The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนเขียนแบบสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by golfkonthai1803, 2018-08-26 22:39:59

แผนการสอนเขียนแบบสมบูรณ์

แผนการสอนเขียนแบบสมบูรณ์

แผนการจัดการเรียนรู้

ช่ือวชิ า เขียนแบบเทคนิคเบ้อื งตน้ รหัสวชิ า 2100 – 1001
หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พุทธศกั ราช 2556
ประเภทวชิ าช่างอุตสาหกรรม
แผนกวชิ าเทคนิคพ้ืนฐาน

จัดทาโดย

นาย ชนินทร ต่อพงศกร

ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2561
วิทยาลยั เทคนิคระยอง

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

หลกั สูตรรายวชิ า

ชื่อวชิ า เขียนแบบเทคนิคเบ้ืองตน้ รหัสวชิ า 21001001

ท.ป.น. 1 – 3 - 2 จานวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ปวช.

จดุ ประสงค์รายวชิ า

1. เพอ่ื ใหม้ ีความเขา้ ใจหลกั การเขียนแบบเทคนิค การใชเ้ คร่ืองมือ อุปกรณ์เขียนแบบ
2. มที กั ษะเกี่ยวกบั การอา่ นแบบและเขียนแบบเทคนิคเบ้ืองตน้ เก่ียวกบั ภาพฉาย ภาพตดั และ
ภาพสามมิติ ตามมาตรฐานเขียนแบบเทคนิค
3. มเี จตคติและกิจนิสยั ท่ีดีในการทางานดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบ เป็นระเบียบ สะอาด ตรงต่อ
เวลา มคี วามซ่ือสตั ย์ รับผดิ ชอบ และรักษาสภาพแวดลอ้ ม

สมรรถนะรายวชิ า
1. แสดงวธิ ีเขียนแบบเทคนิค การใชเ้ คร่ืองมือ อุปกรณ์เขียนแบบ
2. อ่านและเขียนแบบภาพชิ้นส่วนสองมติ ิ
3. อ่านและเขียนแบบภาพสามมติ ิ
4. เขียนภาพฉาย ภาพช่วยและภาพตดั

คาอธบิ ายรายวชิ า

ศกึ ษาและปฏบิ ตั ิเก่ียวกบั หลกั การอ่านแบบ เขียนแบบเทคนิคเบ้ืองตน้ การใชแ้ ละการ
บารุงรักษาเคร่ืองมอื เขียนแบบ มาตรฐานงานเขยี นแบบเทคนิค เสน้ ตวั เลข ตวั อกั ษร การสร้างรูป
เรขาคณิต การกาหนดขนาดของมติ ิ มาตราส่วน ภาพสามมิติ หลกั การฉายภาพมุมที่ 1 และมุมที่ 3
ภาพสามมิติ ภาพสเกตซ์ ภาพตดั และสญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอตุ สาหกรรม

หน่วยการเรียนรู้

ชื่อวชิ า เขียนแบบเทคนิคเบ้ืองตน้ รหัสวชิ า 21001001

ท.ป.น. 1 – 3 - 2 จานวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ปวช.

หน่วยท่ี ชื่อหน่วย จานวน ทมี่ า

คาบ A B C D E F G

1 บทนา 4/
2 เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นงานเขียนแบบ
3 การเขียนตวั เลขและตวั อกั ษร 4/
4 การเขียนรูปเรขาคณิต
5 มาตรฐานในงานเขียนแบบ 4/
6 การกาหนดขนาด
7 ภาพสามมติ ิ 4/
8 ภาพฉาย
9 ภาพตดั 4/
10 ภาพสเกตช์
11 สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่าง 8/

อุตสาหกรรม 8/

รวม 12 /

12 /

4/

4/

68

หมายเหตุ B = วชิ าเขียนแบบเทคนิคเบ้ืองตน้
A = หลกั สูตรรายวชิ า D = ………………………….
C = ………………… F = …………………………
E = ………………….
G =………………….

โครงการจดั การเรียนรู้

ชื่อวชิ า เขียนแบบเทคนิคเบ้ืองตน้ รหสั วชิ า 21001001

ท.ป.น. 1 – 3 - 2 จานวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ปวช.

สัปดาห์ท่ี หน่วยที่ ชื่อหน่วย/รายการสอน จานวนคาบ
1 1 บทนา 4
2 2 เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นงานเขียนแบบ 4
3 3 การเขียนตวั เลขและตวั อกั ษร 4
4 4 การเขียนรูปเรขาคณิต 4
5 5 มาตรฐานในงานเขียนแบบ 4
6-7 6 การกาหนดขนาด 8
8–9 7 ภาพสามมิติ 8
8 ภาพฉาย 12
10 - 12 9 ภาพตดั 12
13 - 15 10 ภาพสเกตช์ 4
11 สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอตุ สาหกรรม 4
16 4
17 สอบปลายภาคเรียน
18

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ

ชื่อวชิ า เขียนแบบเทคนิคเบ้ืองตน้ รหสั วชิ า 21001001

ท.ป.น. 1 – 3 - 2 จานวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับ ปวช.

