The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สื่อกลางส่งข้อมูลและการรับส่งข้อมูลบนเครือข่าย (11)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อรทัย เกยกลาง, 2019-12-18 10:06:15

สื่อกลางส่งข้อมูลและการรับส่งข้อมูลบนเครือข่าย (11)

สื่อกลางส่งข้อมูลและการรับส่งข้อมูลบนเครือข่าย (11)

1

สือ่ และอปุ กรณก์ ารรบั สง่ ข้อมลู
(communication Media)

โดย นางสาวอรทยั เกยกลาง
เสนอ ครูวริ ยา สขี าว

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยนี ครราชสีมา

2

สื่อกลางส่งขอ้ มูลและการรบั สง่ ข้อมลู บนเครือข่าย (Communication Media)

ความหมายของระบบสื่อสารขอ้ มูล

 ระบบส่อื สาร (Communication Systems) หมายถงึ กระบวนการถา่ ยทอดหรือแลกเปล่ยี นสาร
หรอื ส่อื ระหวา่ งผ้สู ่งกบั ผรู้ ับ โดยส่งผา่ นชอ่ งทางนาสารหรือส่ือ เพอื่ ใหเ้ กิดความเข้าใจซึ่งกนั และกัน

 การสอ่ื สารข้อมลู (Data communication systems) หมายถึง กระบวนการหรือวิธีถา่ ยทอดข้อมลู
ระหวา่ งผใู้ ช้กบั คอมพวิ เตอร์ที่มกั จะอยหู่ ่างไกลกัน และจาเปน็ ต้องอาศยั ระบบการส่ือสาร
โทรคมนาคม (Telecommunication) เปน็ สือ่ กลางในการรบั ส่งข้อมลู

 เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (Computer network) หมายถึง การเช่อื มโยงระหว่างเคร่อื งคอมพวิ เตอร์
ตั้งแต่ 2 เครื่องขน้ึ ไป เพ่ือใหส้ ามารถสือ่ สารและแลกเปลี่ยนข้อมลู รวมท้ังสามารถใช้อุปกรณ์
คอมพวิ เตอร์ภายในเครือข่ายร่วมกนั ได้ เช่น ฮารด์ ดสิ ก์ เคร่ืองพิมพ์ เปน็ ตน้

 ระบบสอื่ สารข้อมลู สาหรบั เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (Data communications for computer
networks) จึงหมายถึง ระบบการโอนถา่ ยขอ้ มลู หรือการแลกเปลยี่ นขอ้ มลู ระหว่างตน้ ทางหรอื
ปลายทางโดยใชอ้ ปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศพั ท์ โทรสาร โมเดม็ คอมพวิ เตอร์ อุปกรณ์
เครอื ข่ายต่าง ๆ ดาวเทียม ซง่ึ ควบคุมการสง่ และไหลของข้อมูลจากต้นทางไปยงั ปลายทาง การ
สอ่ื สารขอ้ มูลโดยการสง่ ผา่ นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เชน่ การส่งอีเมล์ การสนทนาผา่ นอินเทอร์เนต็

ส่อื หรือตวั กลางการสอ่ื สารข้อมลู (Communication Medium) ถอื เป็นองคป์ ระกอบ
สาคัญของการส่ือสารข้อมูล เพราะการเลอื กใช้ส่อื ที่เหมาะสม ทาใหเ้ กิดประสิทธิภาพในการสง่
และประหยดั ต้นทนุ ในการส่งคอื

1.ระบบเครือขา่ ยแบบเบสแบนด์ (Baseband)
จะเป็นการสื่อสารข้อมลู ทสี่ ายสัญญาณหรือตวั กลางในการส่งผ่านสญั ญาณสามารถส่ง ได้เพียงหนงึ่
สัญญาณในเวลาขณะใดขณะหนึง่ เทา่ น้นั น่นั คือ อุปกรณ์ท่ีใช้งานสายสญั ญาณในขณะน้ันจะครอบ
ครองช่องสัญญาณทง้ั หมดโดยอปุ กรณ์ อื่นจะไมส่ ามารถรว่ มใชง้ านไดเ้ ลย ตัวอย่างที่เห็นไดช้ ดั คือ
ระบบโทรศัพท์ เปน็ ต้น ซึง่ การสอื่ สารระหว่างคอมพวิ เตอร์สว่ นมากจะเป็นการส่ือสารแบบ
Baseband รวมทงั้ การสื่อสารระหวา่ งคอมพวิ เตอร์กบั อุปกรณอ์ ื่น ๆ(เชน่ เครื่องพิมพ์ จอภาพ) การ
สอ่ื สารผา่ น modems และการส่อื สารผ่านเครือขา่ ยหลกั ๆ ด้วย ยกเวน้ เครอื ขา่ ยแบบ B-ISDN ที่
เป็นแบบ Broadband

2.ระบบเครือขา่ ยแบบบรอดแบนด์ (Broadband)
จะตรงข้ามกบั Baseband นน่ั คือ จะเป็นการสอ่ื สารขอ้ มูลท่ตี วั กลางในการส่งผ่านสัญญาณสามารถ
มหี ลายชอ่ งสัญญาณ ได้พร้อม ๆ กนั โดยใชว้ ธิ ีแบง่ ช่องความถี่ออกจากกัน ทาใหอ้ ปุ กรณ์ต่าง ๆ
สามารถสื่อสารกันโดยใชช้ อ่ งความถี่ของตนเองผ่านตัวกลางเดียว ตวั อยา่ งเชน่ ระบบเครือข่าย

3

Cable TV ซงึ่ สามารถสง่ สญั ญาณมาพร้อมกนั หลาย ๆ ชอ่ งบนสายสอื่ สารเส้นเดยี ว และผรู้ ับก็
สามารถเลอื กชอ่ งความถท่ี ี่ต้องการชมได้

3.สื่อกลางประเภทมสี าย (Wired Media)
สือ่ กลางประเภทมีสาย หมายถงึ ส่ือกลางทีเ่ ปน็ สายซ่ึงใช้ในการเช่ือมโยงโดยอุปกรณต์ ่าง ๆ เพ่ือใช้ใน

การสง่ ผา่ นข้อมูลระหว่างอปุ กรณ์ และอุปกรณ์ในระยะทางทหี่ ่างกนั ไม่มากนัก
3.1) สายคู่บิดเกลยี ว(twisted pair)

ประกอบดว้ ยเส้นลวดทองแดงทีห่ ุ้มดว้ ยฉนวนพลาสติก 2 เส้น พันบิดเป็นเกลียว ท้ังนี้เพอื่ ลดการรบกวน
จากคลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียงภายในเคเบิล เดียวกนั หรอื จากภายนอก เน่ืองจากสายคู่บดิ เกลยี วนี้
ยอมใหส้ ัญญาณไฟฟ้าความถ่ีสูงผา่ นได้ สาหรบั อตั ราการสง่ ข้อมูลผา่ นสายคู่บดิ เกลยี วจะขึน้ อยู่กับความหนา
ของสายดว้ ย กล่าวคือ สายทองแดงทมี่ ีเสน้ ผา่ นศูนย์กลางกวา้ ง จะสามารถส่งสัญญาณไฟฟา้ กาลังแรงได้ ทาให้
สามารถส่งข้อมูลดว้ ยอตั ราสง่ สูง โดยท่ัวไปแลว้ สาหรับการส่งข้อมูลแบบดจิ ทิ ัล สญั ญาณท่ีส่งเปน็ ลกั ษณะคล่นื
สีเ่ หลย่ี ม สายคู่บิดเกลียวสามารถใชส้ ่งขอ้ มูลได้ถึงร้อยเมกะบติ ตอ่ วินาที ในระยะทางไม่เกินร้อยเมตร เน่ืองจาก
สายคู่บดิ เกลียว มรี าคาไมแ่ พงมาก ใช้ส่งข้อมลู ได้ดี จึงมีการใชง้ านอย่างกวา้ งขวาง

4

ขอ้ ดี ข้อเสยี
1.เป็นสายสัญญาณท่ีมรี าคาถูก
2.ง่ายต่อการนาไปใช่งาน 1.มีขอ้ จากดั ด้านระยะทาง
3.นิยมใช้งานอยทู่ วั่ ไป
2.ไวต่อสัญญาณรบกวน(กรณีเปน็ สาย UTP)
4.มอี ุปกรณส์ นบั สนนุ
3.มคี วามเร็วคอ่ นขา้ งจากัด
- สายคู่บดิ เกลยี วชนดิ หุ้มฉนวน (Shielded

Twisted Pair : STP)
เป็นสายคู่บดิ เกลียวท่หี มุ้ ดว้ ยลวดถกั ชน้ั นอกทห่ี นา
อกี ช้นั เพื่อป้องกันการ รบกวนของคลนื่
แมเ่ หล็กไฟฟา้ มีลกั ษณะเปน็ สองเสน้ มีแนวแลว้ บดิ
เป็นเกลียวเข้าด้วยกนั เพือ่ ลดเสยี งรบกวน มีฉนวน
หุ้มรอบนอก มรี าคาถูก ติดตัง้ งา่ ย น้าหนักเบาและ
การรบกวนทางไฟฟา้ ต่า สายโทรศัพทจ์ ัดเปน็ สายคู่
บดิ เกลียวแบบห้มุ ฉนวน

5

ข้อดี ขอ้ เสีย
1.เปน็ สายสัญญาณทป่ี ้องกันสัญญาณรบกวนไดเ้ ปน็ 1.สายสญั ญาณมขี นาดค่อนขา้ งใหญ่
อย่างดี
2.สามารถเช่อื มโยงได้ในระยะไกลกวา่ สายคู่บิด 2.มรี าคาสูง
เกลยี ว
3.ความเรว็ ในการส่งข้อมลู สูง 3.การติดต้ังหวั เชอ่ื มต่อ ต้องใชค้ วามเช่ียวชาญ
- สายคบู่ ดิ เกลยี วชนิดไม่หมุ้ ฉนวน

