปจั จุบันมีการจดั ทาํ แบบสอบถามออนไลนก์ ันอย่างแพร่หลาย
ท่านอาจลองสอบถามความเห็นของผปู้ กครองผา่ นการทาํ แบบสอบถามของศูนย)์

CPRG Seminar (Part 1: KIE customer emotion research)

เรายังมีเทคนคิ อ่ืนๆ มาแนะนํา

3. จาํ นวนครั้งทผี่ ปู้ กครองตอ้ งการพบคุณครูจะยิง่ มากเมอื่ เปน็ นักเรียนท่เี พิง่ สมัครเรยี นใหม่และอายุน้อย
ประมาณ 23% ของผู้ปกครองเด็กเล็กที่เพิง่ สมคั รเรียน ตอบว่า

ตอ้ งการจะคยุ กับคุณครแู ทบทกุ วันที่มกี ารเรียน แตแ่ ม้จะคุยกับผู้ปกครองบอ่ ย หากเนอ้ื หาไม่ละเอยี ด

และไม่ชดั เจนก็ไมม่ คี วามหมาย

ดงั นน้ั ในการเพิ่มจํานวนครงั้ ในการส่ือสาร ขอใหท้ า่ นให้ความสําคญั กบั การสอ่ื สาร “พัฒนาการ”
ของนกั เรยี นอยา่ งละเอียดชดั เจน

(ปัจจุบนั มีการจดั ทาํ แบบสอบถามออนไลน์กันอย่างแพร่หลาย
ท่านอาจลองสอบถามความเห็นของผปู้ กครองผา่ นการทาํ แบบสอบถามของศนู ย์)

Frequency of Knowing about Child’s Studies

Many members enrolled for less than six months answered, “Once a month.” This trend does not change
for current members enrolled for less than 2 years at any Center. However, a higher rate of parents

enrolled for less than six months selected “Once a month.”

0.0% 10.0% 20.0% 30.0% 40.0% 50.0% 60.0% 70.0% 80.0% 90.0% 100.0%

KIE/Japan 8.7% 53.2% 26.5% 10.5% 0.5%

KAO/Thailand 22.7% 60.7% 66.3% 0.2%
69.7% 8.8% 2.0%

KCN/HK 40.6% 48.9% 0.6%
7.8% 2.2%

KEA/UK 14.8% 20.7% 0.7%
17.5% 3.0%

KNA/Mexico 5.6% 6.4% 0.8%

KSA/Brazil 10.4% 62.1% 20.5% 6.1% 0.9%

LIL 7.6% 43.1% 26.4% 20.8% 1.4%

1.At each class 2.Once a month 3.Four times a year (once every three months) 4.Every six months 5.Annually

*Please reference page 76 for the responses
of all respondents of Participating RHQ.
Q9 お⼦さまの学習情報について、どのくらいの頻度で知ることができるとよいと思われますか︖(1つに○)
How often would you like to hear about your child's studies? (You may only choose one answer )

การดูแลนกั เรยี นใหเหมาะสมกบั แตละชวงหลังจากสมคั รเรยี น

ระยะเวลาทเ่ี รียน ความกาวหนา หนาตา สภาพของ ประสทิ ธผิ ลทางการเรียน ภาระของผปู กครอง การดแู ล
ผปู กครองและนักเรยี น (เกยี่ วกับการทำการบานเปนหลกั )

กอนสมคั รเรียน - คดิ วาคมุ องนาจะชวยสอนเรื่อง หากผูปกครองมีความคาดหวังดังน้ไี ด เขาใจคำอธิบายของระบบคุมองทวั่ ไปได การส่อื สารเพือ่ ใหผูปกครองมภี าพทีช่ ัดเจนถงึ พัฒนาการดาน
การเรียนได แตยงั ไมมีภาพวาจะ จะเปนเรื่องดี และเขาใจความลำบากไดในระดบั หน่งึ ความสามารถทางวชิ าการเปนสงิ่ สำคัญเพม่ิ เตมิ จากพฒั นาการดานจติ ใจ
พฒั นาทักษะอะไรให (ลกู ของตน) เปนส่ิงสำคญั ขอใหแจงผูปกครองวาจะตอบสนองความตองการของ
และจะพฒั นาไดเมื่อไหร (เหมาะกับลูกของฉนั เลย ) ผปู กครองไดอยางไรและเม่อื ใด

