The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-book รัชนีกร จีนบวช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by รัชนีกร จีนบวช, 2020-06-06 18:16:55

E-book รัชนีกร จีนบวช

E-book รัชนีกร จีนบวช

Pocket E-book
รายวชิ า

การพยาบาลผใู้ หญ่ 2

NURNS09

รายวิชา การพยาบาลผ้ใู หญ่ 2 NURNS09

สรปุ บทที่ 1

เรื่อง แนวคดิ ทฤษฎี หลกั การพยาบาลในวัยผูใ้ หญท่ ่ี
มภี าวการณเ์ จบ็ ปว่ ยเฉยี บพลัน วกิ ฤต

เร่ือง แนวคดิ ทฤษฎี หลกั การพยาบาลในวยั ผ้ใู หญ่ท่มี ีภาวการณ์เจ็บป่ วยเฉียบพลนั วกิ ฤต

1.ความหมาย

เจ็บป่วยภาวะเฉยี บพลัน วกิ ฤต เป็นการเจบ็ ปว่ ยทค่ี กุ คามตอ่ ชวี ิตต้อง
ได้รบั การชว่ ยเหลือทนั ทว่ งที เพราะจะพกิ ารและเสียชีวิตได้ ดงั นน้ั พยาบาล
ตอ้ งมคี วามรู้ ความเข้าใจ ใกลช้ ิด และดแู ล Pt. เปน็ องคร์ วมดว้ ยหัวใจความ
เป็นมนษุ ย์

2.ววิ ัฒนาการของการดูแลผู้ป่ วยเจบ็ ป่ วย
ภาวะเฉียบพลัน วกิ ฤต

ผ้ปู ่วยภาวะเฉียบพลนั วกิ ฤต จะถกู จดั ให้รักษาในหน่วยพเิ ศษ คอื
ไอซยี ู จดั ตงั้ ครัง้ แรกในประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ. 1950 มีการใช้ยา
นอนหลบั ยาแก้ปวด ทาให้มีผลกระทบ หรือภาวะแทรกซ้อน ดงั นนั้ ปัจจบุ นั
จงึ เปลี่ยนมาเป็นการดแู ลแบบคอ่ ยเป็นคอ่ ยไปโดยให้มีความปลอดภยั และ
ให้มีอนั ตรายน้อยที่สดุ พฒั นาการตดิ ตอ่ สอ่ื สารกบั ผ้ปู ่วยและญาติ เน้นการ
ทางานเป็นทีมกบั สหสาขาวิชาชีพ คานงึ ถงึ ความเป็นบคุ คลและครอบครัว
ของผ้ปู ่วยให้มากขนึ ้

3.ประเด็นปญั หาที่เก่ียวข้องเกี่ยวกับการดแู ลผปู้ ว่ ยภาวการณเ์ จบ็ ปว่ ย
เฉียบพลัน วกิ ฤต

1.มปี ัญหาซับซ้อนต้องใช้อปุ กรณ์ขนั้ สูงดูแลใกล้ชิด จงึ จาเป็นต้องมีต้องมสี ถานท่หี รอื มี
หน่วยและทมี สขุ ภาพทม่ี ีความรคู้ วามสามารถเฉพาะทาง
2. ผู้ป่วยมีจานวนมากขนึ้
3.เมื่อมีการทางานแบบสหวชิ าชพี ทาใหเ้ กิดปัญหาในหลายๆด้าน เชน่ การจัดการ
ทางเดนิ หายใจ การสอดสายเข้าไปในรา่ งกายเพ่ือตรวจการรักษา และเฝา้ ระวังการ
เปลี่ยนแปลง การใช้ยา
4. เกดิ โรคอุบตั ิซ้า โรคอุบัตใิ หม่ เช่น เกิดจากการติดเชอ้ื ในโรงพยาบาล โรคตดิ เช้ือซา้
และรนุ แรงข้ึนเชน่ โรคเอดส์ รวมทง้ั การเกิดโรคอบุ ัตใิ หมท่ กี่ าลังเกิดขน้ึ ในปัจจุบัน
ไดแ้ ก่ โรค Cov-19
5.มีผไู้ ด้รบั ผลกระทบจากการเกดิ โรคระบาดมากข้นึ เช่น อุบตั กิ ารณ์โรคไขห้ วดั ใหญ่
2009
6. การเข้าสู่สังคมเมอ่ื เจ็บปว่ ยมคี วามรุนแรงกวา่ กล่มุ อืน่
7.การได้รบั บาดเจบ็ เพ่ิมมากขนึ้ ทง้ั จากอุบตั ิเหตุ อุบตั ิภยั และการถูกทาร้ายร่างกาย
8.การใช้เทคโนโลยีขนั้ สูงสง่ ผลความเป็นบุคคล จติ วญิ าณ เกิด ICU delilium เกิด
ปญั หาจริยธรรม เกิดภาระคา่ ใช้จา่ ย ยา รวมทง้ั ภาวะเศรษฐกิจของประเทศจากการ
นาเขา้
9.ประชากรเข้าถึงบรกิ ารมากข้ึน
10.มผี ู้รบั บริการจานวนมาก ขณะที่ประเทศประสบปัญหาขาดแคลนบุคลากรทางการ
พยาบาล รวมท้งั ผมู้ ีความร้คู วามสามารถด้านพยาบาลผปู้ ว่ ยวิกฤต
11.ความชกุ ICU delilium ในผสู้ งู อายทุ ่ีใช้เคร่อื งช่วยหายใจ
12.พบประชากรปว่ ยเปน็ โรคหัวใจ เปน็ อันดับ 1 ของประเทศ ซึ่งได้มพี ัฒนาการการ
ช่วยชีวิตฉกุ เฉนิ โดยมีเส้นทางดว่ น หรือ Fast tract ในโรงพยาบาลระดบั ตตยิ ภูมิ
และพฒั นาส่งตอ่ ทกุ ระดับมปี ระสทิ ธภิ าพ

4.การดแู ลผู้ป่วยภาวการณ์เจบ็ ปว่ ยเฉยี บพลันวกิ ฤตในปัจจบุ นั

1.ใช้เทคโนโยขน้ั สงู เพอื่ ป้องกนั การเกดิ ICU delirum ลดระยะเวลาอยู่ใน
ไอซียู และลดเวลาอยูโ่ รงพยาบาล
2.ลดความเขม้ งวดในการเย่ยี มเพอื่ ให้ผู้ปว่ ยและญาตไิ ดม้ สี ว่ นร่วมในการรกั ษา
โดยเฉพาะชว่ งสุดท้ายของชวี ิต
3.การทารว่ มกนั แบบสหวิชาชพี ควรเย่ียมทกุ วนั และทกุ คร้งั ทจี่ าเปน็
4.มีเชื้อด้ือยาเพมิ่ ขน้ึ มงุ่ เน้นการป้องกนั การมมี าตรการป้องกนั การตดิ เชอ้ื ใน
โรงพยาบาล

การพยาบาลผู้ปว่ ยทม่ี กี ารเจบ็ ป่วยภาวะวิกฤต

มี 3 องคป์ ระกอบ1. ผปู้ ว่ ยทม่ี ภี าวะเจ็บปว่ ยวกิ ฤต (Critical ill patient) 2.
การให้การพยาบาลผูป้ ่วยระยะวกิ ฤต(Critical care nurse) 3.ส่ิงแวดลอ้ ม
ภายในหอผู้ป่วย (Critical care environment)

- ดา้ นกายภาพ ได้แก่โครงสร้างทม่ี ที ่ีทางานของพยาบาลอยู่ตรงกลาง มี
เตยี งผปู้ ว่ ยอยูล่ ้อมรอบ พร้อมใหก้ ารชว่ ยเหลือดแู ล มมี ่านกนั้ ระหวา่ งเตียง
ผู้ป่วย เครอ่ื งมอื ซบั ซ้อน

- ดา้ นจิตใจ โดยจากสภาพสง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพในหอผปู้ ว่ ยวกิ ฤต
ก่อให้เกดิ ความเครยี ดแกผ่ ปู้ ว่ ยและครอบครัว ได้แกส่ ง่ิ แวดลอ้ มที่ไมค่ นุ้ เคย
รวมทงั้ ตวั พยาบาลเอง ความคาดหวงั ทงั้ ตนเองและผบู้ ังคับบัญชา ผรู้ ว่ มงาน
เทคนิคยุ่งยาก งานมาก

5.อากรทางคลนิ กิ

1.ภาวะแทรกซ้อนหลงั ผา่ ตดั เช่น เลอื ดออกมาก การติดเชอื้ อย่างรนุ แรงจน
เกดิ ภาวะไตวายเฉียบพลนั
2.ภาวะวกิ ฤตจิ ากโรคเรอ้ื รงั ทมี่ กี ารกาเรบิ ของโรค เชน่ ภาวะหายใจวายใน
ผ้ปู ่วยท่มี ีการอดุ กน้ั ของทางเดนิ หายใจเรอื้ รงั
3.เกิดการบาดเจ็บจากอบุ ตั เิ หตุ เช่นทสี่ มอง อวัยวะลม้ เหลวหลายระบบ
4.การแพย้ า สารเคมหี รอื ไดร้ ับสารพษิ
5.โรคมะเรง็ ลกุ ลามไปอวัยวะสาคัญ

6.สมรรถนะของพยาบาลทด่ี แู ลผู้ปว่ ยภาวะการเจ็บป่วย เฉยี บพลัน
วิกฤต

องค์ประกอบ
1.ความรู้ (knowledge) เช่น ความรดู้ า้ นภาษาองั กฤษ
2.ทักษะ (skill) คือ ความชานาญหรอื ความสามารถในการกระทาหรอื การปฏบิ ัติ
อยา่ งใดอยา่ งหน่งึ
3.ทศั นคติ (attitude) คา่ นิยม และความคิดเห็นเก่ยี วกับภาพลกั ษณข์ องตน เช่น
ความเชอ่ื มัน่ ในตนเอง
4.บคุ ลิกลักษณะประจาตัวของบุคคล (traits) เช่น การเป็นคนทีน่ า่ เชื่อถอื และ
ไว้วางใจ
5.แรงขบั ภายใน (motives) เช่น บุคลที่ม่งุ ผลสาเร็จมักตง้ั เป้าหมายท่ีท้าทายและ
พยามทาให้สาเร็จตามเป้าหมายท่ีต้ังไว้ ตลอดจนปรบั ปรุงวิธีการทางานของตนเอง
ตลอดเวลา

สมรรถนะของพยาบาล

1.การประเมนิ สภาพ และวนิ จิ ฉัยการพยาบาล แบบประเมนิ ผู้ปว่ ยภาวะวิกฤตทิ ี่นิยมใช้มาก
คือ แบบประเมินตามกรอบแนวคิดทางการพยาบาล FANCAS มีลาดบั การประเมิน ดงั น้ี ด้าน
ความสมดลุ ของนา้ ด้านการหายใจ ด้านโภชนาการ ด้านการตดิ ตอ่ ส่ือสาร ด้านการทากจิ กรรม
ดา้ นการกระตุ้น
2.วางแผนให้การพยาบาลร่วมกบั สหสาขาวชิ าชพี เพ่อื ประสทิ ธภิ าพ
3.ปฏบิ ัติการพยาบาล ในการจดั การดแู ลชว่ ยเหลอื ในระยะวกิ ฤตและเฉยี บพลนั
3.1ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ เช่นผู้ป่วยเจบ็ หน้าอก หายใจขดั ชอ็ ก
3.2ทาหัตการต่าง ๆ ตามแผนการรักษา เช่นให้สารน้าและเลือด ยา การใช้เครอื่ งช่วยหายใจ
3.3ดูแลความสุขสบาย ประคองด้านจิตใจผู้ปว่ ย สง่ เสรมิ และฟนื้ ฟสู ภาพรา่ งกายและจติ ใจ
4.ดูแลผ้ปู ่วยทางดา้ นรา่ งกาย
5.ดูแลดา้ นจิตสงั คม ได้แก่
5.1ใหก้ ารยอมรับ
5.2การจัดเตรียมข้อมลู เกยี่ วกบั สภาพรา่ งกาย เพือ่ อธิบายแก่ผู้ป่วยและญาติ
5.3กระตนุ้ และให้การสนบั สนนุ ผู้ปว่ ยและญาตใิ นการตัดสินใจในการรกั ษาพยาบาล
5.4การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มในหอผ้ปู ่วยวกิ ฤติใหเ้ หมาะสม
5.5การเตรยี มผปู้ ว่ ยและญาติออกจากหอผู้ปว่ ยวิกฤต
5.6การช่วยเหลอื ป้องกันความเครียดด้านสังคม
6.ประเมนิ ผลการพยาบาล ตามเกณฑท์ ต่ี ้งั ไว้ บนั ทกึ ผลการแระเมนิ ทเี่ กีย่ วขอ้ งกับผูป้ ว่ ย
7.ตัดสินใจแก้ปญั หาใหผ้ ้ปู ่วยในสถานการณต์ า่ ง ๆ
8.เคารพกฎหมายและปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณ แห่งวิชาชพี การพยาบาล
9.ใหก้ ารดูแลอย่างเทา่ เทยี ม
10.รายงานอุบัติการณ์ ทเ่ี กิดข้นึ ในการพยาบาลผปู้ ว่ ย เชน่ การแพย้ า
11.มที กั ษะในการสื่อสาร ทมี งานสขุ ภาพ ผู้ป่วย และญาติ
12.สามารถปฏิบัตหิ นา้ ท่ีในการทางานเปน็ ทมี
13.จัดสภาพแวดล้อมใหม้ ีความปลอดภัย
14.จัดการเก่ียวกับการประกนั คุณภาพทางการพยาบาล
15. การศึกษา อบรม ตอ่ เน่อื งเพอื่ พัฒนาตนเองอยูต่ ลอดเวลา
16. นาหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ งานวิจัยมาใชใ้ นการพยาบาล