(Unshielded Twisted Pair : UTP)
เป็น สายคบู่ ิดเกลยี วมฉี นวนชั้นนอกที่บางอีกชั้นทา
ใหส้ ะดวกในการโคง้ งอแตส่ ามารถ ปอ้ งกนั การ
รบกวนของคล่นื แม่เหล็กไฟฟ้าไดน้ อ้ ยกวา่ ชนิดแรก
แต่กม็ ีราคาตา่ กวา่ จึงนิยมใชใ้ นการเชื่อมต่ออปุ กรณ์
ในเครอื ขา่ ย ตวั อยา่ ง ของสายสายคูบ่ ิดเกลยี วชนิด
ไมห่ ุ้มฉนวน ที่เห็นในชวี ติ ประจาวันคอื สายโทรศพั ท์
ท่ใี ชอ้ ยใู่ นบ้าน มรี าคาถูกและนยิ มใชก้ นั มากท่ีสุด
ส่วนใหญม่ ักใช้กับระบบโทรศัพท์ แตส่ ายแบบนี้
มกั จะถูกรบกวนไดง้ า่ ย และไม่ค่อยทนทาน

6

3.2) สายโคแอกเชยี ล (coaxial)
เป็นตัวกลางเชื่อมโยงท่ีมลี กั ษณะเชน่ เดยี วกับสายท่ีต่อจากเสาอากาศ สายโคแอกเชยี ลทใ่ี ชท้ ั่วไปมี 2

ชนิด คือ 50 โอหม์ ซึง่ ใช้สง่ ข้อมลู แบบดจิ ิทลั และชนิด 75 โอหม์ ซ่งึ ใช้สง่ ขอ้ มลู สัญญาณแอนะล็อก สาย
ประกอบด้วยลวดทองแดงทีเ่ ป็นแกนหลักหน่งึ เส้นท่ีหุ้มดว้ ยฉนวนชน้ั หนงึ่ เพ่ือป้องกนั กระแสไฟร่วั จากนนั้ จะ
ห้มุ ด้วยตัวนาซ่งึ ทาจากลวดทองแดงถักเป็นเปยี เพื่อปอ้ งกันการรบกวนของคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟา้ และสญั ญาณ
รบกวนอ่นื ๆ ก่อนจะหุ้มช้นั นอกสดุ ด้วยฉนวนพลาสติก ลวดทองแดงทถ่ี ักเป็นเปียนเี้ องเป็นสว่ นหน่ึงทท่ี าใหส้ าย
แบบนีม้ ีชว่ งความถ่ี สญั ญาณไฟฟา้ สามารถผา่ นไดส้ งู มาก และนยิ มใช้เป็นช่องส่ือสารสัญญาณแอนะล็อกเชือ่ ง
โยงผ่านใต้ทะเลและใต้ดนิ

3.3) เสน้ ใยนาแสง (fiber optic)
มีแกนกลางของสายซ่ึงประกอบดว้ ยเสน้ ใยแก้ว หรือพลาสติกขนาดเล็กหลายๆ เสน้ อยรู่ วมกัน เสน้ ใย
แตล่ ะเส้นมขี นาดเลด็ เทา่ เสน้ ผม และภายในกลวง และเสน้ ใยเหล่านั้นไดร้ บั การห่อหุ้มดว้ ยเส้นใยอีกชนดิ หน่ึง
กอ่ นจะห้มุ ช้นั นอกสดุ ด้วยฉนวน การสง่ ขอ้ มูลผ่านทางสอ่ื กลางชนดิ นจี้ ะแตกตา่ งจากชนิดอื่นๆ ซึง่ ใช้
สญั ญาณไฟฟ้าในการสง่ แต่การทางานของสื่อกลางชนดิ นจ้ี ะใชเ้ ลเซอรว์ ่ิงผ่านช่องกลวงของเส้นใยแตล่ ะ เส้น
และอาศยั หลกั การหกั เหของแสง โดยใช้ใยแกว้ ชนั้ นอกเปน็ กระจกสะท้อนแสง การให้แสงเคล่ือนที่ไปในท่อ

7

แกว้ สามารถส่งข้อมูลด้วยอตั ราความหนาแนน่ ของสัญญาณขอ้ มูลสงู มาก และไมม่ ีการก่อกวนของคลน่ื
แม่เหลก็ ไฟฟ้า ปจั จบุ ันถ้าใช้เส้นใยนาแสง กับระบบอีเธอร์เน็ตจะใช้ได้ด้วยความเรว็ หลายรอ้ ยเมกะบติ และ
เนือ่ งจากความสามรถในการส่งข้อมลู ดว้ ยอตั ราความหนาแนน่ สูง ทาใหส้ ามารถส่งข้อมูลทั้งตวั อกั ษร เสียง
ภาพกราฟิก หรือวิดีทัศน์ไดใ้ นเวลาเดยี วกนั อีกท้ังยังมคี วามปลอดภยั ในการส่งสูง แต่อยา่ งไรกม็ ีขอ้ เสีย
เนื่องจากการบิดงอสายสญั ญาณจะทาให้เสน้ ใยหกั จงึ ไม่สามารถใช้สือ่ กลางน้ใี นการเดนิ ทางตามมุมตึกได้
เส้นใยนาแสงมีลกั ษณะพิเศษทีใ่ ช้สาหรบั เช่ือมโยงแบบจุดไปจุด ดงั นนั้ จงึ เหมาะทีจ่ ะใช้กับการเช่ือมโยง
ระหว่างอาคารกบั อาคาร หรอื ระหวา่ งเมืองกบั เมือง เสน้ ใยนาแสงจึงถกู นาไปใช้เปน็ สายแกนหลกั

หลกั การทว่ั ไปของการสอ่ื สาร ในสายไฟเบอร์ออปกติคือการเปลี่ยนสญั ญาณ (ข้อมูล) ไฟฟ้าให้เปน็ คลื่น
แสงกอ่ น จากนั้นจงึ สง่ ออกไปเปน็ พัลส์ ของแสง ผ่านสายไฟเบอร์ออปกตสิ ายไฟเบอร์ออปกติทาจากแกว้ หรือ
พลาสติกสามารถสง่ ลาแสง ผ่านสายไดท้ ีละหลาย ๆ ลาแสงด้วยมุมทต่ี ่างกนั ลาแสงทีส่ ง่ ออกไปเป็นพัลส์นนั้ จะ
สะท้อนกลบั ไปมาท่ผี วิ ของสายช้ันในจนถึง ปลายทาง

จากสัญญาณข้อมูลซึง่ อาจจะเปน็ สัญญาณอนาล็อกหรอื ดิจติ อล จะผา่ นอปุ กรณท์ ี่ทาหนา้ ท่มี อดูเลต
สญั ญาณเสยี ก่อน จากน้นั จะส่งสญั ญาณมอดูเลต ผา่ นตวั ไดโอดซง่ึ มี 2 ชนดิ คอื LED ไดโอด (light
Emitting Diode) และเลเซอร์ไดโอด หรอื ILD ไดโอด (Injection Leser Diode) ไดโอดจะมีหนา้ ทีเ่ ปล่ียน
สัญญาณมอดเู ลตใหเ้ ป็นลาแสงเลเซอรซ์ ง่ึ เป็นคลืน่ แสง ในย่านที่มองเหน็ ได้ หรอื เป็นลาแสงในย่านอินฟราเรด
ซงึ่ ไม่สามารถมองเห็นได้ ความถย่ี ่านอินฟราเรดทใ่ี ชจ้ ะอยู่ในช่วง 1014-1015 เฮิรตซ์ ลาแสงจะถูกส่งออกไป
ตามสายไฟเบอร์ออปกติ เมือ่ ถึงปลายทางก็จะมีตัวโฟโตไ้ ดโอด (Photo Diode) ทที่ าหน้าทร่ี บั ลาแสงที่ถูกสง่
มาเพ่ือเปล่ยี นสัญญาณแสงให้กลบั ไปเป็นสญั ญาณ มอดูเลตตามเดมิ จากนั้นก็จะส่งสัญญาณผา่ นเข้าอุปกรณด์ ี
มอดูเลต เพื่อทาการดีมอดูเลตสญั ญาณมอดูเลตให้เหลือแต่สัญญาณข้อมลู ทต่ี ้องการ

สายไฟเบอร์ออปกติสามารถมแี บนดว์ ิดท์ (BW) ได้กว้างถงึ 3 จิกะเฮริ ตซ์ (1 จิกะ = 109) และมี
อัตราเรว็ ในการสง่ ข้อมูลได้ถึง 1 จกิ ะบิต ตอ่ วนิ าที ภายในระยะทาง 100 กม. โดยไมต่ ้องการเคร่ืองทบทวน
สญั ญาณเลย สายไฟเบอร์ออปกติสามารถมชี อ่ งทางสอื่ สารได้มากถงึ 20,000-60,000 ชอ่ งทาง สาหรบั การ
สง่ ข้อมลู ในระยะทางไกล ๆ ไมเ่ กนิ 10 กม. จะสามารถมีชอ่ งทางไดม้ ากถงึ 100,000 ชอ่ งทางทีเดียว

8

4.ส่อื กลางประเภทไร้สาย (Wireless Media)
การสื่อสารข้อมลู แบบไรส้ ายนี้สามารถส่งข้อมูลไดท้ กุ ทศิ ทางโดยมอี ากาศเป็นตวั กลางในการส่อื สาร