(มภี าพวาลูกของตนเองสามารถเรยี นได
เกงขนึ้ )

ตำ่ กวา 6 เดือน ตำ่ กวาช้นั เรียน อยใู นสภาพทก่ี ำลังประเมนิ วาการเรยี น มีความคาดหวงั สูงถงึ พัฒนาการ กังวลเร่อื งความลำบากเลก็ นอย Instructor สรางประสิทธผิ ลทางการเรยี นในชวงเริ่มแรก
ในระบบคมุ องสรางประสทิ ธิผลทาง ท้งั ดานความสามารถทางวชิ าการ แตยังอยูในขอบเขตที่คาดการณไว (ชวง 1-3 เดือนแรก) ใหเห็นผลอยางชดั เจน และถายทอดให
การเรียนจริงหรือไม และดานจติ ใจ โดยเฉพาะอยางย่งิ ใหความสำคญั กับประสทิ ธผิ ลทางการเรียน ผูปกครองและนกั เรยี นทราบบอยๆ
ผานการลองเรียนดูและกำลงั ตรวจสอบ หากไมเหน็ พัฒนาการดานความสามารถ เน้ือหางาย ภาระในการทำการบานจงึ นอย
ประสทิ ธผิ ลทางการเรยี น ทางวชิ าการ จะตดั สินใจเลิกเรียนทนั ที (ใชอปุ กรณ เชน 3 Month communication sheet)
ในบรรดานัน้ มกี ลมุ ทคี่ าดหวงั ถงึ
สงสยั หรือคาดหวงั ประสทิ ธิผลทางการเรยี น ซงึ่ ทราบจาก
ถึงผลการเรียนทด่ี ี PO และการบอกตอ นักเรยี นในกลุม
ทกี่ ลาวมานม้ี ีเปอรเซน็ ตท่จี ะเรยี น
คุมองตอเนอื่ งในระยะยาว

6 เดือน - 1 ป เกือบทันชน้ั เรยี น กลุมท่มี ีความพงึ พอใจตำ่ ที่สุด เห็นดวยกับระบบการเรยี นแบบคุมอง ท้ังทีไ่ มเห็นประสิทธผิ ลทางการเรียน - การบอกลวงหนาเปนสิง่ สำคัญ หากแจงผูปกครองและนกั เรียนใหทราบ
ในบรรดากลมุ ทเ่ี รียนคุมองตอเนอ่ื ง ในระดับหนึ่งและยงั คงมคี วามคาดหวงั แตเมื่อเรมิ่ ทนั ชน้ั เรียนก็เรม่ิ รูสึกวาการบาน ไวลวงหนาต้งั แตชวงประมาณ 1-3 เดือนแรกหลงั สมัครเรียนวา ในชวง
อยางตอเนอ่ื ง แตยงั ไมสมั ผสั ถงึ ประสทิ ธผิ ล เปนภาระมากข้ึน และรสู ึกไมพอใจในการทำ เรม่ิ เรียนไปไดประมาณคร่งึ ปอาจเปนชวงทย่ี ากลำบาก จะชวยใหผู
(โดยเฉพาะความสามารถทางวชิ าการ) เน้ือหาเดมิ ซ้ำๆ ปกครองและนักเรียนคดิ ในแงบวกวาเปนการทาทายไมใชภาระไดงายขน้ึ
ทีช่ ัดเจน - สอบถามถึงความกงั วลเกี่ยวกบั "ความลำบาก" เพื่อใหกาวขามชวง
เวลาทีย่ ากทส่ี ุดไปได พรอมกับแจงใหนักเรียนและผปู กครองทราบถงึ
แผนการเรยี นวาจะเกนิ ชั้นเรียนเม่อื ใด รวมทั้ง สอบถามถงึ ระยะเวลา
ทใ่ี ชในการทำการบานและความไมพอใจในการทำซำ้