6.สมรรถนะของพยาบาลทดี่ แู ลผปู้ ว่ ยภาวะการเจบ็ ป่วย เฉยี บพลนั
วกิ ฤต

องค์ประกอบ
1.ความรู้ (knowledge) เช่น ความรูด้ า้ นภาษาองั กฤษ
2.ทักษะ (skill) คอื ความชานาญหรือความสามารถในการกระทาหรอื การ
ปฏิบัตอิ ย่างใดอย่างหนงึ่
3.ทศั นคติ (attitude) ค่านยิ ม และความคดิ เห็นเกย่ี วกับภาพลกั ษณข์ องตน
เชน่ ความเชอื่ มน่ั ในตนเอง
4.บคุ ลกิ ลกั ษณะประจาตัวของบุคคล (traits) เชน่ การเป็นคนทน่ี า่ เชอ่ื ถอื และ
ไวว้ างใจ
5.แรงขบั ภายใน (motives) เช่น บคุ ลที่มงุ่ ผลสาเรจ็ มกั ตั้งเป้าหมายทที่ า้ ทาย
และพยามทาให้สาเรจ็ ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ตลอดจนปรับปรุงวธิ ีการทางาน
ของตนเองตลอดเวลา

7.การใชก้ ระบวนการพยาบาลผปู้ ว่ ยภาวการณเ์ จ็บป่วย เฉยี บพลัน
วกิ ฤต

1.การประเมนิ สภาพ (Assessment)
2.การวนิ จิ ฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
3.การวางแผนการพยาบาล (Planning )
4.การปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล ( Implementation)
5.การประเมนิ ผลการพยาบาล (Evaluation)

8.การใชท้ ฤษฎกี ารปรับตัวของรอยในการดแู ลผปู้ ่วยภาวะการ
เจ็บปว่ ย เฉียบพลนั วกิ ฤต

ใช้ทฤษฎีการปรบั ตัวของรอยมีประโยชน์ทาใหม้ องบคุ คลเป็นองค์รวม
ประกอบดว้ ย 4 ด้าน คือ ร่างกาย อัตมโนทศั น์ บทบาทหนา้ ทแ่ี ละ
ความสัมพนั ธพ์ งึ่ พาระหวา่ งกนั จะเหน็ วา่ รอยได้เน้นการดแู ลทงั้ ดา้ นร่างกาย
และจติ สงั คม ซ่ึงพยาบาลควรนาทฤษฎที างการพยาบาลไปใชใ้ นการพยาบาล
ใน สถานการณห์ รอื ภาวการณเ์ จบ็ ป่วยต่าง ๆ ตามขัน้ ตอนของกระบวนการ
พยาบาลซึง่ จะเก่ยี วขอ้ งสัมพนั ธก์ นั ทาใหก้ ารพยาบาลมีคุณภาพมาตรฐาน
ผปู้ ่วยไดร้ บั บริการทม่ี ีประสทิ ธภิ าพและคุณภาพ

9.การประเมินภาวะสขุ ภาพของผปู้ ่วยภาวะการเจ็บปว่ ย เฉยี บพลนั
วกิ ฤต

1.EKG monitor เครอ่ื งวดั ความดัน การไหลเวียนโลหติ (hemodynamics
monitoring)
2.แบบประเมนิ ความเจบ็ ปวดท้งั วาจาและพฤตกิ รรม
3.แบบประเมนิ ความรุนแรงของความเจบ็ ป่วยวกิ ฤต
4.แบบประเมนิ ภาวะเครียดและความวติ กกงั วล
5.แบบประเมนิ ภาวะสบั สน เฉียบพลนั ในผปู้ ว่ ยไอซยี ู

10.การประเมนิ ความรุนแรงของผปู้ ว่ ยภาวะการเจบ็ ป่วยวิกฤต
(Acute Physiology and Critical Health Evaluation)

เปน็ เคร่อื งมอื ทใี่ ช้ในการประเมนิ และจัดแบ่งกลุม่ ผปู้ ่วยตามความ
รนุ แรงของโรค APACHE II score ไดร้ ับการคิดและนามาใชเ้ ป็นครง้ั แรกโดย
นายแพทย์ Knaus และคณะในปี 1985 เพือ่ ใช้ในการประเมนิ ความรนุ แรง
ของอาการปว่ ยของผู้ป่วยที่ตอ้ งเข้ารับการรกั ษาใน ICU รวมทงั้ ใชใ้ นการ
ประเมนิ โอกาสท่ีจะเสยี ชวี ติ และเพ่อื ดวู า่ จาเปน็ ต้องได้รับการดแู ลใกลช้ ดิ มาก
นอ้ ยเพียงใด

ในสว่ นของระบบการใหค้ ะแนน จะมกี ารใหค้ ะแนนโดยอาศยั ค่าตา่ ง ๆ
ทไ่ี ดจ้ ากทางคลนิ กิ เชน่ temperature, HR, RR, BP serum Na,serum K
และอนื่ ๆ มาให้คะแนนมากนอ้ ยตามความรุนแรง ย่ิงถ้าเพีย้ นไปจากคา่ ปกติ
มาก (ไม่ว่าจะไปทางมากหรอื นอ้ ย) กจ็ ะไดค้ ะแนนมากขน้ึ ตามไปดว้ ย คา่
คะแนน กจ็ ะมีไดต้ ัง้ แต่ 0 -71 คะแนน

คิดคะแนน

ค1ดิ.เคมะอื่แนรวนมคะแนนจากตารางด้านลา่ งในแตล่ ะชอ่ ง (รวม 12 ช่อง) แลว้ กจ็ ะเอามาใส่
1ใน.เมหอื่ ัวรขวม้อคะAแนจนาจกานกตนั้ ารกาเ็งอด้าานมลา่ารงใวนมแกตบั่ละคชะอ่ แง น(รนวมตา12มอชอ่างย)ุใแนลขว้ ้อก็จBะเอแาลมะาคใสา่ ใ่ นคหะวัแขน้อนA Cจาhกrนoัน้ nic
กh็เeอาaมltาhรวมpกoบั iคnะtแในนนขต้อามอCายอใุ กีนขก้อจ็ Bะแไลดะค้ คะ่าคแะนแนนนรวCมhอroอnกicมhาeaถl้าthผดิpoไปinจt ใานกขคอ้ ่าCปอกีกตกิม็จาะกได(้ ไม่
ตควะา่ามแจไนะปนไดรปว้ วยทมอคาอา่งคกมะมาแากนถไนา้ปผมดิ ีไหไดปรต้ จืองั้ าแนกต้อค่ 0่าย-ป7ไกป1ต)คมิ ะจาแกะนไ(นไดมค้ค่วะ่าะจแแะนนไนปนยทงิ่มาสงางู มกโาอขกกน้ึไาปสตกหาารมรือตไนาปอ้ยดยกไว้จปะย)ยจงิ่คเะพ่าไคดม่ิ ้คมะะาแแกนนข้ึนนนมมากีไขดึ้น้
2ต.สง้ั แาหตร่ บั 0ผ-้ปู7ว่1ยใคนะชว่แงนpนosคtoะpแeนraนtiยveิง่ สpูงeโrอioกdาจสะกมคีาา่รคตะาแยนกนใจหะ้ตยาิ่งมเลพกั ษิม่ ณมะาขกอขงึ้นการผา่ ตดั
(2e.mสาerหgeรnบั cผyู้ปให่ว้ย5ใคนะชแ่วนงน pหรoือsteolepcetivraetใiหv้e2 pคะeแrนioนd) ผจ้ปู ะ่วยมคีchา่ rคoะniแcนdนiseใหas้ตeาทม่ีมลี oักrษgaณn ะของ
iกnาsuรfผfic่าiตenัดcy(eใหm้ 5eคrgะeแนnนcสyาหใหรบั ้ 5ในแคตะล่ แะนอวนัยวหะรมือีหลeักlสeาcคtัญivคeือ ตให้อง้ เ2ป็นคคะวแามนผนิด)ปกผต้ปู ทิ ่วม่ี ยีมากอ่ นที่
จไhcหดะyhลแ้ไprดกักeoเ้่ rสข1nt้าe.าiรncLคบั siญัvกidoeาคnirรsือรe:รักวจaษตมะsาถต้อeใงึอ้ นงปงทเครไปดรม่ีะงั้น็ร้วีนับตัoคเี้กกิทrวาาg่าารรaนวมม้นัnินี ผuจิ จดิipฉnงึ pปัยจseยะuกrืนนfตGยบัfทิiันIcสbหี่มi่วelรeนมี อืneเากcdbกณyiino่อฑgpใน์อsหจนy่ืทา้ ก5แจี่ๆละpทคว้ ไoวีต่ะดrา่อ้tแ้เมaงขนีlพc้าhนจิiรryาrสบัphราณoeกหrsาาtisสeรรnาับแรหsลกัใiรoะนษบั nมแอาี หpวตใัยoรนล่ อืวrคtะะปaแรอรlตะัง้วล่วนยั ัตะ้ีวสิกะ่วารนมี
เเกทดิ ่าhนe้นั paจtiงึcจeะnนceบั phสaว่ loนpเaกtณhyฑอ์ น่ื ๆ ท่ตี ้องพิจารณาสาหรบั อวยั วะแต่ละส่วน ไดแ้ ก่ 1.
Liver : จะตอ้ งได้รับการวนิ ิจฉัยยนื ยนั หรอื biopsy แล้วว่ามี cirrhosis และมี
portal hypertension รวมถงึ ประวตั กิ ารมี upper GI bleeding จาก portal
hypertension หรือประวตั ิการเกดิ hepatic encephalopathy
2. Respiratory : โรคปอดจากสาเหตใุ ด ๆ ท่ที าใหเ้ หนอื่ ยจนไมส่ ามารถเดินหรือทา
กิจวตั รประจาวนั ได้ หรอื ตรวจพบวา่ มี chronic hypoxia, hypercapnia,
pulmonary hypertension หรือตอ้ งใช้ home O2 หรือ ventilator 3. Renal :
ไตวายและไดร้ ับการรักษาดว้ ย chronic dialysis 4. Immunosuppression : ไม่
วา่ จะเป็นจากโรค (เชน่ HIV) หรอื จากยาท่ีไดเ้ พ่ือการรักษาโรคอื่น ๆ (เชน่ steroid,
chemotherapy หรือ immunosuppressive agent อืน่ ๆ) โดยจะตอ้ งเป็นมาก
พอทจ่ี ะเกิด opportunistic infection ได้

11.แนวคิดการพยาบาลผปู้ ว่ ยภาวะการเจบ็ ป่วย เฉียบพลนั วกิ ฤต
FASTHUG and BANDAIDS