ชื่อเรื่อง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ

หน่วยที่ 1 บทนา สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

1.1 วิวฒั นาการของงานเขียนแบบ แสดงความรู้เกีย่ วกบั ววิ ฒั นาการของงานเขียนแบบ เห็น

1.2 ความสาคญั ของงานเขียนแบบ ความสาคญั ของงานเขียนแบบ และลกั ษณะของแบบทางเทคนิค

1.3 ลกั ษณะของแบบทางเทคนิค จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)

1. บอกวิวฒั นาการของงานเขียนแบบ

2. อธิบายความสาคญั ของงานเขียนแบบ

3. บอกลกั ษณะของแบบทางสถาปัตยกรรม

4. บอกลกั ษณะของแบบไฟฟ้ าและอิเลก็ ทรอนิกส์

5. บอกลกั ษณะของแบบงานท่อ

6. บอกลกั ษณะของแบบเคร่ืองกล

7. บอกลกั ษณะของแบบโครงสร้าง

8. บอกลกั ษณะของแบบสิทธิบตั ร

9. บอกลกั ษณะของแบบแผนที่

10. บอกลกั ษณะของแบบกาลงั ของไหล

11. บอกลกั ษณะของแบบเคร่ืองมอื

12. บอกลกั ษณะของแบบสาหรับการผลติ ผลติ ภณั ฑ์

13. บอกลกั ษณะของแบบงานโลหะแผน่

ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง

มคี วามรับผดิ ชอบต่องานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย และส่งงาน

ตรงเวลาท่ีกาหนด

ช่ือเรื่อง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ
สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
หน่วยที่ 2 เคร่ืองมอื และอุปกรณ์
1. แสดงความรู้เก่ยี วกบั การใชเ้ ครื่องมือและอปุ กรณ์
เขียนแบบ เขียนแบบ
2.1 ความหมายของเครื่องมือเขียน
แบบ 2. ใชเ้ ครื่องมอื เขียนแบบเบ้ืองตน้ ตามที่กาหนด
2.2 เคร่ืองมือที่ใชใ้ นงานเขียนแบบ
2.2.1 กระดานเขียนแบบ จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives)
2.2.2 โต๊ะเขียนแบบ 1. บอกความหมายของเคร่ืองมอื เขียนแบบ
2.2.3 ไมท้ ี 2. บอกชื่อเครื่องมือเขียนแบบ
2.2.4 ฉากสามเหลี่ยม 3. อธิบายการใชง้ านของเคร่ืองมอื เขียนแบบ
2.2.5 บรรทดั มาตราส่วน 4. บอกวิธีการบารุงรักษาเครื่องมอื เขียนแบบ
2.2.6 วงเวยี น 5. บอกขนาดของกระดาษเขียนแบบตามมาตรฐาน ISO
2.2.7 ดิไวเดอร์
2.2.8 บรรทดั เขียนส่วนโคง้
2.2.9 ปากกาเขียนแบบ
2.2.10 ดินสอเขียนแบบ
2.2.11 บรรทดั วดั มมุ
2.2.12 อุปกรณ์ช่วยทาความ
สะอาด
2.3 กระดาษเขียนแบบ

ใบงานที่ 1 การใช้เคร่ืองมอื เขยี น 6. ใช้เคร่ืองมอื เขยี นแบบชนิดต่าง ๆ
แบบ
ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. มีความรับผดิ ชอบต่องานท่ีไดร้ ับมอบหมาย และส่ง

งานตรงเวลาที่กาหนด
2. ใชเ้ คร่ืองมอื และอปุ กรณ์เขียนแบบอยา่ งประหยดั

ชื่อเร่ือง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ
หน่วยที่ 3 การเขยี นตวั เลขและ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
ตวั อกั ษร
1. แสดงความรู้เกยี่ วกบั การเขียนตวั เลข และตวั อกั ษร
3.1 ความสาคญั ของ ในงานเขียนแบบ
ตวั อกั ษร
2. เขียนตวั เลขและตวั อกั ษรตามมาตรฐานงานเขยี น
3.2 ขนาดของตวั อกั ษร แบบท่ีกาหนด
3.3 มุมเอยี งของตวั อกั ษร
3.4 ตวั อกั ษรภาษาองั กฤษ จดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)
3.5 ตวั อกั ษรภาษาไทย
3.6 การเขียนตวั เลขและ 1. บอกความสาคญั ของตวั เลขและตวั อกั ษร
ตวั อกั ษร 2. บอกขนาดความสูงของเลขและตวั อกั ษรตาม
มาตรฐาน ISO
ใบงานท่ี 2 การเขยี นตวั เลข และ 3. บอกมมุ เอยี งของตวั เลขและตวั อกั ษร
ตวั อกั ษร 4. บอกชนิดของตวั อกั ษรภาษาองั กฤษ
5. อธิบายวิธีการเขียนตวั อกั ษรภาษาองั กฤษ
6. บอกขนาดความสูงของตวั อกั ษรภาษาไทย
7. บอกวธิ ีการเขียนตวั เลขและตวั อกั ษร
8. เขียนตวั เลขและตวั อกั ษรตามมาตรฐาน

ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. มีความรับผดิ ชอบต่องานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย และส่ง