- แมนักเรียนและผูปกครองจะคนุ เคยกับการเรียนคุมองแลวจึงไมรูสึกถึง
ความจำเปนของการประชุมผูปกครอง (PM) แตเนือ่ งจากเปนชวงที่ระดบั
ความพงึ พอใจตำ่ จึงแนะนำใหศูนยชักชวนผปู กครองในการเขารวม PM
อยางกระตือรือรน

1-2 ป เรยี นเกนิ ชนั้ เรียน มีความพงึ พอใจสงู สดุ เร่มิ มองเหน็ ประสทิ ธิผลดานความ เร่มิ รูสึกวาการบานเปนภาระมากขนึ้ ทลี ะนอย เนนการพัฒนาทักษะการเรียนรูดวยตนเองเพื่อใหเรยี นรเู นือ้ หาที่เกิน
ประมาณ 1 ช้นั ป สามารถทางวิชาการอยางชดั เจน เน่อื งจากเรยี นเกินช้ันเรียน หากเรียนรดู วย ชั้นเรยี นไดดวยตนเอง
ทำใหความพงึ พอใจสูงขึ้นอยางรวดเรว็ ตนเองไมไดจะลำบากมากเปนพเิ ศษ หากไมสามารถเรียนรูดวยตนเองได ภาระของผูปกครองในการดูแล
ลกู ทำการบานจะเพิ่มขนึ้ อยางกะทันหนั หามไมใหนกั เรียนกาวไปเรียน

เกนิ ชั้นเรียน 1 ปโดยที่ยังไมพรอมเปนอันขาด

มากกวา 2 ป เรียนเกินชัน้ เรยี น มคี วามพงึ พอใจสูง แตอีกดานหนึง่ ก็ สัมผสั ถงึ ประสทิ ธิผลดานความสามารถ มีหลายกรณที ่ีผูปกครองไมไดเขามาดูแล สนับสนุนใหนักเรยี นรักษาความกาวหนาดวยการคำนงึ ถงึ สมดลุ ระหวาง
2 ชน้ั ปข้นึ ไป “มีความลำบาก” เพ่มิ ขน้ึ อยางเหน็ ทางวชิ าการอยางตอเนื่อง แตเนอ่ื งจาก แตเปนชวงท่รี สู ึกวาการบานเปนภาระ ภาระจากการบานของคมุ องและกจิ กรรมของโรงเรียนหรือกจิ กรรมอ่นื ๆ
ไดชัด ไมมีความเปล่ยี นแปลงท่นี าทง่ึ ดังเชน มากท่ีสดุ อยางเหน็ ไดชดั พยายามรักษาแรงจงู ใจในการเรียนโดยอาจพดู คยุ เก่ียวกบั เปาหมาย
ตอนกาวหนาเกนิ ช้นั เรียน 1 ชัน้ ป เชน ASHR ของคมุ องอยางสมำ่ เสมอ หรอื ให Completer มาเลา
จงึ เปนชวงท่มี ีความถดถอยลงเล็กนอย นอกจากนน้ั เนอื้ หาแบบฝกหัดยังยากอีกดวย ประสบการณใหฟง
เรม่ิ มองถงึ ความลำบากในการเรยี นมากกวา

CPRG Seminar (Part 2: Parents Survey for center re-opening and Online Study)

เนื้อหา • ศูนย์กลบั มาเปิดดําเนินงานแล้ว…แต่ควรใหก้ ารเรียน
ส่วนท่ี 2 การสอนออนไลน์หลงั จากนอี้ ยา่ งไร?

• อยากรูว้ ่าศนู ยท์ ่ีผ้ปู กครองร้สู กึ ประทับใจดําเนินงาน
อย่างไรบา้ ง..!