4.1) คลื่นวทิ ยุ (Radio Wave)
วธิ ีการส่อื สารประเภทน้จี ะใช้การส่งคลื่นไปในอากาศ เพื่อสง่ ไปยงั เครือ่ งรบั วทิ ยุโดยรวมกบั คลนื่ เสียงมี
ความถีเ่ สยี งท่เี ป็นรูป แบบของคล่นื ไฟฟา้ ดงั น้นั การส่งวิทยุกระจายเสยี งจงึ ไม่ต้องใชส้ ายส่งข้อมูล และยงั
สามารถส่งคล่ืนสญั ญาณไปได้ระยะไกล ซ่ึงจะอยู่ในชว่ งความถีร่ ะหว่าง 104 - 109 เฮิรตซ์ ดงั น้ัน เคร่ืองรับ
วทิ ยุจะต้องปรับช่องความถ่ใี ห้กบั คลน่ื วิทยทุ สี่ ง่ มา ทาใหส้ ามารถรบั ข้อมลู ไดอ้ ยา่ งชัดเจน

4.2) สญั ญาณไมโครเวฟ (Microwave)
เป็นสือ่ กลางในการส่ือสารทีม่ ีความเรว็ สงู ส่งข้อมูลโดยอาศยั สัญญาณไมโครเวฟ ซึ่งเป็นสญั ญาณคลนื่

แม่เหล็กไฟฟา้ ไปในอากาศพร้อมกบั ขอ้ มูลทีต่ ้องการส่ง และจะต้องมสี ถานที ีท่ าหนา้ ท่สี ง่ และรับข้อมลู และ
เน่อื งจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเสน้ ตรง ไมส่ ามารถเล้ียวหรอื โค้งตามขอบโลกทีม่ คี วามโค้งได้ จงึ
ต้องมีการตง้ั สถานรี ับ - ส่งขอ้ มูลเป็นระยะๆ และสง่ ข้อมูลต่อกนั เป็นทอดๆ ระหว่างสถานีตอ่ สถานจี นกว่าจะถึง
สถานปี ลายทาง และแต่ละสถานจี ะต้ังอยใู่ นทสี่ ูง ซงึ่ จะอยู่ในช่วงความถี่ 108 - 1012 เฮิรตซ์

9

4.3) แสงอินฟราเรด (Infrared)
คลืน่ แม่เหล็กไฟฟา้ ทีม่ ีความถี่อย่ใู นชว่ ง 1011 – 1014 เฮริ ตซ์ หรือความยาวคลนื่ 10-3 – 10-6 เมตร

เรยี กวา่ รังสอี ินฟราเรด หรือเรยี กอีกอย่างหนึ่งว่า คลน่ื ความถ่สี นั้ (Millimeter waves)ซ่ึงจะมียา่ นความถ่ีคาบ
เกย่ี วกบั ย่านความถีข่ องคล่นื ไมโครเวฟอย่บู า้ ง วัตถรุ อ้ น จะแผร่ งั สีอินฟราเรดที่มีความยาวคล่ืนสัน้ กวา่ 10-4
เมตรออกมา ประสาทสัมผสั ทางผวิ หนงั ของมนุษยส์ ามารถรับรงั สีอินฟราเรด ลาแสงอนิ ฟราเรดเดินทางเปน็
เส้นตรง ไมส่ ามารถผา่ นวตั ถทุ ึบแสง และสามารถสะท้อนแสงในวัสดุผิวเรียบได้เหมือนกบั แสงทัว่ ไปใชม้ ากใน
การสื่อสาร ระยะใกล้

4.4) ดาวเทียม (satilite)
ได้รบั การพัฒนาข้ึนมาเพือ่ หลกี เลยี่ งข้อจากดั ของสถานรี ับ - สง่ ไมโครเวฟบนผิวโลก วัตถุประสงค์ใน
การสรา้ งดาวเทียมเพื่อเป็นสถานีรับ - สง่ สัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศ และทวนสญั ญาณในแนวโคจรของโลก
ในการส่งสัญญาณดาวเทียมจะต้องมีสถานีภาคพ้ืนดินคอยทาหน้าทร่ี ับ และส่งสัญญาณขน้ึ ไปบนดาวเทียมท่ี
โคจรอยู่สูงจากพ้ืนโลก 22,300 ไมล์ โดยดาวเทียมเหลา่ นั้น จะเคลือ่ นท่ีด้วยความเรว็ ที่เท่ากบั การหมุนของโลก
จงึ เสมือนกับดาวเทยี มน้นั อยู่นิ่งอยกู่ ับท่ี ขณะที่โลกหมนุ รอบตวั เอง ทาให้การสง่ สัญญาณไมโครเวฟจากสถานี
หนึ่งขึ้นไปบนดาวเทียมและการกระจายสญั ญาณ จากดาวเทียมลงมายังสถานตี ามจุดตา่ งๆ บนผิวโลกเปน็ ไป
อยา่ งแมน่ ยา ดาวเทียมสามารถโคจรอยไู่ ด้ โดยอาศยั พลงั งานทีไ่ ดม้ าจากการเปลี่ยน พลงั งานแสงอาทิตย์ ดว้ ย
แผงโซลาร์ (solar panel)

4.5) บลทู ธู (Bluetooth)
ระบบส่ือสารของอุปกรณ์อิเล็คโทรนคิ แบบสองทาง ด้วยคล่ืนวิทยุระยะส้ัน (Short-Range Radio

10

Links) โดยปราศจากการใชส้ ายเคเบ้ลิ หรอื สายสญั ญาณเช่อื มตอ่ และไมจ่ าเป็นจะตอ้ งใชก้ ารเดนิ ทางแบบ
เส้นตรงเหมอื นกับอนิ ฟราเรด ซ่ึงถอื ว่าเพิม่ ความสะดวกมากกวา่ การเชื่อมต่อแบบอนิ ฟราเรด ที่ใชใ้ นการ
เชอ่ื มตอ่ ระหว่างโทรศัพทม์ ือถือ กบั อุปกรณ์ ในโทรศัพทเ์ คลื่อนทรี่ ุ่นก่อนๆ และในการวจิ ยั ไมไ่ ด้ม่งุ เฉพาะการ
สง่ ขอ้ มูลเพียงอยา่ งเดียว แตย่ ังศกึ ษาถงึ การสง่ ข้อมูลทีเ่ ป็นเสียง เพ่ือใช้สาหรับ Headset บนโทรศพั ท์มือถือ
ดว้ ยเทคโนโลยี บลทู ูธ เป็นเทคโนโลยีสาหรับการเช่อื มต่ออุปกรณ์แบบไร้สายท่นี า่ จบั ตามองเป็นอย่าง ยงิ่ ใน
ปัจจุบนั ท้ังในเรอ่ื งความสะดวกในการใช้งานสาหรบั ผใู้ ช้ท่ัวไป และประสิทธภิ าพในการทางาน เนอื่ งจาก
เทคโนโลยี บลูทูธ มรี าคาถูก ใชพ้ ลังงานนอ้ ย และใช้เทคโนโลยี short – range ซึง่ ในอนาคต จะถูกนามาใชใ้ น
การพฒั นา เพ่ือนาไปสู่การแทนท่อี ุปกรณต์ า่ งๆ ทใ่ี ชส้ าย เคเบิล เชน่ Headset สาหรบั โทรศัพทเ์ คลื่อนที่ เปน็
ต้นิ เทคโนโลยีการเช่ือมโยงหรือการสือ่ สารแบบใหม่ท่ีถูกคิดคน้ ขึ้น เป็นเทคโนโลยีของอินเตอร์เฟซทาง
คลนื่ วิทยุ ตง้ั อยบู่ นพน้ื ฐานของการส่อื สารระยะใกลท้ ปี่ ลอดภยั ผา่ นช่องสัญญาณความถี่ 2.4 Ghz โดยทถี่ ูก
พัฒนาข้ึนเพ่ือลดขอ้ จากัดของการใช้สายเคเบลิ ในการเชื่อมโยงโดยมี ความเร็วในการเชือ่ มโยงสูงสดุ ท่ี 1 mbp
ระยะครอบคลมุ 10 เมตร เทคโนโลยกี ารส่งคลืน่ วิทยุของบลูทูธจะใชก้ ารกระโดดเปลี่ยนความถ่ี (Frequency
hop) เพราะวา่ เทคโนโลยีนเี้ หมาะทจ่ี ะใชก้ บั การส่งคลน่ื วิทยทุ ี่มกี าลังสง่ ต่าและ ราคาถูก โดยจะแบ่งออกเปน็
หลายช่องความถี่ขนาดเลก็ ในระหว่างทม่ี ีการเปล่ียนชอ่ งความถี่ท่ไี ม่แนน่ อนทาใหส้ ามารถหลีกหนสี ญั ญาณ
รบกวนท่ีเขา้ มาแทรกแซงได้ ซ่งึ อปุ กรณ์ทีจ่ ะได้รบั การยอมรบั วา่ เปน็ เทคโนโลยบี ลูทธู ตอ้ งผ่านการทดสอบจาก
Bluetooth SIG (Special Interest Group) เสียกอ่ นเพื่อยืนยันว่ามนั สามารถทจ่ี ะทางานร่วมกับอุปกรณบ์ ลู
ทูธตวั อื่นๆ และอนิ เตอรเ์ นต็ ได้

11

5.การพจิ ารณาสื่อกลางสง่ ข้อมูล

ตวั กลางหรอื สายเชือ่ มโยง เป็นสว่ นท่ีทาใหเ้ กิดการเช่ือมต่อระหวา่ งอุปกรณ์ต่างๆ เขา้ ด้วยกนั และ
อปุ กรณน์ ้ยี อมใหข้ า่ วสารข้อมูลเดนิ ทางผ่าน จากผ้สู ง่ ไปสผู่ รู้ ับ สือ่ กลางท่ีใชใ้ นการสื่อสารขอ้ มลู มีอย่หู ลาย
ประเภท แต่ละประเภทความแตกตา่ งกนั ในดา้ นของปรมิ าณขอ้ มูล ที่สือ่ กลางนนั้ ๆ สามารถนาผา่ นไปไดใ้ น
เวลาขณะใดขณะหน่งึ การวัดปริมาณหรือความจใุ นการนาขอ้ มูลหรือ ท่เี รียกกันวา่ แบบดว์ ิดท์ (bandwidth) มี
หนว่ ยเปน็
จานวนบติ ข้อมลู ต่อวนิ าที (bit per second : bps)
หลกั การพจิ ารณาเลอื กใชส้ ื่อกลาง