งานตรงเวลาท่ีกาหนด
2. ใชเ้ คร่ืองมือและอปุ กรณ์เขียนแบบอยา่ งประหยดั
3. รู้จกั แบ่งปันเครื่องมอื และอปุ กรณ์เขียนแบบ

ชื่อเรื่อง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ

หน่วยที่ 4 การเขียนรูปเรขาคณติ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

4.1 ความสาคญั ของรูปเรขาคณิตใน 1. แสดงความรู้เกย่ี วกบั การเขียนรูปเรขาคณิต

งานเขียนแบบ 2. เขียนรูปเรขาคณิตตามแบบท่ีกาหนด

4.2 การสร้างรูปเรขาคณิต จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)

1. บอกความสาคญั ของรูปเรขาคณิตในงานเขียนแบบ

ได้

2. อธิบายวิธีการเขียนรูปเรขาคณิตตามที่กาหนด

ใบงานที่ 3 การเขยี นรูปเรขาคณติ 3. เขียนรูปเรขาคณติ ต่าง
ด้านคุณธรรม จริยธรรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
หน่วยที่ 5 มาตรฐานในงานเขยี น
แบบ 1. มีความรับผดิ ชอบต่องานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย และส่ง
5.1 เสน้ งานตรงเวลาที่กาหนด
5.2 มาตราส่วนในงานเขยี นแบบ
2. ใชเ้ คร่ืองมือและอปุ กรณ์เขียนแบบอยา่ งประหยดั
3. รู้จกั แบ่งปันเครื่องมอื และอปุ กรณ์เขียนแบบ

สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
1. แสดงความรู้เก่ียวกบั เสน้ ที่ใชใ้ นงานเขียนแบบ
2. แสดงความรู้เกยี่ วกบั มาตราส่วนท่ีใชใ้ นงานเขียน

แบบ
3. เขียนแบบโดยใชเ้ สน้ ตามที่กาหนด
4. เขียนแบบโดยใชม้ าตราส่วน

จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)
1. บอกขนาดความกวา้ งของเสน้ ท่ีใชใ้ นงานเขียนแบบ
2. บอกชนิดของเสน้ ที่ใชใ้ นงานเขียนแบบ
3. อธิบายกลุม่ เสน้ ที่ใชใ้ นงานเขียนแบบ
4. บอกความยาวของเสน้ ที่ใชใ้ นงานเขียนแบบ
5. บอกมาตราส่วนที่ใชใ้ นงานเขียนแบบ

ชื่อเรื่อง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ

ใบงานท่ี 4 เขียนเส้นต่าง ๆ ทใ่ี ช้ใน 6. เขยี นเส้นต่างๆทใี่ ช้ในงานเขียนแบบ

งานเขียนแบบ

ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. มคี วามรับผดิ ชอบต่องานที่ไดร้ ับมอบหมาย และส่ง

งานตรงเวลาท่ีกาหนด

2. ใชเ้ คร่ืองมือและอุปกรณ์เขียนแบบอยา่ งประหยดั

3. รู้จกั แบ่งปันเครื่องมอื และอุปกรณ์เขียนแบบ

หน่วยท่ี 6 การกาหนดขนาด สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

6.1 องคป์ ระกอบของการกาหนด 1. แสดงความรู้เกีย่ วกบั การกาหนดขนาดในงานเขียน

ขนาด แบบ

6.1.1 เสน้ กาหนดขนาด 2. กาหนดขนาดลงในแบบงานตามที่กาหนด

6.1.2 ตวั เลขบอกขนาด

6.1.3 หวั ลกู ศร

6.1.4 เสน้ ช่วยกาหนด

ขนาด

6.1.5 เสน้ ช้ีช่วยกาหนด

ขนาด

6.1.6 เสน้ โยง

6.2 การกาหนดขนาดเสน้ ผา่ น

ศนู ยก์ ลาง

6.3 การกาหนดขนาดงานทรงกลม

6.4 การกาหนดขนาดส่วนโคง้ และ

คอร์ด

6.5 การกาหนดขนาดมมุ

6.6 การใชส้ ญั ลกั ษณ์รูปสี่เหลี่ยม

จตั ุรัสและเสน้ ทแยงมมุ

6.7 การกาหนดขนาดรัศมีและ การ

กาหนดขนาดแบบงาน

ช่ือเรื่อง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ

ใบงานที่ 5 การกาหนดขนาด จดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)
1. บอกองคป์ ระกอบของการกาหนดขนาด
หน่วยท่ี 7 ภาพสามมติ ิ 2. กาหนดขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางลงในแบบงานตาม
7.1 ความหมายของภาพสามมติ ิ
7.2 ชนิดของภาพสามมติ ิ คาสงั่ ที่กาหนด
7.3 การเขียนภาพไอโซเมตริก 3. กาหนดขนาดงานทรงกลมลงในแบบงานตามคาสงั่ ที่
7.4 การเขียนภาพออบลิก
7.5 การสร้างวงรีในภาพสามมติ ิ กาหนด
4. กาหนดขนาดส่วนโคง้ และคอร์ดลงในแบบงานตาม