แบบสอบถามผูป้ กครองที่จดั ทาํ โดยคมุ อง (ไทยแลนด)์ ในเดอื นกรกฎาคม

CPRG Seminar (Part 2: Parents Survey for center re-opening and Online Study)
เน่ืองจากสถานการณ์ในตอนนี้เปน็ สถานการณ์ไม่ปกตซิ ่ึงเกดิ จากผลกระทบของโควดิ -19
เราจึงต้องการนาํ เสนอขอ้ มูลเพือ่ ใหท้ ่าน Instructor ทราบวา่

“ตอนนี้” ผปู้ กครองรู้สึกอย่างไรและคาดหวงั อะไรอยู่

บรษิ ทั ฯ จงึ ไดจ้ ัดทาํ แบบสอบถามผู้ปกครองอยา่ งเรง่ ด่วนในช่วงต้นเดอื นกรกฎาคม ซง่ึ เปน็ ชว่ งทศ่ี ูนย์ไดเ้ ปิด
ดําเนนิ งานแล้ว

• แบบสอบถามได้จดั ทําข้ึนกับศูนย์คุมองทั่วประเทศ จงึ สามารถเปรียบเทียบวิธีการรับมอื
และช่วยใหท้ ราบถงึ วธิ ที ่ีสรา้ งความพึงพอใจของผู้ปกครองได้อยา่ งชัดเจนย่ิงขึ้น

• มงุ่ ไปประเดน็ ว่า “ควรจัดการเรียนการสอนออนไลน์ท่ีศูนย์จํานวนมากปฏบิ ัตกิ ันมา ตอ่ ไป
หรอื ไม”่ และ “หากจะดาํ เนินต่อไป ควรทําอยา่ งไรเพ่อื ใหเ้ กิดประสิทธิภาพสงู สุดทา่ มกลาง
สถานการณท์ ี่เวลา และกาํ ลงั คนมจี าํ กัด”

CPRG Seminar (Part 2: Parents Survey for center re-opening and Online Study)

ความสัมพนั ธข์ อง “ระดบั ความพอใจ” กับ “ความถี”่ ใน 9.1
การส่ือสารในรปู แบบการโทรคุยหรอื สง่ ขอ้ ความ 8.9 8.9
88..76 8.8
1. การส่งข้อความ หากส่งมากกว่า 2 ครัง้ ต่อสปั ดาห์ ก็แทบจะไม่ 88..43
สัมผัสถึงความพึงพอใจทเี่ พิ่มขนึ้ และมีแนวโนม้ วา่ ระดบั ความ 8.0
พงึ พอใจจะต่ําในการสง่ ขอ้ ความสปั ดาห์ละ 1 คร้งั และ ระดับ
ความพงึ พอใจจะตํ่ามากหากไม่มีการสง่ ข้อความเลยในแต่ละ 7.2
สปั ดาห์
2. การโทรคยุ (Voice Call) ย่งิ จาํ นวนครั้งในการโทรเพิ่มขึ้น 01234
ระดบั ความพึงพอใจกจ็ ะเพิ่มตามดว้ ย โดยเฉลี่ยแลว้ ศูนยส์ อ่ื สาร Call Text
โดยการโทรคุยประมาณสัปดาหล์ ะ 2 คร้งั
แตก่ ็มผี ู้ปกครองถึง 20% ตอบว่าศนู ยโ์ ทรคุยถึงสปั ดาห์ละ 4 ครั้ง Vertical figure shows satisfaction
Horizontal figure shows frequency of Text & Call / week

CPRG Seminar (Part 2: Parents Survey for center re-opening and Online Study)

ความสัมพนั ธข์ อง “ความพึงพอใจในการนดั หมายเวลาตัง้ แต่เนนิ่ ๆ” กับ
“ความคาดหวังตอ่ การประชมุ ผปู้ กครอง (OPM)”

• ประมาณ 30% ไดร้ บั การแจง้ จากศนู ยว์ า่ จะมีการจดั OPM ณ วนั ท่ี 4 กรกฎาคม
• สง่ิ ท่ีนา่ สนใจมากคอื ในกลุ่มท่ี “ได้รบั การตดิ ต่อต้งั แต่เนิน่ ๆ” มีผูท้ ต่ี อบระดบั ความพงึ พอใจที่