5.1. ตน้ ทุน
- พิจารณาตน้ ทนุ ของตวั อุปกรณ์ทใี่ ช้
- พิจารณาต้นทนุ การตดิ ต้ังอุปกรณ์
- เปรยี บเทยี บราคาของอปุ กรณ์ และประสิทธิภาพการใช้งาน
5.2. ความเรว็
- ความเร็วในการส่งผ่านสญั ญาณ จานวนบติ ต่อวนิ าที
- ความเร็วในการแพร่สัญญาณ ข้อมลู ที่สามารถเคล่ือนทีผ่ า่ นสือ่ กลางไปได้
5.3. ระยะทาง
- ส่อื กลางแต่ละชนิดมีความสามารถในการสง่ สญั ญาณข้อมลู ไปได้ในระยะทางต่างกัน ดงั นัน้ การ
เลือกใชส้ ือ่ กลางแต่ละชนิดจะต้องทราบขอ้ จากัดดา้ นระยะทาง เพื่อที่จะต้องทาการตดิ ตั้งอุปกรณท์ บทวน
สญั ญาณเมื่อใช้ส่อื กลางในระยะไกล
5.4. สภาพแวดลอ้ ม
- เปน็ ปจั จยั สาคัญอยา่ งหน่งึ ในเลือกใช้ส่ือกลาง เช่น สภาพแวดลอ้ มที่เป็นโรงงานอุตสาหกรรม

12

เครอื่ งจักรกลจะมคี ลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้า ตา่ ง ๆ ดังน้ันการเลือกใช้สอื่ กลางควรเลือกสื่อกลางทีท่ นทานต่อสัญญาณ
รบกวนได้ดี

5.5. ความปลอดภัยของขอ้ มูล
- หากสื่อกลางทเี่ ลอื กใชไ้ ม่สามารถปอ้ งกนั การลักลอบนาข้อมลู ไปได้ ดงั น้นั การส่ือสารข้อมลู จะต้องมี
การ เขา้ รหัสข้อมลู ก่อนทีจ่ ะส่งไปในส่อื กลาง และผรู้ ับก็ต้องมีการถอดรหสั ท่ีใชห้ ลักเกณฑ์เดียวกนั จงึ จะ
สามารถนาข้อมลู นนั้ ไปใชไ้ ด้
6.วิธกี ารเขา้ ถงึ สอื่ กลาง
คือ การนาโพรโทคอลมาใช้เพิอื ควบคุมกลไกการส่งข้อมลู และวิธแี ก้ไขเม่ือเกดิ การขนกนั
6.1 CSMA/CD

มาตรฐานของระบบเครอื ข่ายท้องถ่นิ
มาตรฐานของ LAN ถูกกาหนดโดยคณะกรรมการจาIEEE ซ่ึงมีช่อื อย่างเปน็ ทางการว่า IEEE 802 Local and
Metropolitan Area Network Standard Committee โดยจะเนน้ การกาหนดคุณสมบัตใิ นระดบั ของ
Physical Layer และ Data Link Layer ใน OSI Reference Model มาตรฐานจานวนมากถูกกาหนดออกมา
จากกรรมการกลุม่ นี้ และไดน้ ามาใช้กาหนดรปู แบบโครงสร้างของระบบเครือข่ายในปัจจุบนั มาตรฐานท่ี

13

นา่ สนใจมดี งั ต่อไปนี้
รปู ท่ี 4 IEEE 802 protocol layers เปรยี บเทียบ
IEEE 802.3: Ethernet
Ethernet นับเป็นตน้ กาเนดิ ของเทคโนโลยี LAN เนอ่ื งจาก LAN สว่ นมากหรือเกือบทั้งหมดในปจั จุบนั ใช้
พ้นื ฐานของเทคโนโลยีนี้ คุณลักษณะเฉพาะในการทางานของ Ethernet คือการทางานแบบที่เรียกว่า การเขา้
ใช้ระบบเครือขา่ ยโดยวธิ ชี ว่ งชงิ หรอื CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access with Collision
Detection) โดยมีหลักการทางานดงั น้ี
CSMA/CD

หลักการทางานของ CSMA/CD
1.กอ่ นทผี่ ใู้ ชจ้ ะส่งข้อมูล จะต้องมีการแจ้งออกไปกอ่ นเพื่อตรวจสอบดูวา่ มสี ญั ญาณของผใู้ ช้คนอนื่ ช้างานอยู่
หรอื ไม่
2.ถา้ ผใู้ ชง้ านรายอ่นื ไมใ่ ชง้ าน จึงจะเริ่มสง่ ข้อมลู ออกไปได้
3.หากตรวจพบสัญญาณของผู้ใชร้ ายอน่ื อยู่ จะตอ้ งรอจนกว่าสายจะว่างถงึ จะสง่ ข้อมูลได้
4.ถ้า เกิดปัญหาในการตรวจสอบสญั ญาณ ซ่ึงอาจเน่ืองมาจากระยะทางส่งอยหู่ า่ งกันมาก อาจจะเกดิ การชนกนั
ของขอ้ มลู ขน้ึ ได้ ในกรณนี ้ีให้ทั้งทุกๆ สถานตี อ้ งหยุดการสง่ ข้อมูลขณะนน้ั
5.แล้วะทาการการสุ่มช่วงระยะเวลาในการรอ เพ่ือทาการส่งขอ้ มลู ออกไปใหม่เพ่ือไม่ใหม้ ีการชนกันเกดิ ขึน้ อีก
6.ถ้า หากยังมชี นเกดิ ข้นึ อกี ก็จะต้องหยุดรอโดยเพ่ิมช่วงระยะเวลาในการส่มุ เปน็ สองเท่าเพ่อื ให้ลดโอกาสการ
ชนกันลงและส่งข้อมูลออกไปใหม่ และทาซ้าเช่นน้ี จนกวา่ ข้อมูลจะถูกส่งออกไปได้อย่างสมบรู ณ์

แมว้ า่ ระบบ CSMA/CD ดูเหมอื นจะเป็นวธิ ีจดั ระเบยี บการส่งสญั ญาณในระบบเครือขา่ ยท่ีไมเ่ รียบรอ้ ย
นัก แตก่ ็ทางานไดผ้ ลเปน็ อย่างดี แตเ่ มื่อมีจานวนโหนดบนเครอื ข่ายมากขน้ึ ก็จะทาให้ความน่าจะเป็นในการ
ปะทะกันของ ข้อมูลเพ่ิมมากขึ้นดว้ ย ซ่งึ จะสง่ ผลใหเ้ ครือข่ายทางานช้าลงอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้
ระบบเครือข่าย Ethernet ยังสามารถแบ่งประเภทได้อีก ตามความเร็วและชนดิ ของสายเคเบิล ตัวอย่าง
IEEE 802.3 10Base5 (Thick EthernetIEEE 802.3u 1. IEEE 802.4: Token Bus IEEE 802.5: Token
Ring IEEE 802.9: Isochronous Networks IEEE 802.11: Wireless

6.2 Token-passing
วธิ ีน้จี ะมี token ทีใ่ ช้เป็นส่อื กลางในการรับสง่ ข้อมลู ซงึ่ จะวิ่งวนในเครอื ข่าย ในกรณีท่ี token วงิ่ มาถึงเคร่ือง
ใด เครอ่ื งนั้นกจ็ ะตรวจสอบวา่ มขี อ้ มลู สง่ มาถึงหรือเปลา่ ถา้ ไม่มีกส็ ง่ ไปยงั เคร่ืองถัดไป และในกรณีทตี่ ้องการจะ
ส่งขอ้ มูลก็จะตรวจสอบว่า token วา่ งหรอื ไม่ ถ้าว่างกจ็ ะบรรจุข้อมูลและระบุท่อี ยู่ของเครอ่ื งที่จะรบั ลงใน

14

token แลว้ สง่ ไปยังเครือ่ งถดั ไป
ตัวอยา่ งระบบเครอื ขา่ ยท่ีใช้ เชน่ Token-Ring

สอ่ื ประเภทเหนี่ยวนา (Conducted Media)

1. สายโคแอคเชียล (Coaxial cable)
2. สายคบู่ ดิ เกลยี ว (Twisted pair wire)
3. แบบไม่มฉี นวนห้มุ (Unshielded Twisted Pair: UTP)
4. แบบมีฉนวนหุม้ (Shielded Twisted Pair: STP)
5. สายใยแกว้ นาแสง (Fiber-Optic cable)

สายโคแอ็กเชยี ล (Coaxial Cable)

เป็นสายสัญญาณประเภทแรกทใ่ี ช้ และเป็นท่ีนยิ มมากในเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์สมยั แรกๆ
ในปัจจบุ นั ถอื ได้ว่าเป็นสายท่ีล้าสมัยสาหรับเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ในปจั จบุ ัน อยา่ งไรก็ตามยงั มี
ระบบเครือข่ายบางประเภทท่ียงั ใช้สายประเภทนี้อยู่

15

สว่ นประกอบของสายโคแอก็ เชียล

สายทองแดง
ฉนวน
ใยโลหะถักเปียหรือโลหะบางๆ
ฉนวนและวสั ดปุ ้องกนั สายสญั ญาณ

สายโคแอ็กซ์ (Coax) จะมีตวั นาไฟฟา้ อยู่สองสว่ น

- สว่ นแกนเปน็ ส่วนท่นี าสัญญาณข้อมลู

- ชัน้ ใยข่ายเป็นชัน้ ที่ใช้ปอ้ งกันสญั ญาณรบกวนจากภายนอกและเป็นสายดนิ ในตวั ดงั นั้นสองส่วนนี้ตอ้ งไม่
เชือ่ มต่อกนั มิฉะน้นั อาจเกดิ ไฟชอ็ ตได้