คาสง่ั ท่ีกาหนด
5. กาหนดขนาดมมุ ลงในแบบงานตามคาสงั่ ที่กาหนด
6. ใชส้ ญั ลกั ษณ์รูปสี่เหลี่ยมจตั ุรัสและเสน้ ทแยงมุม
7. กาหนดขนาดรัศมีลงในแบบงานตามคาสงั่ ท่ีกาหนด
8. บอกวธิ ีการกาหนดขนาดแบบงาน

2. กาหนดขนาดลงในแบบงาน

ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. มีความรับผดิ ชอบต่องานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย และส่ง

งานตรงเวลาท่ีกาหนด
2. มีกิจนิสยั ในการทางานดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบ

เป็นระเบียบ สะอาด
3. ใชเ้ คร่ืองมอื และอุปกรณ์เขียนแบบอยา่ งประหยดั
4. รู้จกั แบ่งปันเครื่องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ

สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
1. แสดงความรู้เก่ยี วการเขียนภาพสามมิติ
2. อา่ นและ เขียนแบบภาพสามมิติ
3. เขียนวงรีในภาพสามมติ ิ ตามที่กาหนด

จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)
1. บอกความหมายของภาพสามมติ ิ
2. บอกชนิดของภาพสามมิติ
3. อธิบายวธิ ีการเขียนภาพไอโซเมตริก
4. อธิบายวิธีการเขียนภาพออบลิก
5. อธิบายวิธีการเขียนวงรีในภาพสามมิติ

ช่ือเร่ือง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ
ใบงานท่ี 6 ภาพสามมติ ิ
6. เขยี นภาพสามมติ ติ ามทกี่ าหนด
หน่วยที่ 8 ภาพฉาย 7. เขยี นวงรีในภาพสามมติ ิ
8.1 ความหมายของภาพฉาย
8.2 ลกั ษณะของภาพฉาย ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
8.3 ภาพฉายมมุ ท่ี 1 1. มีความรับผดิ ชอบต่องานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย และส่ง
8.4 ภาพฉายมมุ ที่ 3
8.5 การฉายภาพวธิ ีใชศ้ รช้ี งานตรงเวลาท่ีกาหนด
2. มกี ิจนิสยั ในการทางานดว้ ยความละเอียดรอบคอบ
ใบงานที่ 7 ภาพฉาย
เป็นระเบียบ สะอาด
3. ใชเ้ ครื่องมอื และอุปกรณ์เขียนแบบอยา่ งประหยดั
4. รู้จกั แบ่งปันเครื่องมอื และอปุ กรณ์เขียนแบบ

สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
1. แสดงความรู้เก่ียวกบั การเขียนแบบภาพฉาย
2. เขียนแบบภาพฉายตามทีก่ าหนด

จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)
1. บอกความหมายของภาพฉาย
2. บอกลกั ษณะของภาพฉาย
3. บอกทิศทางการมองภาพฉายมมุ ท่ี 1
4. อธิบายวธิ ีการเขียนแบบภาพฉายมมุ ที่ 1
5. บอกทิศทางการมองภาพฉายมุมท่ี 3
6. อธิบายวิธีการเขียนแบบภาพฉายมมุ ท่ี 3
7. เขยี นแบบภาพฉายตามที่กาหนด

ด้านคุณธรรม จริยธรรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. มคี วามรับผดิ ชอบต่องานท่ีไดร้ ับมอบหมาย และส่ง

งานตรงเวลาท่ีกาหนด
2. มีกิจนิสยั ในการทางานดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบ

เป็นระเบียบ สะอาด
3. ใชเ้ ครื่องมือและอุปกรณ์เขียนแบบอยา่ งประหยดั
4. รู้จกั แบ่งปันเคร่ืองมอื และอปุ กรณ์เขียนแบบ

ช่ือเรื่อง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ
สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
หน่วยที่ 9 ภาพตดั
9.1 ระนาบตดั 1. แสดงความรู้เกยี่ วกบั ภาพตดั
9.2 รูปแบบของเสน้ แสดงระนาบ 2. เขียนแบบภาพตดั ตามแบบท่ีกาหนด
ตดั
9.3 เสน้ ลายตดั จุดประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives)
9.4 ชนิดของภาพตดั 1. บอกความหมายของระนาบตดั
2. อธิบายการเขียนเสน้ ลายตดั
9.4.1 ภาพตดั เตม็ 3. เขยี นแบบภาพตดั ชนิดต่างๆ
9.4.2 ภาพตดั คร่ึง
9.4.3 ภาพตดั เฉพาะส่วน
9.4.4 ภาพตดั เลื่อนแนว
9.4.5 ภาพตดั หมนุ
9.4.6 ภาพตดั เคลอื่ น
9.4.7 ภาพตดั ประกอบ
9.4.8 ภาพตดั ช่วย
9.4.9 ภาพตดั ชนิดพิเศษ

ใบงานที่ 8 ภาพตดั

ด้านคุณธรรม จริยธรรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. มีความรับผดิ ชอบต่องานที่ไดร้ ับมอบหมาย และส่ง

งานตรงเวลาท่ีกาหนด
2. มีกิจนิสยั ในการทางานดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบ

เป็นระเบียบ สะอาด
3. ใชเ้ ครื่องมือและอุปกรณ์เขียนแบบอยา่ งประหยดั
4. รู้จกั แบ่งปันเครื่องมอื และอุปกรณ์เขียนแบบ