1.Feeding : เรมิ่ feed ให้เรว็ ที่สดุ
2.Analgesia : ประเมนิ ความปวดใหไ้ ด้และควบคุมให้ได้
3.Sedation : การใหย้ าระงบั ประสาท
4.Thromboembolic prevention : การปอ้ งกนั การเกดิ ลม่ิ เลอื ดในหลอด
เลอื ดดา
5.Head of the bed evaluation : การปรับเตยี งใหห้ วั สงู
6.Stress ulcer prophylaxis : การให้ยาปอ้ งกนั เลอื ดออกในกระเพาะ
อาหาร
7.Glucose control : ควบคมุ ระดับนา้ ตาลในเลือดใหอ้ ยใู่ นช่วง 80-200
mg%
8.Bowels address ; ดแู ลเรอ่ื งการขบั ถ่ายเพือ่ ลดของเสยี คัง่
9.Increased daily activity : ส่งเสรมิ การเคลอ่ื นไหว
10.Night time rest : ดูแลเร่อื งการนอนหลบั
11.Disability prevention and discharge planning : การป้องกนั โรค
แทรกซ้อนและการวางแผนจาหนา่ ย
12.Aggressive alveolar maintenance : การปกคลุมถุงลมในปอด
13.Infection prevention : การป้องกนั การตดิ เชอ้ื
14.Delirium assessment and treatment : การประเมนิ และการจดั การ
ภาวะสับสนเฉียบพลัน
15.Skin and spiritual care : การดแู ลผิวหนังและการดูแลมติ จิ ิตวญิ ญาณ

12.แนวปฏิบตั ทิ างการพยาบาลผปู้ ว่ ยภาวะการณเ์ จบ็ ป่วย
เฉยี บพลนั วกิ ฤต



สรุป บทท่ี 3
เรื่อง palliative care in icu & chronic

2.การดแู ลผ้ปู ว่ ยระยะท้ายของชีวิตในผู้ป่วยเรอ้ื รัง

1.ความหมาย
ผ้ปู ว่ ยระยะท้าย (End of life) คือ ผู้ปว่ ยรกั ษาไม่หายมอี าการคงท่ีหรอื แยล่ ง
เจบ็ ปวดทรมาน และดแู ลตวั เองไม่ได้
ประคบั ประคอง (palliative care) ดแู ลผู้ป่วยและญาตมิ ีความสุข ใหผ้ ู้ปว่ ยจาก
ไปอยา่ งสงบ
1.การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายของชวี ิตในหอผู้ปว่ ยไอซยี ู
บริบทของผู้ปว่ ย
-Pt. เจบ็ ป่วยรนุ แรงและคกุ คาม
-ใช้เครือ่ งมือ อปุ กรณ์ทางเทคโนโลยีทันสมยั ซบั ซ้อนหลายอย่าง
-ปกติรบั Pt. อาการหนกั มีโอกาสหายสงู
-ระบุยากว่า Pt. อยูใ่ นระยะไหน
ลกั ษณะผู้ป่วย
-ไดร้ บั การรกั ษาซบั ซอ้ น เครือ่ งมอื หลายชนิดเพื่อใหป้ ลอดภัยลดภาวะแทรกซอ้ น
-เกิดจากอวยั วะล้มเหลว จากโรคหรอื อันตรายต่างๆ
-Pt. มีโอกาสรอดน้อยและมแี นวโน้มวา่ ไมส่ ามารถชว่ ยชีวิตได้
-Pt.ทมี่ ีอาการเปลีย่ นแปลงไปในทางท่แี ย่ลง
แนวทางการดูแล
-ดแู ลองค์รวมตามมาตรฐานวิชาชีพโดยเฉพาะจิตวญิ ญาณเพราะเปน็ ตัวเช่ือมในมิติ
ด้านอ่ืนๆชว่ ยให้ Pt.มีกาลังใจก้าวข้ามปญั หาและอปุ สรรคตา่ งๆ
-ดูแลญาติบุคคลสาคญั ของ Pt. สอดคลอ้ งวฒั นธรรม ความเชอ่ื ศาสนา สังคม โดย
เปดิ โอกาสให้ญาติบอกเลา่ ซักถาม เพ่ือลดความวติ กกงั วล
-ดแู ลจิตใจของตนเองของพยาบาลเพ่อื มีความพร้อมในการดูแลเต็มที่ ป้องกัน
ความโศกเศรา้

ลกั ษณะผปู้ ว่ ย

2.การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายของชีวิตในผปู้ ่วยเรื้อรงั
ลักษณะผปู้ ่วย
-มปี ญั หาซับซอ้ นแย่ลงยากควบคุม/ Pt. รสู้ ึกตัวพดู ได้
-ร่างกายทาหน้าท่ลี ดลงเกิดความทกุ ขท์ รมาน
-กงั วล ซึม มสี ง่ิ คั่งค้าง กลวั การตายโดดเด่ยี ว
แนวทางการดูแล
-ดูแลและแนะนา Pt. และญาติตอบสนองความต้องการทางกาย
-ดแู ลและแนะนา Pt. และญาติในการจัดสภาพแวดล้อมเหมาะสมตอ่ การเยียวยา
-ดูแลตอบสนองด้านจิตใจและอารมณ์ Pt. และญาติ สมั พันธภาพที่ดีต่อ Pt. เข้าใจ
ปฏกิ ริ ยิ าความเจ็บป่วย
-เป็นผ้ฟู ังทด่ี ี ไวต่อความรูส้ กึ อดทนและช่างสงั เกต
-เปิดโอกาสใหค้ วามรว่ มมือกับผูใ้ กลช้ ดิ Pt. ในการดูแล Pt. รวมท้ังการเตรยี มความ
พร้อมในการเข้าหาPt. ของญาติ รวมทงั้ ความพร้อมในการสูญเสีย
-ใหก้ าลังใจครอบครวั และญาติในการนชิ ีวิตแม้ Pt. เสียชีวติ แลว้
แนวทางการดแู ลจิตวญิ ญาณ
-ให้ความรกั เหน็ อกเหน็ ใจ กาลังใจจากญาตชิ ว่ ยให้ Pt. ลดความกังวลและมีความมน่ั คง
ทางจิตใต
-ช่วย Pt. เตรียมรบั ความตาย ปลอ่ ยวาง มเี วลาในการเตรียม
-ใหข้ อ้ มลู เปน็ จรงิ ทิศทางเดียวกนั ให้เวลา อดทน ยอมรบั พฤติกรรมของ Pt. และญาติ
-ชว่ ยใหน้ ึกถึงสิ่งดงี าม จติ ใจสงบ เผชิญความเจ็บป่วยดขี ้ึน
-ปลดสิ่งค้างคาใจ ทาใหต้ ายอยา่ งสงบ
-ประเมนิ ความเจบ็ ใหย้ าตามแผนการรกั ษา
-ปล่อยวาง ไมย่ ึดติดตวั ตน
-สรา้ งบรรยากาศสงบ
-กล่าวอาลาให้ Pt. น้อมใจต่อสิ่งดีงาม ขอขมาในกรรมใดๆท่ลี ่วงเกนิ

3.การพยาบาลผูป้ ่วยดว้ ยหัวใจความเป็นมนษุ ย์
หากมีจิตวญิ ญาณทดี่ ีจะมองโลกในแง่บวกเกดิ ความเขา้ ใจความเจ็บปว่ ยและ

ทรมานของ Pt. และเกิดความต้องการช่วยเหลือ Pt. เจบ็ และทรมานลดลง นาไปส่กู าร
ดูแลดว้ ยหวั ใจความเป็นมนษุ ย์ Pt. ไดร้ ับการดแู ลเป็นองคร์ วม
ลกั ษณะของบคุ คลที่มีจิตวญิ ญาณในการดูแลแบบประคบั ประคอง
-ความสามรถในการตระหนักรู้และจติ ศรัทธา

 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องชวี ิต ความตาย,รสู้ ึกมีคณุ ค่าในตน สรา้ งความรสู้ ึกใน
ตนเอง,เชือ่ มน่ั คุณงามความดี ศรทั ธาการทาดี,เขา้ ใจอารมณ์ความรู้สึก
จดั การได้,ศรัทธาหลกั ธรรมและนามาใชด้ ูแล Pt.

-ยอมรับและเห็นอกเหน็ ใจเพื่อนมนุษย์
 ยอมรบั ความเป็นบุคคลของ Pt.,มีทศั นคติทด่ี ีตอ่ Pt.,เมตตา เหน็ อกเหน็ ใจ
Pt.,เห็นความสาคัญของการดูแลประคบั ประคอง

-พฤตกิ รรมพยาบาลทมี่ ีจติ วิญญาณ
 มคี วามรู้จัดการความปวดดา้ นรา่ งกาย Pt.,ดูแลองคร์ วม สอดคล้องกับ
ศาสนา Pt.,ดแู ลเตรียมตัวการตาย ภาวะหลังการตาย,มีศลิ ปะในการ
สื่อสารกบั Pt. แลญาติ,มคี วามสามารถทางานเป็นทมี

ความสาคัญของการผู้ปว่ ยดว้ ยหวั ใจความเป็นมนุษย์
-ปฏิบัติด้วยรกั เมตตาควบคกู่ ารพยาบาลด้วยความรัก ความชานาญดา้ นการแพทย์และ
การพยาบาล Pt. ฟื้นฟเู ร็ว อาการดีขึ้น
-เน้นใหค้ ณุ ค่า ความตอ้ งการพ้นื ฐาน ดูแลเปน็ องคร์ วมใชห้ ัวใจ ความรัก เมตตาที่
ปรารถนาให้ Pt. พน้ ทกุ ข์ คานงึ สิทธิ วฒั นธรรม ใช้ครอบครัวเปน็ ศนู ยก์ ลาง
หลกั การดูแลผู้ปว่ ยดว้ ยหัวใจความเป็นมนุษย์
-จิตบรกิ ารดแู ลดุจญาติ เท่าเทียม
-ดแู ลทง้ั ร่างกาย จิตใจคงไว้ซง่ึ ศักดศ์ิ รีความเปน็ มนษุ ย์
-เมตตา กรุณา เอ้ืออาทร เอาใจใส่ คณุ คา่ ของความเป็นมนษุ ย์
-ให้ผบู้ ริการมสี ว่ นร่วมในการดูแลตนเอง

ลักษณะของการเป็นผู้ดแู ลผปู้ ่วยระยะท้ายดว้ ยหวั ใจความเป็นมนุษย์

-เมตตา สงสาร เข้าใจ เห็นอกเหน็ ใจ Pt.
-มจี ิตใจอยากชว่ ยเหลอื แสดงออกทั่งกาย วาใจท่ี Pt. สมั ผัสได้
-รู้จกั Pt. ใหช้ ว่ ยเหลือตนเองเหมาะสม รู้เราโดยรู้จักความสารถ จิตใจตน เขา้ ใจตนเอง
ยอมรบั ขีดจากัด การศกึ ษาเพ่ิมเติม จิตมัน่ คง สตติ ่ังมัน่
-ตะหนักความสาคัญตอบสนองทางจิตวิญญาณ
-เขา้ ใจธรรมชาตบิ ุคคล จติ สงั คม รา่ งกาย จิตวิญญาณ
-เขา้ ใจวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ภาษา ศาสนา ตอบสนองเหมาะสม
-เคารพความเป็นบคุ คล ปฏบิ ัติดตี ่อ Pt.
-อดทน ให้อภัย Pt. และญาติ
-ทกั ษะการสือ่ สาร ฟังและสงั เกต
-เป็นผู้ผาสกุ ทางจติ วิญญาณ ความสุขเกิดจากความดี ไม่เหน็ แกต่ วั
-ทางานเปน็ ทีมให้ความรว่ มมือ Pt. เป็นศูนย์กลาง

4.การดูแลแบบประคับประคอง
ดแู ลแบบปอ้ งกนั บรรเทาความทกุ ข์ทรมานตั้งแตร่ ะยะแรกของโรค จาหน่าย

เสียชีวติ และดูแลแบบองคร์ วมช่วย Pt. และระยะท้ายใช้ชีวติ มีคุณภาพและเสยี ชวี ติ
อย่างมีศกั ดศ์ิ รี
แนวทางการพยาบาล
-รกั ษาตามอาการ
-ดูแลการรักษาและพัฒนาชีวติ เพื่อบรรเทาความทกุ ข์ทรมาน
-ชว่ ย Pt. รู้การตายเป็นเร่อื งปกติ ธรรมชาติ
-ใชร้ ูปแบบการทางานพหุวชิ าชพี ดูแลทุกปญั หา
-สนับสนนุ สง่ิ แวดลอ้ มเอ้อื ต่อการมคี ณุ ภาพชวี ิตที่ดขี อง Pt. และญาติ