“10” เปน็ จํานวนมาก และเมอื่ เปรียบเทียบกบั กล่มุ ท่ี “ยงั ไม่ได้รบั การติดตอ่ ” อตั ราการตอบ
ระดับความพึงพอใจที่ “10” ตา่ งกันกวา่ 10%
แน่นอนวา่ ระดับความพึงพอใจมีความสมั พนั ธ์กับปจั จัยอ่นื นอกเหนือจาก OPM เพยี งอย่าง
เดยี ว แตเ่ ราทราบได้ว่า ศูนยท์ ่ีผู้ปกครองมรี ะดับความพงึ พอใจสูงจะ “มกี ารตดิ ตอ่ อย่าง
รวดเรว็ ” ในการจัด OPM ขอใหท้ ุกท่านพจิ ารณาถึงชว่ งเวลาท่จี ะติดตอ่ ผ้ปู กครองดว้ ย

CPRG Seminar (Part 2: Parents Survey for center re-opening and Online Study)

ผ้ปู กครอง 85% NO, 15%
ต้องการเข้ารว่ ม OPM
Yes, (Online),
31% Yes, (Center),
54%

CPRG Seminar (Part 2: Parents Survey for center re-opening and Online Study)

ลกั ษณะการเรยี นออนไลน์จนถึงเดอื น ONLINE STUDY TILL JUNE 1:1
มิถุนายน 55%
• มากกว่าครง่ึ เรยี นแบบ 1 : 1 No online
16%
(55%)
• แบบกลุ่มมี 30% Group
เห็นได้ว่านกั เรยี นจํานวนมากไดร้ ับการ 29%
เรยี นออนไลน์

CPRG Seminar (Part 2: Parents Survey for center re-opening and Online Study)

สภาพการกลับมาจดั การเรยี นการสอนทศี่ ูนย์

(ปัจจุบันศูนยค์ มุ องทุกศนู ยไ์ ด้กลับมาเปดิ ทําการสอนที่ศนู ย์แลว้ )

60% • เม่ือเปรยี บเทียบระหวา่ ง 2 กล่มุ นี้ กลุม่ ท่ีมี 40%
เรยี นทศี่ นู ย์ ผูต้ อบว่าพึงพอใจอยใู่ นระดับ 10 มากกว่า เรยี นท่ีศูนย์
สัปดาห์ละ ก็คอื กลุม่ ที่เรียนท่ศี ูนยส์ ัปดาหล์ ะ 2 ครั้ง สปั ดาห์ละ

2 คร้ัง • แตจ่ าํ นวนผู้ท่ีตอบว่าพงึ พอใจอยใู่ นระดับ 1 ครง้ั
10 ถงึ 8 ของทั้งสองกลมุ่ นัน้ ใกลเ้ คยี งกนั

• จากผลโดยรวม ผ้ปู กครอง 90% พงึ พอใจ
ต่อการกลับมาจัดการเรยี นการสอนที่ศนู ย์

CPRG Seminar (Part 2: Parents Survey for center re-opening and Online Study)

DO YOU WANT TO CONTINUE ONLINE STUDY EVEN AFTER 2

จาํ นวนผปู้ กครองทม่ี ีความประสงค์จะเรยี น DAY CENTRE IS OFFERED?

ผ่านทางออนไลน์ แม้ศูนย์จะกลับมาให้การ 2 time / week
เรียนการสอนท่ีศนู ย์ได้แลว้ 11%

1 time / week
16%
จากแบบสอบถาม มีนกั เรียนและ
ผู้ปกครอง 40% ทีป่ ระสงค์จะรบั การ 1/ 2 week Only center
เรยี นการสอนทง้ั หมด หรอื บางส่วนผ่าน 12% 61%

ทางออนไลน์แม้ศนู ยจ์ ะกลับมาเปดิ แล้ว

CPRG Seminar (Part 2: Parents Survey for center re-opening and Online Study)