สายโคแอ็กเชยี ลแบบบาง (Thin Coaxial Cable)

เปน็ สายทีม่ ขี นาดเลก็ เส้นผ่านศนู ย์กลางประมาณ 0.64 cm
เน่ืองจากสายประเภทน้มี ีขนาดเล็กและมีความยดื หยนุ่ สูงจงึ สามารถใชไ้ ด้กบั การติดตง้ั เครือข่าย
เกือบทุกประเภท สามารถนาสัญญาณได้ไกลถงึ 185 เมตร กอ่ นทส่ี ัญญาณจะเร่มิ ออ่ นกาลังลง

สายโคแอ็กเชียลแบบหนา (Thick Coaxial Cable)

16

1. เปน็ สายโคแอก็ ซท์ ่ีค่อนข้างแข็ง และขนาดใหญก่ ว่าสายโคแอ็กซ์แบบบาง โดยมีเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง
ประมาณ 1.27 cm

2. สว่ นแกนกลางทีเ่ ป็นสายทองแดงของสายโคแอก็ ซ์แบบหนาจะมีขนาดใหญ่ ดงั นนั้ จงึ สามารถนาสญั ญาณ
ได้ไกลถงึ 500 เมตร

3. นิยมใช้ในการเชื่อมต่อเสน้ ทางหลกั ของข้อมลู หรือ แบ็คโบน (Backbone) ของเครอื ข่ายสมัยแรกๆ

สายท่ใี หญก่ ว่าย่อมนาสญั ญาณไดด้ ีกว่าสายธกิ ค์เน็ต (Thicknet) จะยุ่งยากในการติดตั้งมากกวา่
เนือ่ งจากเป็นสายที่ค่อนข้างแขง็ แรง ในขณะทส่ี ายแบบธินเน็ต (Thinnet) มคี วามยดื หยุ่นท่ดี กี วา่ ทาให้ง่าย
ต่อการติดตั้งและราคาก็ถูกกว่า ความยืดหย่นุ ของสายมผี ลต่อการติดตัง้ เม่ือเดนิ สายผา่ นท่อขนาดเล็กท่ีตดิ
บนฝา้ เพดาน ทาให้เป็นที่นิยมมากกวา่

หัวเช่ือมตอ่ ท่ใี ชก้ ับกับสายโคแอก็ เชียล

BNC Cable Connector BNC T- Connector

BNC Barrel Connector BNC Terminator

- BNC Cable Connector เป็นหัวท่ีเชื่อมเข้ากับปลายสาย

- BNC T-Connector เปน็ หวั ทีใ่ ชเ้ ชอ่ื มต่อระหว่างสายสญั ญาณกบั เนต็ เวริ ์คการด์

- BNC Barrel Connector เป็นหัวทใ่ี ชใ้ นการเชื่อมต่อสายสัญญาณเพื่อใหส้ ายมีขนาดยาวขนึ้

17

- BNC Terminator เปน็ หัวที่ใช้ในการสิน้ สดุ สญั ญาณที่ปลายสายเพ่อื เป็นการสนิ้ สุดสญั ญาณไม่ใหส้ ะท้อน
กลับ ถา้ ไมอ่ ยา่ งนัน้ สัญญาณสะท้อนกลบั ทาใหร้ บกวนสญั ญาณที่ใช้นาข้อมลู จริง ซ่ึงจะทาให้เครือขา่ ยลม้ เหลว
ในทส่ี ุด

สายคู่บดิ เกลียว (Twisted Pairs Cable)

1. เม่ือก่อนเป็นสายสัญญาณท่ีใชใ้ นระบบโทรศัพท์ แต่ปจั จุบันไดก้ ลายเป็นมาตรฐานสายสัญญาณท่ี
เชื่อมตอ่ ในเครือขา่ ยท้องถ่นิ (LAN)

2. สายคูบ่ ดิ เกลยี วหน่ึงคูป่ ระกอบดว้ ยสายทองแดงขนาดเล็ก เส้นผา่ นศนู ย์กลางประมาณ 0.016-
0.035 นวิ้ หมุ้ ด้วยฉนวนแล้วบดิ เป็นเกลียวเปน็ คู่

3. การบิดเปน็ เกลยี วของสายแต่ละคู่มีจดุ ประสงค์เพื่อชว่ ยลดคล่นื แมเ่ หล็กไฟฟ้าทีร่ บกวนซ่ึงกันและ
กัน

4. สายคบู่ ิดเกลยี วทม่ี ีขายในท้องตลาดอาจประกอบด้วยสายคู่บดิ เกลียวต้งั แต่หนึง่ คไู่ ปจนถึง 600 คู่
ในสายขนาดใหญ่ สายคู่บิดเกลยี วทใี่ ช้กบั เครือขา่ ย LAN จะประกอบด้วย 4 คู่

สายค่บู ดิ เกลียวหมุ้ ฉนวน (Shielded Twisted Pairs : STP)

1. มีสว่ นที่ป้องกนั สัญญาณรบกวนจากภายนอก
2. ชน้ั ปอ้ งกันน้ีอาจเปน็ แผน่ โลหะบางๆ หรือใยโลหะทีถ่ ักเปยี เป็นตาขา่ ย ซ่ึงชน้ั ปอ้ งกนั นจ้ี ะหอ่ ห้มุ

สายค่บู ดิ เกลยี วท้งั หมด

จุดประสงค์ของการเพิ่มขน้ั ห่อหมุ้ น้เี พ่อื ป้องกันการรบกวนจากคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้า เช่น คลื่นวิทยจุ ากแหล่ง
ต่างๆ

สายคูบ่ ดิ เกลียวไมห่ ้มุ ฉนวน (Unshielded Twisted Pairs : UTP)

1. สายสัญญาณท่นี ยิ มใช้กันมากทส่ี ุดในระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ปัจจบุ ัน
2. การใชส้ ายนคี้ วามยาวต้องไมเกิน 100 เมตร

18

คณุ สมบตั ิพิเศษของสายคู่บดิ เกลยี ว

1. การใช้สายคู่บดิ เกลียวในการรับสง่ สัญญาณนน้ั จาเป็นต้องใช้สายหนึ่งคูใ่ นการส่งสญั ญาณ และอีก
หนง่ึ ค่ใู นการรบั สญั ญาณ ซ่ึงในแตล่ ะคู่สายจะมีทั้งขว้ั บวกและขว้ั ลบ

2. ในการทาเช่นน้ีเปน็ เทคนิคอย่างหนง่ึ ในการรับส่งข้อมลู ทีเ่ รียกว่า "Differential Signaling" ซงึ่
เทคนิคนี้คิดค้นขึ้นมาเพอ่ื จะกาจดั คล่ืนรบกวน (Electromagnetic Noise) ทเ่ี กิดกบั สัญญาณ
ขอ้ มูล

3. เมอื่ เกดิ คล่นื รบกวนขนึ้ กับสายสญั ญาณแล้วจะทาใหส้ ัญญาณขอ้ มลู ยากต่อการอา่ นหรือแปล
ความหมาย

19

มาตรฐานสายสัญญาณ (EIA/TIA 568)*

Category 1 เปน็ สายที่ใช้ในระบบโทรศัพท์อยา่ งเดียว โดยสายนีไ้ มส่ ามารถใชใ้ นการส่งข้อมลู แบบดจิ ิตอลได้

Category 2 เปน็ สายทร่ี องรบั แบนดว์ ธิ ไดถ้ ึง 4 MHz ซ่ึงทาให้สามารถสง่ ขอ้ มลู แบบดิจิตอลได้ถงึ 4 MHz ซง่ึ จะประกอบด้วย
สายคบู่ ดิ เกลียวอยู่ 4 คู่

Category 3 เป็นสายที่สามารถสง่ ข้อมูลได้ถึง 16 Mbps และมสี ายคู่บิดเกลยี วอยู่ 4 คู่
Category 4 สง่ ข้อมูลได้ถงึ 20 Mbps และมีสายคูบ่ ิดเกลยี วอยู่ 4 คู่
Category 5 สง่ ขอ้ มลู ไดถ้ งึ 100 Mbps โดยใช้ 2 ค่สู าย และรับส่งข้อมูลได้ถงึ 1000 mbps เม่ือใช้ 4 คสู่ าย

Category เช่นเดยี วกับ Cat 5 แตม่ คี ุณภาพของสายท่ีดีกวา่ เพื่อรองรับการส่งข้อมูลแบบ ฟูลล์ดูเพลก็ ซ์ที่ 1000 Mbps ซง่ึ
5e ใช้4 ค่สู าย
(Enhanced)

Category 6 รองรับแบนดว์ ธิ ได้ถึง 250 MHz

หัวเชอ่ื มต่อที่ใช้กับสายคบู่ ิดเกลยี ว

RJ-45 Plug RJ-45 Jack

- สายคู่บิดเกลียวจะใชห้ ัวเชอื่ มตอ่ แบบ RJ-45 ซึ่งจะมลี ักษณะคล้ายกบั หัวเช่อื มต่อแบบ RJ-11 ซึ่งเปน็ หวั ท่ใี ช้
กบั สายโทรศัพท์ทว่ั ๆ ไป ข้อแตกต่างระหว่างหัวเชือ่ มต่อสองประเภทนี้คอื หัว RJ-45 จะมขี นาดใหญก่ วา่
เลก็ น้อยและไม่สามารถเสียบเข้ากบั ปล๊กั โทรศพั ท์ได้

- หัว RJ-45 จะเชือ่ มสายคู่บิดเลียว 4 คู่ในขณะท่หี ัว RJ-11 ใชไ้ ดก้ บั สายเพียง 2 คู่เทา่ นนั้