5.แนวทางการดแู ลผปู้ ่วยเรื้อรงั ที่คุกคามตอ่ ชีวติ แบบประคบั ประคอง
- จดั การสง่ิ แวดล้อม

 ส่งเสริมPt. ,ญาติส่วนรว่ มเตรียมอปุ กรณ์ เคร่อื งใชม้ าในหอ้ ง เตียงอยา่ ง
อสิ ระ

 จัดหอ้ งแยก สัดส่วนท่ีสงบ ญาติกับ Pt. กลา่ วตอ่ กนั ลดส่งิ รบกวน
-จดั ทีมสหวิชาชพี

 วิชาชีพอน่ื มีสว่ นร่วมในทมี สหวิชาชีพข้ึนกบั ปญั หาของ Pt. เชน่
นกั จิตวทิ ยา

 สง่ เสรมิ บุคลากรภายนอกเปน็ อาสมคั รดูแลในทีมสหวิชาชีพ
-ดูแลสอดคล้องวัฒนธรรม Pt. และครอบครัว

 ยดึ Pt. เปน็ ศูนย์กลาง ใชก้ ระบวนการพยาบาล 5 ขั้นตอนในการดูแล
 จดั กิจกรรมบาบัดชว่ ยจิตใจผ่อนคลาย
 เปดิ โอกาส Pt. และครอบครัวปฏิบตั กิ ิจกรรมทางศาสนา
-จัดการความปวดใช้ยา แลไม่ใชย้ า
 กาหนดตามมาตรฐานการใช้ยาใช้รว่ มกับวธิ กี ารไม่ใชย้ า
 ตติ ามความรสู้ ึกตวั ภาวะแทรกซอ้ นท้ังกอ่ นและหลงั ไดร้ บั ยา
-จาหน่วยและสง่ ต่อ
 ประเมินความพรอ้ มสง่ ตอ่ Pt. ไปรพ.ใกล้บา้ น ความพร้อมการดูแลของ

ญาติดแู ลท่ีบา้ น
 จัดใหค้ าปรึกษาทางโทรศพั ท์
-ติดตอ่ สอ่ื สาร ประสานงานกับทมี สหวิชาชพี
 จัดระบบสอ่ื สารและใหค้ วามรู้ Pt. และครอบครวั ตง้ั แตร่ ับรักษา จาหน่าย

เสียชีวติ ประสานงานตอ่
 กาหนดแนวปฏิบตั ิร่วมกับทมี สหวชิ าชีพตรวจเย่ียม Pt. พรอ้ มเพรยี ง

สมา่ เสมอ ประชุมหาแนวทางการรักษา

-กฎหมายและจรยิ ธรรมในการดแู ลผปู้ ่วย
 กาหนดข้อตกลงร่วมกนั Pt. ครอบครัว ทมี สหวชิ าชพี เคารพการตดั สนิ ใจ
Pt. และญาติในการใส่ไมใ่ สท่ อ่ ชว่ ยหายใจของ Pt.
 Pt. มีสว่ นรว่ มตัดสนิ ใจแผนการรักษาในชว่ งวาระสดุ ทา้ ยของชวี ิต และ
การใหค้ รวบครวั มีสว่ นรว่ มในการตดั สนิ ใจ

-เพ่มิ สมรรถนะให้แกบุคลากรและผู้บรบิ าล
 สนบั สนุนศึกษาวจิ ัย ตลอดส่งเสริมวทิ ยากรและทักษะมาใชก้ ารพยาบาล
 กาหนดขอ้ ตกลงร่วมกบั เจา้ หนา้ ท่ีของหนว่ ยบรกิ ารสุขภาพปฐมภูมิอบรม
กับบุคลกรทางการแพทย์ของ รพ.ตติยภูมิ

-ค่าใชจ้ ่าย
 สนบั สนนุ ค่าใชจ้ ่ายและระยะเวลาทีเ่ หมาะสมของการนอนรพ.ของ Pt.
สอดคลอ้ งสทิ ธปิ ระโยชน์
 สนบั สนนุ มีระบบหมุนเวียนเคร่ืองมือทางการแพทยท์ ่ี รพ.ได้จัดการบรจิ าค
สนับสนนุ ให้มีกองทนุ เพอื่ ช่วยเหลอื เร่อื งค่าใช้จา่ ย

สรุปบทท่ี 4
เรื่อง การพยาบาลผูป้ ว่ ยท่ีมีภาวะวิกฤตระบบ

หายใจ

น.ส.รชั นกี ร จีนบวช ห้อง 1 เลขท่ี 36
รหสั 6117701001068

โครงสรา้ งระบบการหายใจ
 ทางเดนิ ผ่านอากาศ จมกู ปาก หลอดคอ กล่องเสยี ง หลอดลม หลอดลม
บริเวณขวั้ ปอด
 แลกเปล่ียนกา๊ ซ หลอดลมฝอยจนถงึ หลอดลม ถงุ ลม

สาเหตกุ ารเกดิ โรค

 สูบบุหรี่

 มลภาวะ (PM 2.5)

 ตดิ เชอ้ื ทางเดนิ หายใจ

 การแพ้ (ภูมแิ พ้ บุหร่ี นา้ หอม เกสร )

คาศพั ท์

คาศพั ท์ คาแปล

Tidal Volume หรือ Tidal air ปรมิ าตรอากาศท่ีหายใจเขา้ – ออก
VT แตล่ ะคร้ัง

ปกตปิ ระมาณ 10 มล./นา้ หนกั ตวั 1
กก. หรอื ประมาณ 500 มล.

Inspiratory reserve volume ปรมิ าตรอากาศที่หายใจเขา้ ได้เต็มที่

IRV หลังหายใจ
เข้าธรรมดา
Expiratory reserve volume
ERV ปรมิ าตรอากาศท่ีหายใจออกเต็มท่ี
หลังหายใจ

Vital capacity VC ออกธรรมดา

Residal Volume RT ปรมิ าตรอากาศที่หายใจออกได้เตม็ ที่
หลังจาก
Inspiratory Capacity หายใจเข้าเต็มท่ี ปกตปิ ระมาณ 4 – 5
IC ลิตร ในเพศชาย และ 3 – 4 ลติ ร ใน
Functional Residual capacity เพศหญิง
FRC
Total Lung capacity TLC ปรมิ าตรอากาศท่ีเหลืออยู่ในปอดหลัง
หายใจ
ออกเต็มท่ี ปกต1ิ – 2.5 ลติ ร

ปรมิ าตรอากาศท่ีหายใจเขา้ เต็มทห่ี ลัง
หายใจออก
ธรรมดา

ปรมิ าตรอากาศในปอดหลังจากการ
หายใจออก
ธรรมดาคา่ ปกติประมาณ 2.4 ลิตร

ปรมิ าตรอากาศในปอดเมื่อหายใจเข้า
เต็มทค่ี า่ ปกติประมาณ 4 – 7 ลิตร

การประเมินภาวะสุขภาพของการหายใจ
1.ซกั ประวัติ

สุขภาพครอบครัว (โรคประจา้ ตวั ประวัตกิ ารสูบบุหรี่ การแพ้)
ประวัตกิ ารใชย้ า
อาชพี (ท้าในกรุงเทพเจอฝนุ่ PM 2.5)
อาการ อาการแสดง (ลกั ษณะการไอแหง้ ,ไอมีเสมหะ,ไอปนเลอื ด)
เจบ็ หน้าอก

หายใจล้าบาก (มสี ิง่ อดุ ตนี หลอดลม,กดี ขวางการขยายตวั ของปอด,หายใจ

ไมอ่ ม่ิ )

ฟงั (wheezing, Hoarseness of Voice, Stridor, Crepitation)

อาการเขียวคล้า (Cyanosis)

ปลายนิว้ ปมุ้ (Clubbing of the Fingers and Toes)

2.การตรวจร่างกาย

ดหู น้าอกลกั ษณะทว่ั ไป (หลังคด หลังแอน่ หลงั โกง่ อกไก่ อกบมุ๋ อกถัง

เบียร)์

คลา้ (กดเจบ็ กอ้ น ตอ่ มน้าเหลอื ง ลมใตผ้ วิ หนัง กวา้ งแคบของซ่ีโครงการ

เคล่อื นไหวของทรวงอกเพอื่ ดกุ ารหายใจเขา้ ออก เสียงสน่ั สะเทอื นของ

ทรวงอก Vocal Fremitus หรอ Tactile Fremitus)

เคาะ (ดา้ นหลงั และด้านหน้า โดยการฟังปอดฟังเปรยี บเทียบทง้ั

2 ขา้ ง )

ฟัง ช่องอกใช้ stethoscope ดา้ น diaphragm
ฟงั เสียงหายใจ
1. เสยี งลมผ่านหลอดลมใหญ่ (Bronchial, Tracheal หรอ Tubular
Breath Sound) เสยี งเกิดจากขณะหายใจมีลมผ่านท้าให้เกดการ
สน่ั สะเทือนที่สายเสียง และเสียงประกอบตา่ งๆ ในชอ่ งคอสว่ น จมกู และ
หลอดลมคอ
2. เสยี งลมผ่านหลอดลมใหญ่ (Broncho Vesicular Sound) ฟังได้ท่ี
บริเวณชอ่ งซี่โครงท่ีสองด้านหน้าหรอื บริเวณกระดูกไหปลาร้า ด้านขวา
หรือรอยต่อกระดูกหน้าอกส่วนตน้

3. เสยี งลมผ่านหลอดลมเลก็ (Vesicular Breath Sound) เสยี งนี้เกดิ จาก
ขณะหายใจลมจะผ่านท่อ หลอกลมฝอย และวนเวียนอยู่ในถุงลมปอด ฟัง
ได้ท่ัวไปท่ีบริเวณปอดทั้ง 2 ขาง
เสยี งหายใจผิดปกติมี 2 แบบ
1.เสยี งดงั ตอ่ เนอ่ื ง
- Rronchial เสียงลมผ่านหลอดลมใหญท่ ่มี มี กู เยือ่ บุหลอดลมบวม เสยี ง
ทมุ้ ต่า้
- wheezing เสยี งลมผา่ นหลอดลมเลก็
-pleural friction เสียงเสยี ดสีของเยื้อหมุ้ ปอดทอ่ี ักเสบ
-stridor เสียงลมผ่านหลอดลมใหญท่ ี่มกี ารอดุ ตนั
2.ไมต่ ่อเนอื่ ง
-crepitation ฟองอากาศแตกฟงั ไดท้ ี่หลอดลมใหญ่ เจอในโรค
pneumonia

โรคหวดั (Common cold or Acute coryza)
เป็นไดท้ ้ังปี อาการปรากฏหลังรับเชือ้ 2 วัน
ตดิ ตอ่ ทาง Air borne Droplet (ฟองละอองเสมหะจากไอจาม)
Coryza Viruses 3000-5000 สายพันธ์ุ ในผใู้ หญต่ ดิ เชอ้ื เกดิ จาก
Rhinovirus (เป็นสายพนั ธุ์ไหนแล้วจะไมเ่ ปน็ ซา้ )

ลกั ษณะทางคลนิ กิ
คัดจมกู จาม คอแห้ง น้ามูกใสๆ นา้ ตาคลอ กลวั แสง รู้สกึ ไมส่ บาย มนึ

ศรี ษะ รับกลน่ิ ลดลง ไอ ออ่ นเพลีย เป็น 2-5 วัน ถ้า >14 วนั เปน็ Acute upper
Respiratory infection : URI
การประเมนิ สุขภาพ

ประวัตอิ าการและอาการแสดง ตรวจรา่ งกาย และหอ้ งปฏบิ ตั ิการณ์
การรักษา

รักษาตามอาการให้ยาและพกั ผอ่ น
ข้อวนิ ิจฉยั

1.ขาดความสขุ สบายเนอ่ื งจากคัดจมกู นา้ มกู ไหล ปวดศรี ษะ คร่ันเนอ้ื ครน่ั
ตัว

2.มกี ารติดเชอ้ื ซ้าเตมิ ได้ง่ายเนอ่ื งจากภูมติ ้านทานลดลง

หลอดลมอักเสบเฉยี บพลัน (Acute Bronchitis or Tracheobronchitis)
อกั เสบเฉยี บพลนั ทง้ั หลอดลมใหญแ่ ละหลอดลมคอ
ติดเชอื้ แบคทเี รีย ไวรัส ไมโคพลาสมา พยาธิ และการระคายเคอื ง
โดยเฉพาะสาเหตุจากการระคายเคือง เชน่ อากาศเย็น ฝนละอองต่างๆ
การสูบบุหรี่ เป็นตน้