ในกลุ่มท่ีตอ้ งการเรียนผา่ นทางออนไลน์ มี Better concentration
จาํ นวนมากท่ีตอบวา่ เพราะกังวลเกย่ี วกบั Can easily communicate 5%
การติดเชอ้ื COVID-19
แตแ่ มจ้ ะไม่รวมผทู้ ่ีกงั วลเกีย่ วกบั การติด with instructor
เช้ือ กย็ ังมีถึง 23% ทปี่ ระสงค์จะรบั การ 6%
เรยี นการสอนทง้ั หมดหรือบางสว่ นผา่ น
ทางออนไลน์ Can see the instruction Hygiene
และแนน่ อนวา่ หากมีการแพรร่ ะบาดของ 15% Safety
COVID-19 ในระลอกท่ี 2 คาดไดว้ ่า 43%
สัดส่วนของผทู้ ี่ต้องการเรียนผ่านทาง Save travel
ออนไลนจ์ ะเพ่ิมข้ึน time
31%

Why do you want to continue online study?

CPRG Seminar (Part 2: Parents Survey for center re-opening and Online Study)

หากศูนย์ไม่มกี ารเรียนการสอนผ่านทางออนไลน์หลงั เปดิ ทําการเรียนการสอนท่ีศนู ยอ์ ีกคร้งั
ระดับความพึงพอใจของผู้ปกครองและนักเรียนจะเปน็ อยา่ งไร
หากลองดูในรายละเอียดจะพบว่า ศูนยท์ ่เี สนอการเรียนใหก้ บั นักเรยี นเพียงสปั ดาห์ละ 1 ครง้ั
โดยไม่มกี ารเรียนการสอนออนไลน์ ระดับความพึงพอใจมีแนวโนม้ ทจ่ี ะตาํ่ ลงเป็นอย่างมาก
การสอนท่ีศูนย์รว่ มกับการสอนผา่ นทางออนไลนอ์ าจเป็นเรอื่ งยาก แต่ในกรณีทีไ่ มส่ ามารถให้
นกั เรียนมาเรียนท่ีศูนย์ไดส้ ัปดาห์ละ 2 ครั้ง ขอแนะนําใหท้ า่ นพิจารณาจดั การเรยี นการสอน
ผ่านทางออนไลน์ต่อไป

CPRG Seminar (Part 2: Parents Survey for center re-opening and Online Study)

การเรียนออนไลนร์ ูปแบบไหน ที่ทาํ ใหน้ กั เรยี นและผู้ปกครองมีระดับความพึงพอใจสงู

(ข้อมูลสรุปโดยอา้ งองิ จากสภาพการเรียนการสอนผ่านทางออนไลนจ์ นถงึ เดือนมถิ ุนายน)

จํานวนคร้งั ทีเ่ รยี น
การเรียนออนไลน์สปั ดาหล์ ะ 1 ครงั้ ทําให้ระดับความพงึ พอใจ
ตํ่าลงค่อนข้างมาก

ดังนั้น หากทําได้ ควรคงการสอนสัปดาห์ละ 2 ครั้งต่อไป โดยอาจ
ลดเวลาเรียนในแต่ละคร้ังหรอื เปลี่ยนไปสอนแบบกล่มุ ก็ได้

CPRG Seminar (Part 2: Parents Survey for center re-opening and Online Study)

การเรียนออนไลนร์ ูปแบบไหน ที่ทําใหน้ ักเรียนและผู้ปกครองมรี ะดับความพงึ พอใจสงู

(ขอ้ มูลสรุปโดยอ้างอิงจากสภาพการเรยี นการสอนผา่ นทางออนไลน์จนถงึ เดือนมิถุนายน)

ระยะเวลาในการสอนออนไลน์

ความพึงพอใจตอ่ การสอนครง้ั ละ ในกรณที ี่สอนเป็นกลุม่ แมจ้ ะสอน
20 นาทีนน้ั ตา่ํ แต่หากเปน็ การ 30 นาที แตร่ ะดบั ความพึงพอใจ
สอน 1 ต่อ 1 ระดบั ความพงึ จะตํา่ ดงั นน้ั ขอแนะนาํ ให้ใชเ้ วลา
พอใจยงั อยู่ในระดับทีย่ อมรบั ได้ 40 นาทีขน้ึ ไป