20

Network Interface Card (NIC)

สายใยแกว้ นาแสง (Fiber-Optic Cable)

1. ใช้สญั ญาณแสงในการส่งสญั ญาณไฟฟ้า ทาให้การสง่ สญั ญาณไม่ถูกรบกวนจากสนามแม่เหล็ก
ไฟฟ้าตา่ ง ๆ ท้ังยังคงทนต่อสภาพแวดลอ้ ม อีกด้วย

2. ตัวกลางทใ่ี ชส้ าหรบั การส่งสัญญาณแสงก็คือใยแก้วซึ่งมีขนาดเล็กและบาง ทาใหป้ ระหยดั พน้ื ทีไ่ ป
ได้มาก

3. สามารถสง่ สญั ญาณไปไดไ้ กลโดยมกี ารสญู เสยี ของสญั ญาณนอ้ ย ทง้ั ยังให้อัตราขอ้ มลู
(Bandwidth) ท่สี ูงยงิ่ กว่าสายแบบโลหะหลายเท่าตัว

ปัญหาของสายทม่ี ีตวั นาเปน็ โลหะนัน้ กค็ ือ สัญญาณทวี่ ง่ิ อยู่ภายในสายนัน้ อาจจะถูกรบกวน
ได้โดยคลแมเ่ หล็กไฟฟ้าแหลง่ ต่าง ๆ เช่น มอเตอรไ์ ฟฟา้ เครอ่ื งใช้ไฟฟ้าตา่ ง ๆ ที่ผลิต
สนามแม่เหล็ก หรือแม้กระท่ังปรากฏการณธ์ รรมชาติ เช่น ฟ้าผา่ เป็นตน้ และการเดนิ สายเปน็
ระยะทางไกลมาก ๆ เช่น ระหวา่ งประเทศจะมีการสูญเสียของสัญญาณเกิดขึน้ จึงต้องใชอ้ ุปกรณ์
สาหรบั ทวนสัญญาณติดเปน็ จานวนมาก เพราะฉะนัน้ จงึ มีการคิดค้นและพัฒนาสายสญั ญาณแบบ
ใหม่ ซง่ึ ใช้ตวั นาซึ่งไมไ่ ดเ้ ป็นโลหะข้ึนมา

โครงสร้างของใยแกว้ นาแสง

21

- Core เป็นสว่ นกลางของเสน้ ใยแกว้ นาแสง และเปน็ สว่ นนาแสง โดยดชั นหี ักเหของแสงส่วนน้ีต้องมากกวา่
สว่ นของแคลด ลาแสงทีผ่ ่านไปในแกนจะถูกขังหรือเคล่ือนท่ไี ปตามแกนของเส้นใยแก้วนาแสงดว้ ย
กระบวนการสะท้อนกลับหมดภายใน
- Cladding เป็นส่วนทีห่ ่อหมุ้ ส่วนของแกนเอาไว้ โดยส่วนนจี้ ะมีดชั นหี กั เหน้อยกว่าส่วนของแกน เพ่ือให้
แสงทเ่ี ดนิ ทางภายใน สะท้อนอยภู่ ายในแกนตามกฎของการสะท้อนด้วยการสะท้อนกลับหมด โดยใช้หลัก
ของมุมวิกฤติ
- Buffer Coating เป็นชั้นทต่ี ่อจากแคลดที่กนั แสงจากภายนอกเขา้ เสน้ ใยแก้วนาแสงและยังใช้ประโยชน์
เมอ่ื มีการเชอ่ื มต่อเส้นใยแกว้ นาแสง โครงสรา้ งอาจจะประกอบไปด้วยช้ันของพลาสตกิ หลาย ๆ ช้ัน
นอกจากนั้นส่วนปอ้ งกันยังทาหน้าทเ่ี ปน็ ตัวป้องกนั จากแรงกระทาภายนอกอีกดว้ ย

สว่ นประกอบของสายใยแก้วนาแสง

วิธกี ารรับ – สง่ ขอ้ มลู ของสายใยแกว้ นาแสง

1. สายใยแกว้ นาแสงใช้แสงเปน็ ตวั สง่ สัญญาณ

22

2. ซงึ่ มี LED (Light Emitting Diode) หรอื ILD (Injection Laser Diode) เปน็ ตน้ กาเนดิ แสง
(แปลงจากสัญญาณไฟฟา้ เป็นสญั ญาณแสง)

3. เม่ือถึงปลายทางก็จะมี Photo Diode แปลงจากสัญญาณแสงใหก้ ลับเปน็ สัญญาณไฟฟ้า
เหมอื นเดิม

LED & ILD

LED Photo Diode ILD

เปรยี บเทียบระหว่าง LED และ ILD

คณุ สมบัติ LED ILD
อตั ราการส่งขอ้ มลู สูง
ระยะทาง ตา่ ยาว
อายุการใชง้ าน สั้น สนั้
นาน

ความไวต่ออุณหภมู ิ น้อย 23
อันตรายต่อคน นอ้ ย
ราคา ไมแ่ พง มากพอสมควร
โหมด Multimode อนั ตรายต่อสายตา
แพง
Multimode หรือ
Single Mode

วิธีการส่งสัญญาณในสายใยแกว้ นาแสง

1. Multimode Step Index
2. Multimode Graded Index
3. Single Mode

Multimode Step Index

Multimode Graded Index
Single Mode

24

หวั เชอ่ื มตอ่ ทใี่ ชก้ บั สายใยแกว้ นาแสง

สอ่ื ประเภทกระจายคลนื่ หรอื ส่ือประเภทไร้สาย ( Wireless Media)

1. คลน่ื วิทยุ (Broadcast Radio)
2. สญั ญาณไมโครเวฟ (Microwave)
3. แบบภาคพนื้ ดนิ (Terrestrial Microwave)
4. แบบดาวเทียม (Satellite Microwave)
5. วิทยุเซลลลู าร์ (Cellular Radio)
6. วทิ ยุสเปรดสเปกตรมั (Spread Spectrum Radio)
7. สญั ญาณอนิ ฟราเรด (Infrared

คลน่ื วิทยุ (Broadcast Radio)

 มกี ารแพร่กระจายออกอากาศโดยท่วั ไปทงั้ ในระบบ AM และ FM

25

 มคี วามถ่ีอยใู่ นช่วง 30 – 300 MHz
 การแพร่กระจายคล่ืนหรอื การสง่ ออกอากาศจะเกิดขน้ึ ในทกุ ทิศทาง (Omni directional)
 แม้วา่ รูปแบบของการแพร่คล่ืนสัญญาณทั่วไปจะเป็นแบบวงกลม แต่การใช้เทคโนโลยีขนั้ สูงเข้า

ชว่ ยจะสามารถสรา้ งรูปทรงแบบวงรีข้ึนมาได้ เพ่ือหลกี เลย่ี งพืน้ ท่ีทับซ้อนของสัญญาณจากสถานี
ข้างเคยี ง

ย่านความถ่ี ชื่อ Data Rate การใช้งาน
<1 bps
0-30 KHz Very Low Frequency 1-100 bps โทรศพั ท์
10-10,000 bps
300-300 KHz Low Frequency ใช้นาทาง
10-30,000 bps
300-3,000 Medium Frequency To 100 Kbps คลน่ื วทิ ยุ AM
KHz
Shortwave
3-30 MHz High Frequency
คลื่นโทรทศั ท์ VHF,
30-300 MHz Very High Frequency วทิ ยุ FM

300-3,000 Ultra High Frequency To 10 Mbps คลื่นโทรทัศน์ UHF,
MHz Terrestrial
Microwave
3-30 GHz Super High Frequency To 100 Mbps
Terrestrial
30-300 GHz Extremely High Frequency To 740 Mbps Microwave,
Satellite Microwave
>300 GHz Infrared >740 Mbps
Lasers ใชส้ าหรับทดลอง

Ultraviole TV Remote Control
Fiber-Optic, การ
ผา่ ตดั ,
มองเหน็ ด้วยตาเปลา่

26

ไม่สามารถมองเหน็ ดว้ ย
ตาเปลา่

ย่านความถข่ี องสญั ญาณ

ข้อดขี องคลื่นวิทยุ

 ติดตงั้ งา่ ย อปุ กรณ์ราคาไม่แพงมากนัก
 สามารถทะลสุ ่ิงกีดขวางได้
 แพร่กระจายสญั ญาณแบบวงกลมหรือวงรี ทาใหเ้ คร่อื งรับสญั ญาณท่ีอยู่ในระยะสามารถรับ

สัญญาณได้ โดยไม่ต้องหันหน้าอุปกรณใ์ หต้ รงกนั (ยกเว้นเสาอากาศโทรทศั น์)

ข้อเสยี ของคลื่นวทิ ยุ
 อัตราการสง่ ข้อมลู ต่า

 สามารถถูกคลนื่ สญั ญาณอืน่ รวมทงั้ สภาพอากาศ และอณุ หภมู ิรบกวนได้
 ต้องขออนญุ าตใช้ความถจี่ ากหนว่ ยงานทร่ี ับผิดชอบก่อน

ไมโครเวฟ (Microwave)

 คลืน่ ไมโครเวฟทใี่ ชถ้ า่ ยทอดสัญญาณมีความถีส่ งู มาก (3-30 GHz)ทาใหส้ ามารถสง่ ข้อมูลออกไป
ดว้ ยอัตราความเร็วที่สงู มาก

 สญั ญาณเดินทางเป็นแนวเสน้ ตรง (Line-of-Sight Transmission) จงึ เรยี กวา่ เปน็ สญั ญาณทศิ ทาง
เดียว (Unidirectional)

 ไมโครเวฟแบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ
 ไมโครเวฟชนิดต้ังบนพนื้ ดนิ (Terrestrial Microwave)
 ไมโครเวฟชนดิ ดาวเทียม (Satellite Microwave