พยาธิสภาพ
เชอ้ื โรค → เยื่อบหุ ลอดลมบวม → เยอ่ื บุหลอดลมอกั เสบ → ขดั ขวางการ
ท้าหนา้ ท่ี → ของขนกวกั ↓

ไอเอาเสมหะ
ออกมา ← ทา้ ให้เกดิ เสมหะ
การประเมนิ สขุ ภาพ
ประวัตอิ าการและอาการแสดง ตรวจรา่ งกาย และห้องปฏบิ ตั กิ ารณ์

การรักษา
ประคบั ประคองไมใ่ ห้เชื้อลกุ ลามและติดเชอื้ ซ้า

ยาบรรเทาไอ ลดไข้ ยาขยายหลอดลม ยาปฏชิ วี นะ ยาแกป้ วดลดไข้
ข้อวนิ ิจฉัย
1.หายใจไม่เพียงพอเนอื่ งจากหลอดลมหดเกร็งตวั
2.มีความบกพรอ่ งในการแลกเปลย่ี นกา๊ ซเนอื่ งจากอตั ราของการระบายอากาศ
กับการซึมซาบไม่สมดลุ กัน
3.อ่อนเพลียเน่อื งจากขาดออกวิเจนและหายใจลา้ บาก

ปอดอกั เสบ (Pneumonia)

อักเสบของเนอื้ ปอด มีหนองขัง บวม การหายใจสะดดุ หอบ เหนอ่ื ย

ติดต่อทาง Air borne droplet ไอ จาม หายใจรดกนั ล้าสกั เอาสารเคมี

,เศษอาหาร การแพรก่ ระจายไปยงั เสน้ เลอื ด เชน่ การฉีดยา ใหน้ ้าเกลอื

อักเสบอวยั วะอนื่

สาเหตุ 1.เชอ้ื แบคทีเรีย Pneumococcus /Staphylococcus

/Klebsiella 2.เชื้อไวรัสไข้หวดใหญ่

หัด สุกใส เชื้อไวรัสซาร์ส (SARS virus) Covid-19

3.เชื้อไมโคพลาสมา ทา้ ใหเ้ กดิ ปอดอักเสบ Atypical pneumonia

4.อ่ืนๆ เชน่ สารเคม,ี เชื้อ Pneumocystis carinii

พยาธิสภาพ
มี 3 ระยะ
1.ระยะเลอื ดคงั่ 12-24 ชม.แรกหลงั เชือ้ เขา้ ไปถงุ ลม พบการอกั เสบ Cellular
Exudate เม็ดเลอื ดแดง เมด็ เลอื ดขาวเข้าไปกินเชอ้ื โรคสง่ ผลใหบ้ รเิ วณที่อกั เสบ
พบเม็ดเลอื ดทง้ั 2 มาก ระยะนอี้ าจมแี บคทเี รยี เข้าสู่กระแสเลอื ด (Bacteremia)
อาจเกดิ โรคแทรกซอ้ นปอดแฟบ เยือ้ หมุ้ สมองและหวั ใจอกั เสบได้
2.ระยะปอแขง็ ตัวเกิดในวนั ที่ 2-3 ของโรคพบเมด็ เลอื ดแดง เมด็ เลอื ดขาว และ
ไฟบรินอยูใ่ นถุงลมสว่ นใหญ่ เน้ือปอดมีสแี ดงจัด (Red Hepatization) อกั เสบ
รุนแรงมากขนึ้ เกิดรอยทเี่ มด็ เลอื ดขาวไปกนิ เนอื้ ปอดเปลีย่ นเปน็ สเี ทา (Gray
Hepatization) กินระยะนาน 3-5 วนั รอยโรคนที้ า้ ใหป้ อดแขง็ โรคแทรกซ้อน
อาจเกดิ ผใี นปอดได้
3.ฟืน้ ตวั วนั ที่ 7-10 เม็ดเลือดขาว,ยาตา้ นไดห้ มด การอกั เสบหายเกิดพังผดื
แทนทที่ ม่ี กี ารอักเสบ
การประเมนิ สุขภาพ
ประวตั อิ าการและอาการแสดง ตรวจรา่ งกาย ห้องปฏิบตั ิการณ์ และภาพถ่าย
รังสีปอด
การรักษา
ประคบั ประคองไม่ให้เช้อื ลุกลามและตดิ เช้อื ซา้

 ยาบรรเทาไอ ลดไข้ ยาขยายหลอดลม ยาปฏชิ วี นะ ยาแก้ปวดลด
ไข้

ขอ้ วนิ จิ ฉัย
1.หายใจไมเ่ พียงพอเนอ่ื งจากปอดถกู จ้ากัดจากการอกั เสบ
2.มคี วามบกพรอ่ งในการแลกเปล่ยี นกา๊ ซเนอ่ื งจากถุงลมปอดไมด่ ี
3.ไม่สามารถท้าให้ทางเดนิ หายใจโล่งเนอื่ งจากเสมหะมากและเหนยี ว
4.มีแนวโนม้ ขาดอาหารและน้าเนอื่ งจากรับประทานอาหารได้นอ้ ย และสญู เสีย
พลงั งานจากไขส้ ูง

ฝใี นปอด (Lung Abscess)
ตาย อักเสบของเนอ้ื ปอด
แทรกซ้อนจาก Pneumonia
สาเหตุจากอดุ ตนั ของหลอดลม ตดิ เชอื้ สา้ ลกั อกั เสบ

พยาธสิ ภาพ
เชือ้ เขา้ ปอด → สำลกั → อกั เสบ บริเวณทเี่ ป็นฝีจะแขง็ → เชือ้ โรคมำกดั

กินบริเวณทอ่ี กั เสบ → หนอง ↓

เจำะสำยระบำยหนอง ← ระคายเคอื งทางเดนิ หายใจ ← ระบายหนอง

ออกมาไมไ่ ด้ ← หนองแตก
โรคแทรกซอ้ น

รายทมี่ ฝี ีในปอดอาจลกุ ลามเนือ้ เยอื่ ปอด
ฝีแตกอาจตเิ ชอ้ื ในกระแสเลอื ด และฝสี มอง
การประเมนิ สุขภาพ
ประวตั อิ าการและอาการแสดง
การส้าลกั อาหาร อาการแสดงปอดอกั เสบ เสมหะเป็นหนอง,สีน้าตาลด้า

หายใจเรว็ ,หอบ

ตรวจรา่ งกาย การขยายปอดทงั้ 2 ข้างไมเ่ ทา่ กัน ขา้ งทเี่ ป็นจะขยายได้
นอ้ ย เกดิ โครงหนอง เยอ่ื หมุ้ ปอดจะหนาวขอกอดไดย้ นิ เสยี งทบึ หายใจ
เสยี งเบา bronchial breath sounds

การตรวจพเิ ศษถา่ ยภาพรังสเี อกซเรย์ ถา้ ฝีไม่แตกรอยลกึ เรยี บ ถ้ามแี ตกมี
ระดับอากาศและของเหลว ตรวจเสมหะเชอ้ื ตรวจเลอื ดเมด็ เลือดขาว
พบว่าสงู

การรกั ษา
ยาปฏชิ วี นะตามผลการเพาะเชือ้ และทดสอบความไวต่อยา รกั ษาตามอาการ
แบบประคับประคอง เชน่ ยาขับเสมหะ รกั ษาโดยผ่าตดั
ข้อวนิ จิ ฉัยทางการพยาบาล
1 ไมส่ ามารถท้าใหท้ างเดินหายใจสะอาดโลง่ เนอ่ื งจากมกี ารอกั เสบและมีหนอง
อยู่ภายในปอดมาก
2.การหายใจไม่พอเนอื่ งจากเน้อื ปรอทบางสว่ นถกู ท้าลายและหรอื มอี าการเจบ็
หนา้ อก
3.มคี วามบกพร่องในการแลกเปลยี่ นแก๊สเนอื่ งจากทางเดนิ หายใจถกู อุดตันและ
เน้อื ปรอททลี่ ดลง

โรคหอบหดื bronchial asthma
ผลจากหดตวั หรอื ตบี ของกล้ามเนอื้ รอบหลอดลม ทา้ ใหห้ ายใจขดั ใน

อากาศเขา้ สู่ปอดนอ้ ยลง
สาเหตสุ ่งิ กระตนุ้ เกสร ไข้หวดั กลน่ิ ขนสตั ว์ บรุ ่ี ควนั จากเผาไหม้ ฝนุ่ จากทน่ี อน
ยาบางชนดิ เลน่ กฬี าหนกั ๆ อากาศเยน็ ออกซิเจนต่า้ ลง คารบ์ อนสูงขน้ึ จนไม่
ป่วยบางรายมีอาการหอบรนุ แรงและไมต่ อบสนองตอ่ การรกั ษาโลหิตเป็นกรด
เกิดภาวะหายใจวายได้ Status asthma ticus
พยาธิสภาพ
เกิดจากการแพ้ทา้ ให้หลอดลมหดตัวก่อใหเ้ กดิ การหล่ัง secretion มากขนึ้
 Mucus membrane บวม
**มกี ารประเมนิ โดยใช้ asthma scale
การประเมนิ สุขภาพ

ประวตั ิ ประวัตขิ องบคุ คลในครอบครัว การแพ้ ประวตั ิของอาการเกดิ ข้ึน
ทนั ที

การตรวจรา่ งกายหายใจเรว็ มาก Lung wheezing ใช้กล้ามเนื้อทรวงอก
ในการหายใจ Cyanosis

การตรวจพเิ ศษ ตรวจดู Pao2 Paco2 ทดสอบสมรรถภาพของปอด,การ
แพ้

การรกั ษา
หลกี เลย่ี งสารทแ่ี พ้
ยาสูด ยาสูดขยายหลอดลม ยาสดู ลดการอกั เสบ ฉีดสารภมู แิ พ้

ขอ้ วนิ ิจฉัยทางการพยาบาล
1 มีความบกพรอ่ งในการแลกเปล่ียนออกซิเจนเนอ่ื งจากอตั ราการระบายอากาศ
และการซึมซาบไม่สมดลุ
2 ไม่สามารถทา้ ใหท้ างเดินหายใจสะอาดโลกเนอื่ งจากมกี ารอดุ กั้นของหลอดลม
3.วติ กกังวลเนอื่ งจากอยู่ในภาวะวกิ ฤต

โรคปอดอดุ กนั้ เรอ้ื รัง copd
พบบ่อยในผูส้ ูงอายุ สาเหตุสา้ คญั การสูบบุหร่ี มลภาวะทางอากาศ การ

ขาด alpha 1 antitrypsin
การติดเชอ้ื
อายุ
พยาธิสภาพ

การประเมนิ สุขภาพ
 ซักประวตั ิการสบู บุหร่ี หายใจล้มเหลว เบอ่ื อาหาร ใชย้ าเกีย่ วกับทางเดนิ
หายใจ
ตรวจร่างกาย ผวิ กายเขียวช้า หายใจเกนิ และแรง หายใจนอ้ ยกวา่ ปกติ
หายใจแผ่ว ลกู กระเดอื กเคลอ่ื นที่มากกว่าปกติ อกถงั เบียร์ หลอดเลอื ดด้า
ทค่ี อโปง่ นูน การเคาะทรวงอกจะไดเ้ สยี งกอ้ งทว่ั หอ้ ง ฟังจะไดเ้ สียง
wheezing
ถา่ ยภาพรังสี

การรักษา
รกั ษาดว้ ยยา ให้ออกซเิ จนขนาดต่้า 2-3 LPM ใส่ท่อช่วยหายใจ
ข้อวนิ จิ ฉยั การพยาบาล
1.มคี วามบกพรอ่ งในการแลกเปล่ยี นออกซเิ จนเน่ืองจากอากาศผ่านเขา้ ออกจาก
ปอดลดลง
2.สง่ ไม่สามารถท้าให้ทางเดนิ หายใจสะอาดลงเนอ่ื งจากทางเดินหายใจมกี ารอดุ
กัน้ อยา่ งถาวรและมีเสมหะคง่ั ค้าง
3.วิตกกังวลเนอ่ื งจากอยู่ในภาวะวกิ ฤต