มแี นวโนม้ ท่คี วามพอใจจะยิง่ สูงข้ึนเมื่อเวลาสอนนานขนึ้ แต่ระดบั ความพงึ พอใจต่อการสอนในช่วง
40 - 60 นาทนี ั้นไม่ตา่ งกนั มากนกั ดงั น้ันอาจลองเริม่ จากการกาํ หนดเวลาการสอนออนไลนไ์ วท้ ่ี 40 นาทีกไ็ ด้

CPRG Seminar (Part 2: Parents Survey for center re-opening and Online Study)

การเรียนออนไลนร์ ปู แบบไหน ท่ที าํ ให้นกั เรยี นและผปู้ กครองมีระดับความพึงพอใจสงู

(ข้อมูลสรปุ โดยอา้ งอิงจากสภาพการเรยี นการสอนผา่ นทางออนไลนจ์ นถึงเดอื นมถิ นุ ายน)

การเรียนการสอนแบบกลมุ่ และ การเรยี นการสอนแบบ 1 ตอ่ 1 มีระดับความพึงพอใจแตกตา่ งกนั คอ่ นข้างมาก

นักเรียนและผู้ปกครองบางท่านให้ ขณะทมี่ หี ลายคนทต่ี อบวา่ ไม่มปี ัญหา
ความสาํ คัญกับการเรยี นการสอน อะไรกับการเรยี นแบบ 1 ตอ่ 2 หรอื
แบบ 1 ต่อ 1 เป็นอย่างมาก แบบ 1 ตอ่ 3

แตเ่ มอื่ เป็นการเรยี นเปน็ กลมุ่ 4 คนข้ึนไป จํานวนนักเรียนและ
ผูป้ กครองทีร่ ้สู กึ ไมพ่ อใจ จะเพิ่มมากขึน้ อยา่ งเหน็ ได้ชัด

CPRG Seminar (Part 2: Parents Survey for center re-opening and Online Study)

1. การเรียน 1: 3 สปั ดาห์ละ 2 ครั้ง ได้รบั ความพงึ พอใจมากกวา่ การเรยี น 1: 1 สัปดาห์
ละ 1 ครั้ง แต่อาจมนี ักเรียนบางคนทร่ี ู้สกึ ไม่พึงพอใจนัก กบั การเรียนเป็นกลมุ่ หลายคน

2. สําหรับคําถามวา่ ตอ้ งการเรยี นแบบไหนมากกว่ากนั ระหวา่ ง

• 1 ตอ่ 1 เปน็ เวลา 20 นาที
• 1 ตอ่ 3 เปน็ เวลา 60 นาที

ผลลพั ธ์ทไี่ ดน้ ัน้ ออกมาชัดเจนมาก คือ

ผทู้ ่ีตอบว่า 1 ต่อ 1 มมี ากกว่าผทู้ ่ตี อบวา่ 1 ต่อ 3 ถงึ 3 เท่า

แตค่ ําตอบจากผูท้ ี่เรียนแบบกลุ่มอยู่ในปจั จบุ นั กลับมีสดั สว่ นประมาณ 50: 50 หรอื
อาจกล่าวได้วา่ มมี ากกวา่ คร่งึ หน่ึงท่ีเม่อื ได้ทดลองเรียนแบบกลุ่ม แล้วร้สู ึกว่าดกี วา่ ที่
คาดไว้

CPRG Seminar (Part 3: COC Experiment)

เน้อื หา วิธีการเพิม่ ประสทิ ธภิ าพในการสอน
สว่ นท่ี 3 ออนไลน์ ที่ผู้ปกครองพงึ พอใจ!

(การทดลองเปรยี บเทยี บที่ศนู ย์ COC)


Click to View FlipBook Version