ไมโครเวฟชนิดตัง้ บนพนื้ ดิน

27

 ส่งสญั ญาณแลกเปลย่ี นกันระหว่างสถานบี นพน้ื ดนิ (Earth Station) สองสถานี
 โดยปกติขนาดของจานรับ-ส่งสญั ญาณ (Dish) จะมีเสน้ ผ่าศูนย์กลางประมาณ 10 ฟุต
 โดยปกติสถานบี นพ้นื ดินต้ังอยู่ห่างกนั ไม่เกนิ 40-48 กโิ ลเมตร และอาจไกลถึง 88 กโิ ลเมตร ถ้า

สถานีทง้ั สองตงั้ อยู่ห่างจากพ้ืนดินมากๆ
 ระหว่างสองสถานจี ะต้องไมม่ ีวตั ถุใดๆ ขวางกน้ั ระหวา่ งสองสถานี

ข้อดขี องไมโครเวฟชนดิ ต้งั บนพืน้ ดิน

 กาลงั สง่ สงู ครอบคลมุ พ้ืนท่ีส่ือสารได้กว้าง โดยจะสง่ เปน็ ทอดๆ
 อัตราในการส่งข้อมูลสูง
 ใชย้ า่ นความถส่ี ูงทาใหถ้ ูกรบกวนจากสญั ญาณอื่นไดย้ าก
 ชว่ ยขจัดปญั หาในเรือ่ งสถานท่ตี ั้ง หรือภูมิประเทศท่ยี ากต่อการเช่อื มต่อสายสอื่ สาร

ขอ้ เสียของไมโครเวฟชนิดตัง้ บนพื้นดิน

 ถกู รบกวนไดง้ ่ายจากคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า อุณหภมู ิ และภูมิอากาศ
 อปุ กรณ์ และค่าใช้จา่ ยในการติดตัง้ มรี าคาแพง
 ต้องขออนญุ าตใช้ความถี่จากหนว่ ยงานทรี่ บั ผิดชอบ
 ต้องอาศัยผูม้ ีความเชยี่ วชาญในการตดิ ตง้ั และบารุงรกั ษา

ไมโครเวฟชนิดดาวเทียม

1. ประกอบดว้ ยดาวเทียมหนึง่ ดวง ซ่งึ จะตอ้ งทางานรว่ มกบั สถานีพื้นดินตั้งแต่สองสถานีข้นึ ไป
2. สถานพี ื้นดินถูกนามาใช้เพื่อการรบั และส่งสญั ญาณไปยังดาวเทยี ม
3. ดาวเทยี มทาหน้าทีเ่ ป็นอปุ กรณท์ วนสัญญาณ ซงึ่ จะถูกส่งกลบั ลงมาบนพื้นโลก
4. ดาวเทยี มสว่ นใหญ่ลอยอย่เู หนอื พ้ืนโลกประมาณ 35,680 กโิ ลเมตร ตามแนวเสน้ ศูนย์สูตร
5. เรยี กวา่ ดาวเทียมวงโคจรสถติ ย์ (Geosynchronous Orbiting Satellites: GEOS)

พนื้ ท่รี บั สัญญาณ (Footprint)

เนอื่ งจากสญั ญาณดาวเทยี มเดินทางเป็นเสน้ ตรงเทา่ น้ัน ทาใหส้ ัญญาณท่สี ่งมาบนพ้ืนโลกมี
พืน้ ทเ่ี พยี งบางสว่ นเทา่ นั้น ทสี่ ามารถรับสัญญาณได้ เรยี กวา่ “พนื้ ทร่ี ับสัญญาณ” (Footprint)

28

Footprint อาจมอี าณาเขตกวา้ งปกคลมุ พ้นื ท่ขี องหลายประเทศ หรืออาจเป็นพื้นท่ีที่มี
เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางเพียง 2-3 กโิ ลเมตรก็ได้ดังนน้ั การใชด้ าวเทียม GEOS เพยี ง 3 ดวงก็สามารถถ่ายทอด
สญั ญาณได้ครอบคลมุ พ้ืนทท่ี ั่วโลก

การรับ-สง่ สัญญาณของดาวเทยี ม

1. ดาวเทียมใชเ้ สาอากาศรับสัญญาณท่ีส่งข้นึ ไปจากพ้ืนโลก (Uplink)
2. จากน้ันจะทาการขยายสญั ญาณใหม้ ีความชัดเจนมากขึน้ และเปล่ยี นขนาดความถ่คี ลื่น
3. แลว้ จึงใชอ้ ุปกรณ์ท่ที าหนา้ ทีส่ ่งสัญญาณ (Transponder) เพ่อื สง่ สัญญาณกลบั ลงมายงั พื้นโลก

(Downlink)
4. การแยกคลืน่ ความถี่ของ Uplink และ Downlink เพื่อไม่ให้รบกวน ซ่ึงกนั และกัน

การหน่วงเวลา (Propagation Delay)

เน่อื งจากดาวเทียมมีระยะทางหา่ งจากพืน้ โลกมาก การสง่ สญั ญาณจากพ้ืนโลกขนึ้ ไป หรือการส่ง
สัญญาณจากดาวเทียมลงมาจะตอ้ งใช้ระยะเวลาหน่ึง ระยะเวลาการหนว่ งเวลาของดาวเทียมจะมีตั้งแต่
ครึ่งวินาทสี าหรับการถ่ายทอดข้อมูลคอมพิวเตอร์ ไปจนถึงสามวินาทีสาหรบั การถ่ายทอดสัญญาณเสยี ง
และโทรทัศน์

ดาวเทียมแบบวงโคจรตา่

 Low Earth Orbiting Satellite (LEOS)
 มรี ศั มโี คจรเพียง 520 – 1600 กโิ ลเมตร จากผิวโลก
 ใช้เวลาในการโคจรรอบโลกเพียง 90 – 100 นาที
 ขอ้ ดีคอื อุปกรณ์ในการรบั -ส่งสัญญาณไมต่ อ้ งมกี าลงั มากนัก และสามารถกาหนดวงโคจรตามแนวขั้ว

โลกเหนือ-ใตไ้ ด้
 ในการใช้งานจึงจาเปน็ ต้องใช้ดาวเทยี มมากถึง 12 ดวง จึงจะครอบคลุมพน้ื ทท่ี ่ัวโลก

ดาวเทียมวงโคจรระยะกลาง

 Medium Earth Orbiting Satellite (MEOS)
 โคจรหา่ งผวิ โลกประมาณ 9,600 – 16,000 กิโลเมตร
 มีคณุ สมบัติผสมระหวา่ งดาวเทียม GEOS และ LEOS

29

 การใชง้ านสอื่ สารขอบเขตให้ครอบคลุมทว่ั โลกต้องใช้ดาวเทยี ม 6 ดวง

การนาดาวเทียมมาประยุกตใ์ ช้งาน

1. นามาใช้ในการสื่อสารไร้สายสาหรับโทรศัพท์และอปุ กรณส์ ื่อสารขอ้ มลู ประเภทพกพา (Mobile
Satellite Service)

2. การแพรส่ ญั ญาณคลืน่ ผา่ นดาวเทียม (Direct Broadcast Satellite)
3. ระบบชต้ี าแหนง่ (Global Positioning System: GPS)

ข้อดีของไมโครเวฟแบบดาวเทยี ม

 มอี ัตราการสง่ ข้อมลู สูง
 สามารถครอบคลุมพ้ืนที่การสื่อสารไดท้ ัว่ โลก

ขอ้ เสยี ของไมโครเวฟแบบดาวเทียม

 ตอ้ งลงทุนมากนับหม่ืนลา้ นบาท
 การตดิ ต้งั ระบบ และดูแลรักษาต้องใชผ้ ้มู ีความเชย่ี วชาญเฉพาะ
 มกี ารหน่วงเวลา ทาให้ไม่เหมาะกบั งานแบบที่ตอ้ งการผลลพั ธท์ นั ที
 ถูกรบกวนจากสภาพภูมิอากาศได้

วิทยเุ ซลลูลาร์ (Cellular Radio)

ใชใ้ นการรบั -ส่งสัญญาณเสยี งสนทนาหรือข้อมูลอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ทอ่ี าศัยสอ่ื ประเภทคล่ืนสัญญาณวิทยุ
มีระยะการรบั -สง่ สญั ญาณทจี่ ากัดอย่ภู ายในพ้ืนที่หน่ึง เรียกว่า “เซลล์” (Cell)

เซลล์ (Cell)

เซลลแ์ ตล่ ะเซลลจ์ ะมีเสาอากาศสาหรบั รบั และส่งสญั ญาณเป็นของตนเอง เนื่องจากเซลลม์ ี
อาณาเขตตดิ ต่อกบั เซลลอ์ ่ืนท่ีอยู่ตดิ กันทกุ ด้าน จึงจาเป็นต้องใชค้ ลื่นสญั ญาณทมี่ ีพลังงานต่า เมือ่ ผ้ใู ช้
นาอปุ กรณร์ บั -สง่ สญั ญาณข้ามเขตจากเซลล์หน่ึงไปยงั อีกเซลลห์ นึ่ง เรียกวา่ “การโอนการติดตอ่ ”
(Roaming)

พ้นื ท่กี ารติดต่อของเซลลลู าร์

30

Cell Site

ขอ้ ดขี องเซลลลู าร์

 สามารถโอนการติดต่อเม่ือผ้ใู ช้เคล่อื นทอ่ี อกจากพื้นที่เซลล์หนง่ึ ไปยังอกี เซลลห์ นึง่ ได้ โดยทีย่ ังสามารถ
รบั -สง่ ข้อมลู อยา่ งต่อเนอื่ งได้

 คุณภาพของเสยี ง เน่อื งจากมีการรบั -สง่ สญั ญาณแบบดจิ ิตอลจงึ มีความคมชดั กวา่ แบบอนาลอ็ กมาก
 มกี ารเขา้ รหัสสัญญาณดิจิตอลท่ีส่งออกไป ทาให้ผู้ลกั ลอบดักฟงั ไม่สามารถเข้าใจได้