ช่ือเร่ือง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ
หน่วยท่ี 10 ภาพสเกตซ์
10.1 ความหมายของภาพสเกตซ์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
10.2 ชนิดของภาพสเกตซ์ 1. แสดงความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การเขียนแบบภาพ
10.3 ลกั ษณะของภาพสเกตซ์
10.4 เสน้ สเกตซ์ สเกตช์
10.5 หลกั ในการสเกตซภ์ าพ 2. เขียนภาพสเกตชต์ ามแบบท่ีกาหนด
10.6 วธิ ีเขียนเสน้ ในการสเกตซ์
10.7 การสเกตซภ์ าพสามมติ ิ จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives)
10.8 การสเกตซภ์ าพฉาย 1. บอกความหมายของภาพสเก็ตช์
2. บอกชนิดของภาพสเก็ตช์
ใบงานท่ี 8 ภาพสเกตซ์ 3. อธิบายลกั ษณะของภาพสเกต็ ช์
4. อธิบายเสน้ สเก็ตช์
5. อธิบายหลกั การสเกต็ ชภ์ าพ
6. อธิบายวิธีการเขียนเสน้ สเกต็ ช์
7. อธิบายวิธีการสเกต็ ชภ์ าพสามมิติ
8. อธิบายวิธีการสเก็ตชภ์ าพฉาย
9. เขียนภาพสเกตช์

ด้านคุณธรรม จริยธรรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. มีความรับผดิ ชอบต่องานที่ไดร้ ับมอบหมาย และส่ง

งานตรงเวลาที่กาหนด
2. มกี ิจนิสยั ในการทางานดว้ ยความละเอียดรอบคอบ

เป็นระเบียบ สะอาด
3. ใชเ้ คร่ืองมอื และอปุ กรณ์เขียนแบบอยา่ งประหยดั
4. รู้จกั แบ่งปันเครื่องมอื และอุปกรณ์เขียนแบบ

ช่ือเรื่อง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ

หน่วยที่ 11 สัญลกั ษณ์เบอื้ งต้นใน สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

งานช่างอุตสาหกรรม 1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่าง

11.1 ความสาคญั ของสญั ลกั ษณ์ อุตสาหกรรม

11.2 สญั ลกั ษณค์ ุณภาพผวิ 2. เขียนสญั ลกั ษณ์คุณภาพผวิ ลงในแบบงานท่ีกาหนด

11.2.1 การวดั ค่าความ

หยาบผวิ งาน จดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)

11.2.2 การกาหนด 1. บอกความสาคญั ของสญั ลกั ษณ์

สญั ลกั ษณ์ความหยาบผวิ ตาม 2. บอกวิธีการวดั ค่าความหยาบผวิ

มาตรฐาน DIN 140 3. อธิบายการกาหนดสัญลกั ษณ์ความหยาบผิวตาม

11.2.3 การกาหนด มาตรฐาน DIN 3141

สญั ลกั ษณ์ความหยาบผวิ ตาม 4. อธิบายการกาหนดสัญลกั ษณ์ความหยาบผิวตาม

มาตรฐาน ISO 1302 มาตรฐาน ISO 1302

11.2.4 การระบุตาแหน่งใน 5. อธิบายสญั ลกั ษณ์ทิศทางการตดั เฉือนผวิ งาน

แบบงาน 6. อธิบายการระบุตาแหน่งสญั ลกั ษณ์ในแบบงาน

ใบงานท่ี 9 สัญลกั ษณ์เบอื้ งต้นใน 7. เขียนสัญลกั ษณ์คณุ ภาพผวิ ในแบบงาน

งานช่างอุตสาหกรรม

ด้านคุณธรรม จริยธรรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. มคี วามรับผดิ ชอบต่องานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย และส่ง

งานตรงเวลาที่กาหนด

2. มกี ิจนิสยั ในการทางานดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบ

เป็นระเบียบ สะอาด

3. ใชเ้ คร่ืองมอื และอุปกรณ์เขียนแบบอยา่ งประหยดั

4. รู้จกั แบ่งปันเคร่ืองมือและอุปกรณ์เขียนแบบ

ตารางวเิ คราะห์หลกั สูตรรายวชิ า

ชื่อวชิ า เขียนแบบเทคนิคเบ้ืองตน้ รหสั วชิ า 21001001

ท.ป.น. 1 – 3 - 2 จานวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับ ปวช.