โรควัณโรคปอด tuberculosis
โรคติดตอ่ เรือ้ รงั จาก Bacterial tuberculosis /AFB พบได้ทุกอวยั วะ พบ

บ่อยท่ปี อด
อาการของโรค

ไอเรอ้ื รงั ไอมเี ลอื ด 3 สปั ดาห์ข้นึ ไป มไี ขต้ อนบา่ ยๆ เหง่ือออกมากตอน
กลางคนื

น้าหนกั ลด อ่อนเพลยี เบอ่ื อาหาร
เจบ็ หน้าอกและเหนื่อยหอบกรณที ล่ี กุ ลามไปมาก
ติดต่อ
โดยหายใจเอาเชอื้ โรคจากการไอจามพดู ของผปู้ ว่ ยทเ่ี ป็นวณั โรค
ปอ้ งกัน
รักษาสุขภาพแข็งแรงออกก้าลังกายกินอาหารครบ 5 หมู่ หลีกเลยี่ งใกลช้ ิด

ผปู้ ่วยวัณโรค ควรให้กนิ ยาครบสมา่้ เสมอทกุ วนั ตรวจเอกซเรย์ปอดอย่าง
นอ้ ยปลี ะครง้ั พาบตุ รหลานไปรับการฉีดวคั ซีน หากมอี าการผิดปกติหรอื
สงสัยควรไปพบแพทยเ์ พื่อรบั การตรวจ
พยาธิสภาพ
มีเช้ือเขา้ ไปกนิ บรเิ วณปอด จะมกี ารหลัง่ T cell ไปกดั กินเนอื้ ปอด เมอื่ เนอ้ื ปอด
เสียไป มกี ารฉกี ขาดของหลอดเลือด ไอเปน็ เลือด ถา้ ปอดทา้ รา้ ยมากๆจะมกี าร
หายใจหอบเหนอ่ื ย
การประเมนิ สขุ ภาพ
ประวตั คิ นในครอบครัวป่วยเปน็ วัณโรค อาการและอาการแสดง
การฟังปอดพบ capitation ข้างท่ีมพี ยาธสิ ภาพปอดขยายตัวไมด่ ี ฟังเสียง
breat sound ลดลง

ตรวจเสมหะเหลืองย้อมพบ AFB เพราะเชอ้ื ขนึ้ mycobacterium
tuberculosis ตรวจเลือดพบเมด็ เลอื ดขาวสงู กว่าปกติ ทดสอบ
tuberculin test

การรักษา
1.1 frist line drug ได้แก่ Isonia zid ,Ethambutol,Streptomycin
1.2 secondary line drug ได้แก่ Viomycin,
Capreomycin,Kanamycin,Ethionamide, pyrazinamine, Para-
AminosalicylateSodium (PAS) และ Cycloserine
การรกั ษา

ครัง้ แรก (ผปู้ ว่ ยทีไ่ มเ่ คยได้รับการรกั ษามากอ่ น)
1.1 วธิ ีรกั ษาแบบมาตรฐาน โดยใช้ INH รว่ มกับยารกั ษาวณั โรคขนานอื่นหนึ่ง
หรือสองขนาน
1.2 วธิ ีรกั ษาแบบเวน้ ระยะในการควบคุม เชน่ ใหย้ าทุกวันเปน็ เวลา 4 สปั ดาห์
แลว้ ใหส้ ปั ดาห์ละ 1 ครงั้ จนครบ 1 ปี
1.3 วธิ ีรกั ษาแบบใหย้ าเต็มที่ในระยะแรก
1 .4 วธิ ีรกั ษาแบบ ใชย้ า ระยะสน้ั เนน้ ให้ INH 300 มก. รว่ มกับ streptomycin
1 กรัมรว่ มกบั Rifampicin
600 มก. ทกุ วนั ติดตอ่ กันเปน็ เวลา 6 เดอื น

ผทู้ เ่ี คยไดร้ บั การรกั ษามาเตม็ ที่ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 เดอื นและประเมนิ แล้ววา่
รกั ษาไมไ่ ด้ผล ควรเปลย่ี นมาใช้ยาขนานใหมท่ ่ีไม่เคยใช้มาก่อน

2.1 ถ้าเคยไดร้ บั การรกั ษามาครบแล้วโรคสงบไประยะหน่งึ แล้วเกดิ ขนึ้ ใหมจ่ ะให้
การรักษาแบบเดมิ ก่อน แลว้ ทดสอยว่าเชอ้ื ตา้ นยาชนดิ ใดแลว้ เปล่ยี นยาตวั ใหม่
แทน หรอื ให้INH ร่วมกบั ยาอ่ืนอกี 2-3 ตัวทผ่ี ้ปู ่วยไมเ่ คยได้รับมาก่อน

3. วิธีการรกั ษาโดยการผ่าตดั ผ่าตัดเอากลบี ปอดออกบางสว่ น
(Secmentectomy) ท้งั กลบี (Lobectomy) หรอื ทั้งปอด (Pneumoectomy)
เพ่ือเอารอยโรคสว่ นที่เป็นกอ้ นหรอื โพรงออก ซง่ึ รกั ษาดว้ ยยาเป็นเวลานานหลาย
เดอื นแลว้ ขนาดไมล่ ดลง รอยโรคเชน่ นม้ี กั เปน็ เชอ้ื ท่ดี อื้ ยาหรือเชอื้ โรค ท่ีอยอู่ ยา่ ง
สงบ
ปฏิบตั ิตน

ไปพบแพทย์ตามนดั และเกบ็ เสมหะสง่ ตรวจทกุ คร้งั ตามแพทยส์ ัง่
กนิ อาหารท่มี ีประโยชน์ เช่น เน้อื สัตว์ ไข่ ผกั ผลไม้ เพื่อ
บ้ารุงร่างกายให้แข็งแรง
ปดิ ปาก จมกู เวลาไอหรอื จามทกุ คร้ัง ปอ้ งกนั การแพร่เชอื้ ไปสู่ผอู้ ่นื
ขอ้ วนิ ิจฉัย
1.ไม่สามารถท้าใหท้ างเดนิ หายใจสะอาดโลง่ เนอื่ งจากทางเดนิ หายใจมกี ารอดุ
ก้ันจากสมหะ
2.วติ กกังวลเนอ่ื งจากถกู แยกออกจากผู้ปว่ ยรายอนื่
3.ออ่ นเพลยี เนอื่ งจากเสยี นา้ เกลอื แรแ่ ละพลงั งานจาก

สรปุ บทท่ี 5

เรอ่ื ง การพยาบาลผปู้ ว่ ยทม่ี ภี าวะวิกฤตจากปญั หาปอด
ทาหนา้ ทีผ่ ิดปกตแิ ละการฟ้ืนฟูสภาพปอด

การพยาบาลผปู้ ่วยภาวะปอดแฟบ ( Atelectasis )
atelectasis จงึ มีความหมายวา่ ไม่ขยายตวั ออก อธิบายถงึ ภาวะปอดไมข่ ยายหรือที่เรียกว่าปอดแฟบ
(collapse) โดยทว่ั ไปคา้ วา่ atelectasis และ collapse ใช้แทนกันได้ แต่ส่วนใหญจ่ ะใช้คา้ วา่ collapse ใน
การอธบิ ายในกรณีทเี่ ป็น total atelectasis มากกว่า
สาเหตุ
1. Obstructive atelectasis : อดุ ก้นั ของอวยั วะทมี่ ีลกั ษณะเป็นทอ่ หลอดลม Intraluminal, Intramural
หรือ Extraluminal causes
- Intraluminal obstruction : ผิดปกติ หรือโรคท่อี ยูภ่ ายในผนงั ของหลอดลมเอง พบบอ่ ย Pneumonia
- Extraluminal obstruction: กดเบียดของหลอดลมจากโรคทีอ่ ยู่นอกหลอดลม เช่น aortic aneurysm
2. Compressive atelectasis : มีรอยโรคอยู่ภายในทรวงทาให้เกดิ แรงดันกดเบยี ดเนอื้ ปอดสว่ นที่อยขู่ า้ งเคยี ง
ให้แฟบลง ตวั อย่างรอยโรค เช่น pleural effusion
3. Passive atelectasis : เกิดจากรอยโรคภายใน pleural cavity ทาให้ pleural space มแี รงตนั เปน็ ลบ
ลบลดลงหรือเป็นศนู ย์ ดึงเนือ้ ปอดให้คงรปู ขยายตวั อยู่หายไป พบใน pneumothorax
4. Adhesive atelectasis : เกดิ จากภาวะ alveolar hypoventilation (หายใจตืน้ ) ทาใหห้ ลอดลมส่วน
ปลายๆ ไมส่ ามารถขยายออกได้ จึงยุบตวั ลง
พยาธสิ รีรวทิ ยา
การระบายอากาศในแขนงหลอดลมถูกปิดก้ันหรืออุดตัน

ทันทีทนั ใด ค่อยๆ เกิดข้ึน

ความรนุ แรงข้ึนอยกู่ บั ตาแหนง่ ที่อดุ ตัน

atelectasis

การประเมนิ สภาวะสขุ ภาพ
1. ประวตั อิ าการและอาการแสดง
- ประวัติการสบู บหุ ร่ี
- ประวัตกิ ารหายใจลม้ เหลว
- ประวัติการเบอื่ อาหาร
- ประวตั ิการใชย้ าเก่ยี วกับทางเดินหายใจ
2. การตรวจร่างกาย
- ผิวกายเขียวคล้า
- การหายใจเกิน มีลักษณะหายใจแรง
- การหายใจนอ้ ยกวา่ ปกติ มลี กั ษณะหายใจแผว่
- นอนราบไม่ได้
- มีไข้ ชีพจรเรว็
3.การตรวจพเิ ศษ
- การตรวจเลอื ด ดูคา่ PaO2, PaCO2
- การทดสอบสมรรถภาพของปอด
- การถา่ ยภาพรังสปี อด
การป้องกันปอดแฟบ
-การจัดท่านอนและเปลย่ี นทา่ บอ่ ยๆ
-การกระตนุ้ ใหล้ กุ น่ัง ลกุ เดิน
-การพลกิ ตะแคงตัว
-การฝึกการเป่าลกู โปง่
-การกระตุ้นการไออย่างมีประสิทธภิ าพ เปน็ ต้น
ตัวอย่างขอ้ วินิจฉยั ทางการพยาบาล
1.ไม่สามารถท้าให้ทางเดินหายใจโล่งไดเ้ นอื่ งจากปอดถกู กด
2.ปรมิ าณโลหิตออกจากหวั ใจลดลง เนอื่ งจากหลอดโลหติ ในปอดทีแ่ ฟบถกู กด
***3.มคี วามพร่องในการแลกเปลี่ยนแกส๊ เนือ่ งจากเน้ือปอดท่ใี ช้ในการแลกเปลย่ี นออกซิเจนลดลง
การพยาบาลผ้ปู ่วยภาวะมีของเหลวคง่ั ในช่องเยือ่ ห้มุ ปอด (plural effusion)

 Pleural Effusion ไปกดทบั ปอด สง่ ผลใหป้ อดขยายตัวได้ไม่เต็มที่
Pleural Effusion แบง่ ออกเปน็ 2 ชนิดหลกั ๆ ตามสาเหตทุ ข่ี องเหลวเพ่ิมปริมาณข้ึน ได้แก่
1. ของเหลวแบบใส (Transudate) เกดิ จากแรงดันภายในหลอดเลอื ดทมี่ ากขึน้ หรือโปรตนี ในเลือดมคี า่ ตา่ ทา
ใหข้ องเหลวร่วั ไหลเขา้ มาในช่องเยอื่ ห้มุ ปอด ซึ่งมกั พบในผปู้ ว่ ยทมี่ ีภาวะหัวใจล้มเหลว เช่น plasma