31

ข้อเสียของเซลลลู าร์

 เวลาใช้งานโทรศัพทแ์ ต่ละเครื่องก็จะต้องใช้ความถท่ี ่ีแตกต่างกนั ทาให้เมือ่ มผี ู้ใช้งานโทรศัพท์พรอ้ มกัน
มากๆ จะทาให้ไมส่ ามารถทาการติดต่อสือ่ สารได้

 เซลลม์ ีขนาดเล็กครอบคลุมพื้นที่ไม่กวา้ งมากนกั ทาให้ตอ้ งติดตงั้ เสาสญั ญาณ (Cell Site) จานวนมาก
 หากอยใู่ นอาคารหรอื ในตัวเมืองใหญๆ่ อาจเกิดจุดอับของสญั ญาณได้

วทิ ยุแบบสเปรดสเปกตรัม (Spread Spectrum)

1. ใช้วธิ ีการส่งสญั ญาณออกไปหลายคลนื่ ความถ่ีพรอ้ มๆ กันภายใน แถบคลน่ื (Spectrum) ทีก่ าหนด
2. สามารถปอ้ งกันการดกั ฟงั สญั ญาณ และทาใหก้ ารรบกวนการสือ่ สารทาได้ยาก
3. ปัจจบุ นั ไดน้ าเทคนคิ น้มี าใชส้ าหรบั การส่ือสารไรส้ ายของระบบเครอื ข่ายเฉพาะบริเวณ (Wireless LAN)
เทคนคิ ในการสง่ มี 2 แบบ
Frequency Hopping Spread Spectrum (FHSS)

Direct Sequence Spread Spectrum (DSSS)

Frequency Hopping Spread Spectrum

สญั ญาณจะถูกส่งออกไปท่ีคล่นื ความถี่แรก ซึง่ เลอื กมาจากการสุ่มจากแถบคล่ืนที่กาหนดเป็น
ระยะเวลาท่ีสั้นมาก จากน้ันก็เปลี่ยน (กระโดด หรือ Hopping) ไปใช้คล่ืนความถ่ีท่ีสอง ซึ่งเลือกโดย
การสุ่มข้นึ มาเหมอื นกนั แล้วจึง Hopping ไปใชค้ ลน่ื ความถ่อี น่ื สลับกนั ไปเรือ่ ยๆ ในระบบนที้ ั้งเครอ่ื งส่ง
และเครื่องรับสัญญาณจาเป็นจาต้องทราบวิธีการเลือกหรือทราบลาดับการเลือกใช้คล่ืนสัญญาณ
รวมท้ังระยะเวลาการสง่ ในช่วงคล่นื นั้นๆ ท่ีถูกต้อง จึงจะสามารถรับ-สง่ สัญญาณได้

ขอ้ ดขี อง FHSS

 เคร่ืองสง่ ใชพ้ ลังงานน้อยกวา่ แบบ DSSS
 อปุ กรณ์มขี นาดเลก็
 มรี าคาถูกกว่าแบบ DSSS

Direct Sequence Spread Spectrum

32

สง่ สัญญาณออกไปทุกความถ่ีในแถบคล่ืนที่กาหนดพร้อมๆ กัน ขอ้ มลู จะถูกแบ่งออกเป็นรหัส
ย่อย เรียกว่า “Chip” ซึ่งจะถูกกระจายและส่งออกไปในคล่ืนความถ่ีต่างๆ กันทางด้านเครื่องผู้รับก็
จะต้องทราบวิธีการคน้ หา และนา Chip มาประกอบกนั เปน็ ขอ้ มลู ตามเดิม

ขอ้ ดีของ DSSS

 สง่ ข้อมลู ในอัตราทส่ี ูง
 ถกู รบกวนได้น้อยกวา่ แบบ FHSS
 มีระยะการรบั -สง่ ขอ้ มูลถงึ 1,000 ฟตุ หรอื ประมาณ 330 เมตร

แสงอินฟราเรด (Infrared)

แสงอินฟราเรดเป็นคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic) ท่ีมีความถ่ีระหว่างแสงที่ตา
มองเห็น และคลื่นวิทยุเม่ือก่อนนามาใช้ควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าท่ัวไปปัจจุบันนามาใช้ในการสื่อสารไร้
สายสาหรบั เครือข่าย LAN เรียกวา่ การส่งสัญญาณด้วยแสงอนิ ฟราเรด (Infrared Transmission)

คณุ สมบัติของแสงอินฟราเรด

1. ลาแสงอินฟราเรดเดินทางในแนวเส้นตรง
2. สามารถสะท้อนบนวัตถุผวิ เรียบได้เหมือนแสงทว่ั ไป
3. เม่ือนามาใช้สาหรับการสื่อสารในเครือข่าย LAN สามารถส่งสัญญาณได้ในระยะทางประมาณ 30-80 ฟุต

หรอื ประมาณ 10-30 เมตร
4. จัดเป็นส่อื ทม่ี ชี ่องสือ่ สารกว้างพอประมาณ และอย่ใู นระดบั สงู เมือ่ เทยี บกับสอื่ ประเภทสายลวดทองแดง

ชอ่ งสอ่ื สาร IrDA (Infrared Data Association)

เป็นมาตรฐานจัดต้ังข้ึนมาจากความร่วมมือระหว่างกลุ่มบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ท่ัวไป
ช่วยให้สามารถส่ือสารถึงกันได้โดยไม่ต้องติดต้ังสาย เคร่ืองคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ประกอบ และ
โทรศพั ทม์ อื ถือ ชนดิ ใหม่ๆ มกั จะมชี ่องสื่อสารอนิ ฟราเรดตดิ ต้งั มาดว้ ย

33

ข้อดีของอนิ ฟราเรด

 ไมต่ ้องตดิ ต้ังสายส่ือสาร
 งา่ ยต่อการโยกย้ายตาแหน่งของอุปกรณ์
 มชี อ่ งส่อื สารกว้างสูงกว่าสือ่ ประเภทสายสวดทองแดง
ขอ้ เสยี ของอินฟราเรด
 สญั ญาณจะลดทอนไปตามระยะทาง
 ไม่สามารถทะลสุ ง่ิ กีดขวางได้
 อัตราเร็วในการส่งข้อมลู ต่าเม่อื เทียบกับสอื่ ประเภทไร้สายชนิดอนื่ ๆ
Bluetooth

พฒั นาโดย Ericssons, Toshiba และ Intelเปน็ เทคโนโลยที ีใ่ ชส้ ่งคลื่นวิทยุในระยะทางใกลๆ้ ระหว่าง
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ออกแบบมาให้มีราคาถูกและใช้พลังงานต่า Bluetooth ใช้ช่วงความถ่ีระหว่าง
2.402 GHz ถึง 2.480 GHz ระยะทางท่ีสามารถใช้ Bluetooth ได้10 เมตร และสามารถเพิ่มกาลังส่ง
ได้ถงึ 100 เมตร สามารถเช่ือมต่อกบั อปุ กรณไ์ ด้ 8 ชนดิ
เครือขา่ ย Bluetooth

Wifi(Wireless LAN)

มาตรฐาน IEEE 802.11b ในปี 2542 ใช้คลื่นวิทยุท่ีความถี่ 902 - 928 MHz และ 2.4 -
2.484 GHzถา่ ยทอดข้อมูลดว้ ยความเร็ว 1, 2, 5.5, 11, 22 และ 54 Mbps ในปัจจบุ นั มีจดุ เด่นตรงท่ี

34

ไม่ต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสายสื่อสาร แต่อุปกรณ์จะมีราคาสูงกว่าเครือข่ายแบบใช้
สายสอ่ื สาร

Wifi

อปุ กรณส์ าหรบั Wifi Adapter

Access Point

35

WiMAX (Worldwide Interoperability for Microwave Access)
เป็นระบบเครือขา่ ยความเรว็ สงู มพี ้นื ที่ใหบ้ ริการครอบคลมุ กวา้ งขวางไดห้ ลายกิโลเมตร

มาตรฐานเทคโนโลยี WiMAX รุ่นแรกเปิดตัวในปี พ.ศ. 2548 ยังไม่สามารถรองรับการใช้งาน
อุปกรณ์สื่อสารที่มีการเคล่ือนที่ได้ใช้คล่ืนความถี่ 2.5, 3.5 และ 5 GHz ซ่ึงยังไม่ได้รับการจัดสรร
เป็นย่านความถี่สาธารณะในประเทศไทยเลยสามารถให้บริการแก่ผู้ใช้ในรัศมี 48 กิโลเมตร
ความเรว็ สงู สดุ ประมาณ 70 Mbps
เครอื ขา่ ย WiMAX

การเลอื กสอื่

 ราคาของส่ือ
 ความเร็วในการส่ือสาร
 อัตราความผดิ เพย้ี นของข้อมลู
 ความปลอดภยั ของข้อมลู

เปรียบเทยี บความเรว็ ในการสอ่ื สารขอ้ มูล

36

เอกสารอ้างองิ
เวบ็ : https://sites.google.com/site/bebenzkanokkan/sux-laea-tawklang-khxng-rabb-

suxsar-khxmul-sahrab-kherux-khay-khxmphiwtexr :สบื ค้นวนั ที่ 5 พฤศจิกายน 2562
เวบ็ : https://sites.google.com/site/krusiththikr9304/bth-thi-3-sux-klang-sng-khxmul-

laea-kar-rab-sng-khxmul-bn-kherux-khay :สบื ค้นวันท่ี 5 พฤศจกิ ายน 2562
เว็บ: https://ployphan17.files.wordpress.com/2011/02/chapter2.ppt

:สบื ค้นวนั ท่ี 5 พฤศจกิ ายน 2562

37


Click to View FlipBook Version