พทุ ธพิ สิ ัย

พฤตกิ รรม ความ ู้รความจา
ความเ ้ขาใจ
ช่ือหน่วย ประยุก ์ต-นาไปใ ้ช
วิเคราะ ์ห
ูสงก ่วา
ทักษะพิ ัสย
จิตพิ ัสย
รวม
ลาดับความสาคัญ

บทนา 2 26
1 45
เครื่องมอื ที่ใชใ้ นงานเขียน 1 1 1
1 45
แบบ 1 45
2 73
การเขียนตวั เลขและตวั อกั ษร 1 1 1 2 64
2 82
การเขียนรูปเรขาคณิต 111 2 91
2 82
มาตรฐานในงานเขียนแบบ 1 2 2 1 45
1 45
การกาหนดขนาด 112
15 60
ภาพสามมติ ิ 222 2

ภาพฉาย 223

ภาพตดั 2 2 2

ภาพสเกตช์ 111

สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่าง 1 1 1
อตุ สาหกรรม

รวม 15 14 16

ลาดบั ความสาคญั 231

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยท่ี 1
สปั ดาห์ที่ 1
วชิ า เขยี นแบบเทคนคิ เบอ้ื งตน้ สอนครั้งท่ี 1.1 ชั่วโมงรวม 2
ชื่อหนว่ ย การใชแ้ ละการบารุงรักษาเครื่องมอื เขียน จานวนช่ัวโมง 2
แบบเบอื้ งตน้
เร่อื ง การใช้และการบารุงรกั ษาเครอ่ื งมอื เขียนแบบเบ้อื งตน้

หวั ข้อเรอื่ ง

1. กระดานเขียนแบบ
2. บรรทดั ตวั ทหี รือไม้ที
3. บรรทัดเล่อื นหรือทสี ไลด์
4. บรรทัดฉากสามเหลีย่ ม
5. บรรทัดเขยี นส่วนโค้ง
6. วงเวียนดินสอ
7. ดินสอเขยี นแบบ
8. ยางลบดนิ สอ

สาระสาคญั
การใช้และการบารุงรักษาเครอื่ งมอื เขยี นแบบ เป็นส่ิงจาเปน็ มากที่ช่างเขียนแบบทกุ คนจะต้อง
เรยี นรกู้ ารใช้และการบารงุ รกั ษาเครอื่ งมือเขยี นแบบทีถ่ กู ตอ้ ง เพอื่ ใหไ้ ด้คณุ ภาพงานเขยี นแบบออกมาดี
เครอ่ื งมือเขยี นแบบเบือ้ งต้นทีจ่ าเป็นจะตอ้ งเรียนรมู้ ดี งั นี้
1. กระดานเขยี นแบบ
2. บรรทัดตัวทีหรือไม้ที
3. บรรทดั ฉากสามเหลี่ยม
4. บรรทดั เขยี นสว่ นโคง้
5. วงเวยี นดินสอ
6. ดนิ สอเขียนแบบ
7. ยางลบดนิ สอในงานเขยี นแบบ

จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
1. แสดงการใชแ้ ละการบารงุ รกั ษากระดานเขยี นแบบได้
2. แสดงการใช้และการบารงุ รกั ษาไม้ทหี รอื ทสี ไลดไ์ ด้
3. แสดงการใชแ้ ละการบารงุ รกั ษาบรรทดั ฉากสามเหลี่ยมได้

4. แสดงการใชแ้ ละการบารงุ รกั ษาบรรทดั เขียนส่วนโค้งได้
5. แสดงการใชแ้ ละการบารงุ รกั ษาวงเวยี นดินสอได้
6. แสดงการใชแ้ ละการบารงุ รกั ษาดนิ สอเขยี นแบบได้
7. แสดงการใช้และการบารงุ รกั ษายางลบดนิ สอในงานเขยี นแบบได้

การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
1. ครูปฐมนเิ ทศโดยแนะนาหลกั สตู ร การเตรยี มอปุ กรณ์เขยี นแบบประจาตวั การประเมินผล

การเรียน การเข้าเรียน และการแต่งกาย ใช้เวลา 30 นาที
2. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรยี นโดยการยกตัวอย่างถามนกั เรียนดงั นี้ “ถ้าเราต้องการจา้ งชา่ งทาเก้าอ้ีนงั่ ตัว

น้ี จะต้องทาอย่างไร ถ้าไมส่ ามารถยกเก้าอี้ไปได้” “ถ้าวาดรูปใสก่ ระดาษจะต้องวาดอย่างไร”
(ขั้นสอน 30 นาที)
3. ครใู ชว้ ิธีแสดงอปุ กรณ์เขียนแบบทลี ะชนิ้ และถามนักเรยี นให้ตอบเพ่อื ทดสอบพื้นฐานความรเู้ ดมิ
4. ครูแสดงประกอบการบรรยายการใชแ้ ละการบารุงรกั ษาอุปกรณเ์ ขียนแบบทลี ะชิน้
(ขน้ั ทาแบบฝึกหดั 40 นาที)
5. ใหน้ ักเรียนฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารใช้อุปกรณ์เขยี นแบบ ใหท้ าแบบฝึกหดั ที่ 1 โดยใหน้ ักเรียนทาตาม

ขน้ั ตอนดังน้ี
5.1 ดึงใบแบบฝึกหดั ออกจากเล่มหนงั สอื
5.2 นาใบแบบฝกึ หดั วางตดิ บนโต๊ะเขียนแบบหรือกระดานเขยี นแบบโดยใชแ้ ผ่นกาวใสแปะ

ยดึ ติดที่มุมทง้ั 4 ของกระดาษ
5.3 ขณะยึดติดแผ่นกาวจะตอ้ งนาไมท้ มี าวางทับกระดาษแบบฝกึ หัดใหข้ อบกระดาษวาง

ขนานกับขอบไม้ที
5.4 ใหท้ าแบบฝกึ หดั ทีละข้อ และควบคุมการใช้ดินสอเขียนแบบในการเขยี นเส้น ใหต้ ั้งฉาก