2. ของเหลวแบบขุ่น (Exudate) สว่ นใหญ่เกิดจากการอกั เสบ มะเร็ง หลอดเลอื ดหรือทอ่ นา้ เหลอื งอดุ ตนั มกั มี
อาการทรี่ นุ แรงและรักษาไดย้ ากกวา่ ภาวะ PleuralEffusion ชนดิ ของเหลวแบบใส *อกั เสบตดิ เช้อื รกั ษายาก
อาการของภาวะนา้ ในช่องเยอื่ ห้มุ ปอด
- หอบ หายใจถ่ี หายใจลา้ บากเม่ือนอนราบ หรอื หายใจเข้าลกึ ๆ ลาบาก
- ไอแหง้ และมีไข้ เน่อื งจากปอดติดเช้อื
- สะอึกอย่างต่อเน่อื ง
- เจบ็ หน้าอก
*** ทัง้ นี้ ผู้ป่วยบางรายอาจไม่แสดงอาการบง่ ช้ีถงึ ความผิดปกติ แต่พบว่ามีภาวะน้าในชอ่ งเยอื่ หุ้มปอดจากการ
ตรวจเอกซเรยห์ รอื ตรวจรา่ งกายได้
สาเหตุหลกั ทที่ ้าให้เกดิ ของเหลวแบบใส

 ภาวะหัวใจลม้ เหลว ทส่ี ง่ ผลใหเ้ กดิ ความดนั ตา้ นกลับน้าในหลอดเลือด leak ออก
 โรคตับแข็ง พงั ผืดขดั ขวางการทางานของตับในการกรองของเสียหรอื ขับสารพษิ

ซึ่งระดับโปรตีนในเลอื ดท่ตี ่าจะสง่ ผลใหม้ ขี องเหลวซมึ ออกมานอกหลอดเลือดและอาจทา้ ให้เกิดภาวะ
Pleural Effusion ตามมา
 โรคลิ่มเลือดอดุ ก้นั ในปอด ลิม่ เลือดจากอวัยวะต่าง ๆอดุ กั้นหลอดเลอื ดแดงทน่ี า้ เลอื ดเข้าส่ปู อด
(Pulmonary Artery) เลอื ดไหลเวียนไม่ดี leak ออก
 หลงั การผา่ ตดั หัวใจแบบเปิด หลังการเปดิ ชอ่ งอกเพื่อผา่ ตดั เสย่ี งต่อการเกิดภาวะแทรกซอ้ น เช่น
ภาวะหวั ใจตายเฉียบพลัน หัวใจเต้นผิดจงั หวะ ระบบทางเดนิ หายใจหรือไตลม้ เหลว เจ็บหน้าอก
หายใจล้าบาก มีภาวะ Pleural Effusion เป็นตน้
สาเหตหุ ลกั ทท่ี า้ ให้เกดิ ของเหลวแบบขุ่น
 โรคปอดบวมหรือโรคมะเร็ง อาจสง่ ผลใหป้ อดและเย่ือหุม้ ปอด
อกั เสบ จนเกิดของเหลวภายในชอ่ งเยื่อหมุ้ ปอดตามมา
 ไตวาย เกิดจากหน่วยไตได้รับความเสยี หาย ทาให้ไมส่ ามารถกรองเลือด และขับนา้ ปสั สาวะได้
ตามปกติ หรอื ไตถูกทาลายอย่างถาวรไดอ้ าการอักเสบ จนเกดิ ของเหลวในชอ่ งเย่ือหมุ้ ปอดตามมา เชน่
การอกั เสบจากโรคขอ้ อกั เสบ โรคแพภ้ มู ติ ัวเอง (SLE) ตดิ เชอ้ื ในกระแสเลอื ดเป็นต้น
 สาเหตุอืน่ ๆ เชน่ วณั โรค โรคภูมคิ มุ้ กันทา้ ลายตัวเอง เลอื ดคง่ั ในทรวงอก ภาวะน้าเหลอื งคั่งในช่อง
ปอด (Chylothorax) รวมถงึ ผทู้ ีต่ อ้ งสดู ดมแร่ใยหนิ เปน็ ประจา
การวินิจฉยั
 การสอบถามประวตั ิทางการแพทย์และการตรวจร่างกาย
 การเอกซเรย*์ ** เปน็ วธิ วี นิ ิจฉัยทีใ่ หผ้ ลการตรวจชัดเจน
 เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Computerized Tomography: CT Scan)
 อัลตราซาวด์(Ultrasound)
 การวเิ คราะห์ของเหลวภายในช่องเยอื่ หุม้ ปอด (Pleural Fluid Analysis)

การรกั ษา
การระบายของเหลวออกจากช่องเยือ่ หมุ้ ,Pleurodesis,การผ่าตดั
ภาวะแทรกซ้อน

 แผลเป็นทปี่ อด (Lung Scarring)
 ภาวะหนองในชอ่ งเยือ่ หมุ้ ปอด (Empyema)
 ภาวะลมในช่องเย่ือหมุ้ ปอด (Pneumothorax)
 ภาวะตดิ เชอ้ื ในกระแสเลือด (Blood Infection)

การพยาบาลผ้ปู ่วยภาวะล่มิ เลอื ดอุดตันในหลอดเลือดแดงปอด (Pulmonary embolism)
ลิ่มเลือด,Plug หลดุ อุดกัน้ หลอดเลอื ดปอดทาใหผ้ ู้ปว่ ยมกั หายใจหอบเหน่อื ย ไอ และเจบ็ หนา้ อก
อาการ

 หายใจลาบากหรอื หายใจไมอ่ อก
 เจบ็ หน้าอก
 ไอ อาจมีเลือดปนมากบั เสมหะ
 มีไข้ วงิ เวียนศีรษะ
 มีเหงอื่ ออกมาก กระสบั กระสา่ ย
 หวั ใจเต้นเร็วผิดปกติ ชพี จรเต้นออ่ น
 ผิวมสี เี ขียวคลา้
 ปวดขาหรือขาบวม โดยเฉพาะบรเิ วณนอ่ ง (เสน้ เลอื ดขอด)
 หน้ามดื เปน็ ลมหรือหมดสติ
สาเหตุ
ลม่ิ เลือดทอี่ ดุ ตันบรเิ วณหลอดเลือด ขาหลุดไปอดุ ก้นั หลอดเลอื ดปอด การอุดตันของไขมนั คอลลาเจน เนอื้ เย่อื
เน้ืองอก หรอื ฟองอากาศ(จากการให้ IV) ในหลอดเลอื ดปอดได้เช่นกัน
ปจั จัยท่ที ้าให้เสย่ี งเกดิ ของโรค
 อายมุ ากข้ึน
 พันธกุ รรม
 อบุ ตั ิเหตุการเจบ็ ป่วย (ติดเตียง)
 การประกอบอาชพี
 การสบู บหุ รี่
 อว้ น (Plug)
 การต้ังครรภ์
 การใชฮ้ อรโ์ มน ***(คมุ กาเนดิ )

การวินจิ ฉยั
1.การตรวจเลือด เพ่อื หาคา่ ***ดีไดเมอร์(D-Dimer)
2.การเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT-Scan)
3.การเอกซเรยท์ รวงอก (CXR)
4.การตรวจคลืน่ เสยี งสะท้อนหัวใจ (Echo)
5.การฉดี สดี หู ลอดเลือดปอด
พยาธสิ ภาพ
Emboli หลุด


Inferior or superior vena cava vein


Right Atrium เขา้ หวั ใจบนขวา


บบี ตัวลง Right Ventricle


ส่งเลือดมาฟอกที่ Lung


เมอ่ื เกดิ การอดุ ตันข้นึ ทาให้ Hypoxia


สง่ ผลใหห้ ลอดเลือดปอดมีแรงต้านสงู ขึ้น Pulmonary vascular resistance



เกดิ แรงดนั ทีห่ อ้ งล่างขวาสงู ข้นึ Pressure ❤ Rt


เกดิ เลอื ดไหลลดั Shift ❤ เน่อื งจากเลือดส่งไปท่ปี อดไมไ่ ด้


เลอื ด ❤ Rt V > Lt V ลดลง

Cardiac output

Shock

Dead

แนวทางการรกั ษาโรค
 การใช้ยาตา้ นการแข็งตัวของเลอื ด ไดแ้ ก่ Heparin Warfarin
 การสอดท่อเขา้ ทางหลอดเลือดเพ่อื กาจดั ลิม่ เลือดทอ่ี ุดตัน (Plug, Emboli)
 การผ่าตดั

ภาวะแทรกซ้อน
โรค Pulmonary Embolism หัวใจต้องทา้ งานหนกั ขึ้นเพื่อผลักดันให้เลือดไหลเวียนเข้าสหู่ ลอดเลือดทม่ี ลี ่มิ
เลอื ดอุดก้ันอยู่ จึงอาจท้าให้เกดิ ภาวะแทรกซอ้ น คอื ความดันเลอื ดในปอดหรือหวั ใจหอ้ งซ้ายสงู ซงึ่ จะส่งผลให้
หวั ใจออ่ นลา้ ลงั ลงได้ และเมอื่ เวลาผา่ นไปกอ็ าจท้าใหผ้ ปู้ ่วยเกิดภาวะความดนั ในปอดสูงเรือ้ รัง อาจเป็น
อนั ตรายต่อชวี ิตไดห้ ากไม่ได้รับการรักษาทันการณ์

Trauma
กลไกการบาดเจบ็ (MOI = Mechanism of injuries) เปน็ การประเมินเพอื่ พจิ ารณาถงึ ความรุนแรงของอาการ
ในผูป้ ่วยฉกุ เฉนิ โดยแบง่ ออกเป็น ผบู้ าดเจบ็ (Trauma) และผู้เจบ็ ป่วย (Medical) ***ตรงไหนโดนแรงคือตรง
นนั้ บาดเจบ็ เชน่ ผูกคอ บรเิ วณคอคือบริเวณทไ่ี ดร้ บั การบาดเจ็บ

Pneumothorax หมายถึง ภาวะทม่ี ีลมในช่องเย่ือหมุ้ ปอด
1. Spontaneous Pneumothorax หมายถึง ภาวะลมร่วั ในชอ่ งเยื่อหมุ้ ปอดซ่งึ เกิดขึ้นเองในผปู้ ่วยท่ไี มม่ ีพยาธิ
สภาพที่ปอดมากอ่ น (primary spontaneous pneumothorax; PSP) หรือในผ้ปู ่วยท่ีมพี ยาธิสภาพในปอด
อยเู่ ดมิ (secondary spontaneous pneumothorax)
2. Iatrogenic Pneumothoraxหมายถึง ภาวะลมรวั่ ในชอ่ งเยอื่ หมุ้ ปอดซึ่งเกิดภายหลงั การกระทาหัตถการ
ทางการแพทย์ เชน่ การเจาะดูดนา้ ในช่องเยื่อหมุ้ ปอด
3. Traumatic Pneumothoraxหมายถงึ ภาวะลมรัว่ ในชอ่ งเยอื่ ห้มุ ปอดซ่ึงเกดิ ในผู้ป่วยทีไ่ ด้รบั อุบัตเิ หตุ
อาการและอาการแสดง ข้ึนอยูก่ บั ปจั จัยหลายด้าน

 ปรมิ าณของลมท่ีรวั่ ในช่องเยื่อหมุ้ ปอด
 อัตราเรว็ ในการสะสมของลมทร่ี วั่ ในชอ่ งเย่ือหุม้ ปอด
 ความผดิ ปกติของปอดเดมิ ของผปู้ ่วย เป็นต้น
อาการท่ีอาจพบ ได้แก่ เจ็บหนา้ อกขา้ งเดยี วกับทมี่ ีลมรว่ั เหน่ือย หายใจไมส่ ะดวก แนน่ หนา้ อก ตรวจพบ
การขยบั ตัวของทรวงอกลดลงในขา้ งทม่ี ีลมรั่ว (decrease lung expansion) การไดย้ ินเสียงหายใจเบาลง และ
เคาะทรวงอกได้เสยี งโปรง่ มากกว่าปกติ (hyperresonance) เปน็ ตน้

หากสญั ญาณชีพเปลยี่ นใหค้ ดิ ถึงภาวะ tension pneumothorax ด้วย เนื่องจากตอ้ งการการ
รักษาอยา่ งรบี ด่วนเพอื่ รักษาชวี ติ ผปู้ ่วย

ภาวะ tension pneumothorax เกิดจากการที่มลี มอยูใ่ นชอ่ งปอดปรมิ าณมาก ทาใหm้ ediastinum
shift ไปดา้ นตรงกนั ข้าม ปอดข้างนน้ั แฟบลง เส้นเลือดดา superior และ inferiorvenacava พับ บิดงอ
(kinging) ทา้ ให้เลอื ดกลบั สู่หวั ใจน้อยลง ทา้ ให้เกิด hypotension

การวินิจฉัย
 การเอกซเรยท์ รวงอก (CXR)
 การเอกซเรย์คอมพวิ เตอร์ (CT-Scan)
 การอลั ตราซาวด์

การรกั ษา
 การระบายลมออกจากชอ่ งเย่ือหมุ้ ระบายฝง่ั ทมี่ พี ยาธสิ ภาพเพื่อใหค้ ลายตวั และหลอดลมปอดอีกข้าง
ไดท้ างานปกติ
 การเจาะดูดลมในช่องเยอ่ื หุ้มปอด
 Three sided dressing ในกรณีหลอดลม Shift แผลเปดิ บรเิ วณปอดทมี่ รี ูเปดิ ทาเพอ่ื ใหล้ มหายใจ
ไมใ่ ห้ลมเข้าไป เหตผุ ลที่เปิด 3 ทางอกี ขา้ งเพื่อระบายเลอื ด แตถ่ า้ คนไข้น่งั เราเลอื กเปดิ ด้านล่างเพ่ือให้
เลือดไหลตามแรงโนม้ ถว่ งได้สะดวก

Hemothorax
ภาวะเลอื ดออกในชอ่ งเย่อื หุ้มปอด พบไดท้ ั้งชนิดมบี าดแผลและชนดิ ถูกกระแทกไดม้ ากถึงประมาณ รอ้ ยละ80
โดยมากจะเกดิ ร่วมกบั กระดกู ซโ่ี รงหัก มีการฉีกขาดของหลอดโลหติ ระหวา่ งซ่ีโครงบาดแผลทะลุ เชน่ ถูกยิง
หรือถูกแทงมกั ทา้ ให้โลหิตออกไดม้ ากและตอ้ งแก้ไขโดยการท้าผา่ ตัด
พยาธิสภาพ
เกิดอุบัตเิ หตุ มรี ูทะลผุ ่านเย่อื หุ้มปอด Hemothorax  แรงดันเย่อื หมุ้ ปอดลดลงเรอ่ื ยๆ

ปอดแฟบ ขาด O2

หมดสติ
***Massive Hemothorax คือเลอื ดออกมากกว่า1.5 l หรอื เลือดออกตอ่ เน่อื ง 200 cc/hr. ต่อเน่ือง 2-4 hr.
การวินจิ ฉยั
-การเอกซเรย์ทรวงอก (CXR)
-การเอกซเรยค์ อมพวิ เตอร์ (CT-Scan)
-การอัลตราซาวด์
การรกั ษา
-การระบายเลือดออกจากชอ่ งเย่อื หุ้ม

-การเจาะดูดเลอื ดในชอ่ งเยอ่ื หุ้มปอด
-การผ่าตัด
- Three sided dressing
การพยาบาลผ้ปู ่วยทมี่ ภี าวะอกรวน (Flail Chest)
Flail chest เปน็ ภาวะทีม่ ี Fx rib 3 ซ่ี (1 ซ่ี หกั มากกวา่ 1 ตาแหน่ง) ขึ้นไปผนงั ทรวงอกจะยุบเม่อื หายใจเข้า
และโปง่ เม่ือหายใจออก O2ลดลง CO2 เพ่ิม ,Paradoxical RespiratoryFloating Segment ส่วนทหี่ กั ลอยนี้
เองทท่ี าให้กลไกของการหายใจผดิ ปกตหิ ายใจเขา้ ผนงั ทรวงอกขา้ งทไ่ี ดร้ บั บาดเจบ็ จะยบุ ลง หายใจออก ผนัง
ทรวงอกข้างท่ไี ด้รบั บาดเจบ็ จะโป่งพองข้นึ

การพยาบาลผู้ป่วยท่ีใส่สายระบายทรวงอก (ICD)
ข้อบ่งชี้ เพื่อระบายอากาศสารน้า หรอื เลอื ด ในโพรงเยื่อหุม้ ปอด
ระบบการทางาน ระบบการต่อขวดระบายมไี ด้หลายแบบ ทง้ั นี้ขึ้นอย่กู ับวัตถปุ ระสงคว์ า่ ต้องการระบายอากาศ
และ/ หรอื สารน้าจากโพรงเยื่อห้มุ ปอด
**ระบบปิด ทดสอบโดยใหค้ นไขไ้ อหรือหายใจเข้าออกแรงๆจะเห็นการกระเพื่อมของนา้ ขน้ึ ลงในแทง่ แกว้ ถา้
ระบบสองขวดจะเห็นเปน็ ปดุ ทแ่ี ท่งแก้วแทน แตถ่ า้ เห็นทบี่ ริเวณข้อตอ่ แสดงวา่ มีการรัว่ สงั เกตว่ารว่ั บรเิ วณไหน
1) drainage system มลี มเขา้ มาตามขอ้ ต่อตา่ งๆหรอื ไม่

2) ดูวา่ รขู อง chest tube อยูใ่ น thorax ท้ังหมดหรือไม่
3) ถ้ายังมลี มรวั่ อยู่ ให้ดูว่ารวั่ เฉพาะตอนหายใจออกหรอื ตอนไอ (large hole ท่ี lung parenchyma)

แต่ถ้าไม่มี respiratory fluctuation แสดงวา่ อาจมกี ารอดุ ตนั ในระบบหรอื ปอดขยายเต็มที่แล้ว ถา้ มี
การอดุ ตนั ในระบบสามารถแกไ้ ขโดยการเปลีย่ น tube ใหม่ ซ่ึงมีความยงุ่ ยาก หรือใชว้ ธิ ี“stripped” โดยการ
clamp ส่วน proximal แล้วบบี สายสว่ นdistal รดู ลงมาเมอื่ ปล่อยมือจะเกดิ negative pressure ดงึ ให้clot
หลดุ ออกมา แตถ่ า้ ส่วนอดุ ตนั อยใู่ น thorax ให้ clamp สว่ นdistal แล้วบบี รูดไปทาง proximal แทน
ระบบการทางานม4ี ระบบคือ

2.ต่อสายยางไปหาคนไข้ เม่ืออากาศของ
คนไข้ลงมาในขวดจะเกิดฟองอากาศและ
ออกจากขวดโดยทาง Tube open

3.ปดิ ดว้ ยพลาสเตอร์ 1.แท่งแกว้ ตอ้ งจมุ่ นา
บริเวณข้อต่อ 2 cm.

4.ใส่ Sterile water

1.ระบบขวดเดียว(ขวด subaqueous)ใชส้ าหรับระบายอากาศอยา่ งเดียวโดยไมม่ สี ารน้าร่วมดว้ ย

2.อากาศเข้ามา 1.ต่อจาก Pt. เลอื ดไหลลง
ในขวดทีม่ ี มาแทนที่อากาศ อากาศ
ถกู ดนั ออกมาอีกขวด
Sterile water

แล้วออกสู่
ภายนอก

2.ระบบสองขวด(ขวด reservoirและขวดsubaqeous)ใชส้ าหรบั ระบายอากาศและสารน้าแต่ไมม่ ีแรงดดู จาก
ภายนอก

ตอ่ กบั suction 2.อากาศเข้ามาในขวดท่มี ี Sterile water แล้วออกสู่
อีกขวด

2.อากาศเข้ามาในขวด แล้ว
ออกสภู่ ายนอก

อย่ใู ต้น3า้.ร2ะ0บCบmสามขวด (ขวด reservoir , ขวด subaqeous และขวด pr essure regulator) เหมือนระบบสองขวด
เพยี งแต่เพ่ิมแรงดดู จากภายนออกยใู่โตด้นยาอ้ า2ศcัยmเครื่องดดู สุญญากาศควบคมุ ความดนั โดยระดบั น้า

4.ระบบสี่ขวด เพ่มิ ขวด subaqueous อกี 1 ขวดโดยตอ่ จากขวดreservoir ของระบบสามขวด เพ่อื ใหม้ กี าร
ระบายอากาศได้ถ้าเคร่ืองดดู สุญญากาศไม่ทา้ งานหรือมีอากาศออกมามาก

การฟื้นฟสู ภาพปอด (lung rehabilitation)
-การจัดท่านอนและเปลย่ี นท่าบอ่ ยๆ
-การกระตุน้ ใหล้ กุ นั่ง ลกุ เดิน
-การพลกิ ตะแคงตวั
-การฝกึ การเป่าลกู โปง่
-การกระต้นุ การไออยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
-การฟน้ื ฟสู ภาพปอด

การพยาบาลผ้ปู ่วยที่มภี าวการณ์หายใจล้มเหลว (Respiratory failure)
ความหมาย
-ภาวะทป่ี อดไม่สามารถรกั ษาแรงดนั ของออกซเิ จนในเลือดแดง(PaO2) ให้อย่ใู นระดบั ปกติ PaO2 ต่ากวา่ 60
mmHg
-ภาวะท่ีปอดไม่สามารถรกั ษาแรงดันคารบ์ อนไดออกไซด์ในเลือดแดง (PaCO2) ใหอ้ ยใู่ นระดบั ปกติPaCO2
มากกว่า 50 mmHg

1. ภาวะการหายใจลม้ เหลวเรอ้ื รงั (Chronic respiratory failure)
2. ภาวะการหายใจลม้ เหลวอย่างเฉียบพลัน (Acute respiratory failure) พบเยอะ
สาเหตขุ องภาวการณห์ ายใจลม้ เหลว

 โรคของระบบประสาท
- หลอดเลอื ดสมองแตก ตบี ตัน (CVA)
- สมองบาดเจบ็
- ไขสันหลงั บาดเจบ็
- ยาสลบ ยาพิษ ยาฆา่ แมลง มอร์ฟนี
- มายแอสทเี นีย (myasthenia)
- เช้อื บาดทะยกั
- โปลโิ อ
- เกอร์แรงค์เบอเรย(์ Guillian-Barre syndrome)

 โรคของปอด/ทางเดนิ หายใจ
- ปอดไดร้ บั บาดเจ็บ อกรวน (Flail chest)
- ทางเดนิ หายใจอดุ ตัน
- หอบหืดรุนแรง
- ปอดอดุ ก้ันเรือ้ รงั
- ได้รับการใหเ้ ลือดจ้านวนมาก (Massive transfusion)
- จมน้า
- สูดก๊าซพษิ และคารบ์ อนไดออกไซด์
พยาธสิ รีรภาพ ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบสาคัญ 2 ประการคอื
1. Failure of oxygenation คอื ภาวะแรงดนั ออกซิเจนในเลอื ดแดง(PaO2) ลดลงตา่ กวา่ 60 mmHg ทั้งนี้
เนื่องจากการหายใจขัดข้องหรือหายใจลดลง(hypoventilation) การซึมผา่ นของเนื้อปอดลดลง(diffusion
defect) การไหลเวียนของเลอื ดลดั ไปโดยไมผ่ ่านถุงลม (intrapulmonary shunting) เลอื ดจงึ ไม่ไดร้ ับ
ออกซเิ จน หรอื หลอดลมส่วนปลายปิดเรว็ เกนิ ไป
ventilation-perfution mismatch (VA/Q) หรอื V/Q หรอื V/Q mismatch)
คอื การกาซาบ (perfusion) หรือกระบวนการกระจายของอากาศผา่ นถุงลมไปทหี่ ลอดเลอื ดแดงทไ่ี หลผ่าน
ปอดไมไ่ ดห้ รอื ผิดสัดส่วน ** ทัง้ นข้ี น้ึ อยกู่ บั การไหลเวยี นของเลือดไปท่ปี อดและการกระจายของอากาศท่ีถุงลม
ผิดสัดสว่ น**
V = Ventilation = Alaeolar ventilationคือ ปริมาตรอากาศทหี่ ายใจ เข้า-ออก 1 นาทปี ระมาณ 4 ลติ ร
Q = Perfusion = Pulmonary perfusion คือ คา่ ปกติของเลือดทไ่ี หลผ่านปอด 1 นาทปี ระมาณ 5 ลติ ร
V/Q = 0.8 แต่ถ้า V/Q = 0 (V/Q = 0 )เรยี กว่า ventilation-perfusion mismatch(V/Q mismatch)


Click to View FlipBook Version