กับผวิ กระดาษเสมอ กดดินสอด้วยแรงกดทีห่ นกั และคงที่
5.5 ครเู ดินดนู กั เรยี นสงั เกตการใชอ้ ุปกรณ์ว่าถูกต้องหรือไม่

6. ครเู กบ็ ใบแบบฝึกหัดที่นักเรียนส่งไว้ รอการตรวจประเมินเมื่อสอนหนว่ ยท่ี 2 จบแล้ว
7. เมือ่ หมดเวลาการทาแบบฝกึ หัด ครเู ตรยี มการสอนหน่วยที่ 2 ต่อไปทนั ที

งานที่มอบหมาย
กอ่ นเรียน ใหน้ ักเรียนจัดเตรยี มอุปกรณเ์ ขยี นแบบประจาตวั และหนงั สอื เขียนแบบเทคนคิ ใหพ้ รอ้ ม
ขณะเรียน ให้นกั เรยี นทาแบบฝกึ หัดที่ 1 ใหส้ ่งภายใน 40 นาที

ส่อื การเรยี นการสอน

1. ส่อื สิ่งพิมพ์
หนังสือเขียนแบบเทคนคิ เบ้อื งต้น

2. ของจรงิ
- โต๊ะเขียนแบบ
- กระดานเขยี นแบบ A3
- บรรทดั ฉากสามเหลย่ี ม
- วงเวยี นดนิ สอ
- ดินสอกดแบบเปลยี่ นไส้ได้
- ยางลบดนิ สอ
- วงเวียนไม้ , และบรรทัดไม้ฉากสามเหลยี่ ม 45o และ 30o-60o

การประเมนิ ผล

1. ประเมินผลความเข้าใจเรอื่ งการใช้เครื่องมอื เขยี นแบบไดถ้ กู ต้อง โดยการประเมินจากการสงั เกต
และการตรวจประเมนิ การทาใบงานตามแบบประเมนิ ใบงาน

2. ประเมินผลความเข้าใจเรอ่ื งการบารงุ รกั ษาเครอื่ งมอื เขยี นแบบ โดยการสงั เกตการใช้ และการ
ถาม-ตอบ

3. การประเมนิ ด้านคุณธรรมและจรยิ ธรรมในการเข้าเรยี นแต่ละครั้ง ตามแบบบันทกึ การประเมนิ
ดา้ นคุณธรรมและจรยิ ธรรม

การประเมนิ ผลแบบฝกึ หัด

1. เร่อื ง การเขียนเสน้ ตามแบบทกี่ าหนด

มเี กณฑ์การให้คะแนนแตล่ ะข้อมดี งั น้ี

รายการประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ

2 1.5 1 0.5

1. ความดาสม่าเสมอของเสน้

2. ความคงทขี่ องระยะห่างระหวา่ งเส้น

3. ความตรงของเสน้

2. เรอื่ ง การเขยี นวงกลมด้วยวงเวยี น

มเี กณฑ์การใหค้ ะแนนดงั นี้

รายการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ

2 1.5 1 0.5

1. ความดาสมา่ เสมอของเสน้

2. ความคงทีข่ องเสน้ โคง้

3. การต่อชนของปลายเสน้ โค้ง

เรือ่ ง การใชเ้ ครอ่ื งมือเขียนแบบ มีข้อบกพร่อง
ใชไ้ ด้ถกู ต้องใน บางจุด
ระดบั ดี 1
2

1 กระดานเขียนแบบ
2 ไมท้ ีหรือทสี ไลด์
3 ดินสอ
4 วงเวยี น
5 ยางลบ
6 บรรทัดฉากสามเหล่ยี ม
7 บรรทัดส่วนโคง้

14

แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 2
สปั ดาห์ที่ 1
วชิ า เขียนแบบเทคนคิ เบอื้ งต้น สอนครง้ั ที่ 1.2 ชั่วโมงรวม 2
ช่ือหน่วย มาตรฐานเสน้ และมาตรฐานตวั อกั ษรใน จานวนชัว่ โมง 2
งานเขียนแบบ
เร่ือง มาตรฐานเส้น และมาตรฐานตัวอักษรในงานเขียนแบบ

หวั ขอ้ เร่อื ง
1. มาตรฐานเสน้ ตามมาตรฐาน DIN ISO 128-24 (1999-12)
2. มาตรฐานตัวอักษร ตามมาตรฐาน DIN EN ISO 3098-2 (2000-11)

สาระสาคญั
มาตรฐานขนาดเสน้ ในงานเขยี นแบบเทคนคิ จะแบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ ใหญๆ่ คือ
เส้นเตม็ หนา (เส้นหนา 0.5 ม.ม.) และเส้นเต็มบาง ( เสน้ หนา 0.25 ม.ม.)
มาตรฐานตัวอกั ษร ตามมาตรฐาน DIN EN ISO 3098-2 (2000-11) แบ่งออกเป็น 2 แบบคอื
แบบ A กับแบบ B มาตรฐานความสูงของตัวอักษร คอื 2.5 , 3.5 , 5 , 7 , 10 ,14 ,20 ม.ม.

จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. เขียนเสน้ เตม็ หนา เส้นเตม็ บางและเส้นประตามมาตรฐาน ด้วยดนิ สอกดชนดิ เปล่ยี นไส้

มาตรฐานได้
2 . เขยี นตัวอกั ษรตามมาตรฐาน ด้วยดินสอกดชนดิ เปล่ียนไส้มาตรฐานได้

การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
1. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรียน ด้วยการแสดง แผ่นโปรงใสเรือ่ งมาตรฐานของเส้น (5 นาที)
(ขน้ั สอน 30 นาที)
2. ครบู รรยายเรือ่ งมาตรฐานของเสน้ ประกอบกบั แผ่นใส พรอ้ มแสดงการเขียนเส้นชนดิ ต่างๆที่

ถกู วธิ ี
3. ครูบรรยายเรื่องมาตรฐานของอักษร ตามมาตรฐาน ISO ประกอบกบั แผน่ ใส พรอ้ มแสดง

วิธกี ารเขยี นตัวเลข 1-10 ที่ถกู ต้อง และไม่ถูกต้อง
(ข้นั ทาแบบฝึกหดั 60 นาที)
4.มอบหมายงานให้นกั เรียนฝึกปฏบิ ัติ ใหท้ าแบบฝึกหดั ท่ี 2 โดยให้นักเรียนทาตามขน้ั ตอนดงั นี้
4.1 ดึงใบแบบฝกึ หัดออกจากเล่มหนังสอื

4.2 นาใบแบบฝกึ หัดวางติดบนโตะ๊ เขยี นแบบหรือกระดานเขียนแบบโดยใช้แผน่ กาวใสแปะ
ยดึ ติดทม่ี ุมทงั้ 4 ของกระดาษ

4.3 ขณะยดึ ตดิ แผน่ กาวจะตอ้ งนาไม้ทมี าวางทบั กระดาษแบบฝึกหดั ใหข้ อบกระดาษวาง
ขนานกับขอบไม้ที

4.4 ให้ทาแบบฝึกหัดทลี ะขอ้ และควบคุมการใช้ดนิ สอเขยี นแบบในการเขียนเสน้ ใหต้ ัง้ ฉาก
กบั ผิวกระดาษเสมอ กดดินสอดว้ ยแรงกดท่ีหนกั และคงท่ี

4.4 ครูเดินดูนกั เรียนสงั เกตการใช้ดินสอเขียนแบบวา่ ถกู ตอ้ งหรือไม่
5. ขณะทน่ี กั เรยี นกาลังทาแบบฝกึ หดั อยู่นน้ั ครนู าแบบฝกึ หดั ที่ 1 ของนักเรยี น ขน้ึ มาตรวจ
ประเมนิ
(ข้นั ตรวจประเมนิ 45 นาที)
6. เม่อื ถึงเวลาสง่ ใบแบบฝกึ หัด ครเู ก็บรวบรวมใบแบบฝกึ หดั ที่ 2 และทาการตรวจประเมิน
หลงั จากนกั เรียนออกจากหอ้ งเรียนแล้ว
7. ครูตรวจและบันทึกคะแนน เพอื่ เตรยี มไว้สรุปผลภายในชวั่ โมงเรยี นต่อไป

งานท่ีมอบหมาย
กอ่ นเรียน ใหน้ ักเรยี นจดั เตรียมอุปกรณเ์ ขยี นแบบประจาตวั และหนังสือเขยี นแบบเทคนคิ ให้พรอ้ ม
ขณะเรียน ใหน้ ักเรียนทาแบบฝึกหัดท่ี 2 ให้สง่ ภายใน 1 ชัว่ โมง

ส่อื การเรียนการสอน
1. สื่อส่งิ พิมพ์
หนังสือเขยี นแบบเทคนคิ เบ้อื งต้น
2. ส่อื โสตทัศน์
แผน่ โปร่งใสเร่อื ง มาตรฐานขนาดเสน้ พืน้ ฐาน และมาตรฐานตัวอกั ษรในงานเขียนแบบเทคนคิ

การประเมินผลแบบฝกึ หัด

1. เร่อื ง มาตรฐานเสน้

มเี กณฑ์การใหค้ ะแนนแต่ละข้อมีดังน้ี

รายการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ

2 1.5 1 0.5

1. ความดาสม่าเสมอของเสน้

2. ความคงทข่ี องระยะห่างระหว่างเส้น

3. ความตรงและถูกต้องของเส้น

2. เรือ่ ง การเขียนตวั อกั ษร

มีเกณฑก์ ารให้คะแนนแตล่ ะบรรทัดดังน้ี

รายการประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ

2 1.5 1 0.5

1. ความดาสม่าเสมอของเสน้

2. ความคงที่ของเส้น

3. รปู แบบถกู ตอ้ งตามมาตรฐาน

แผน่ โปร่งใส
เรอื่ ง มาตรฐานเส้น และมาตรฐานตวั อักษร

ในงานเขียนแบบเทคนคิ

ชนิดของเสน้ ในงานเขยี นแบบ
ตามมาตรฐาน DIN ISO 128-24 (1999-12)

ชนดิ ของเสน้ และการใช้งาน

ประเภทของเสน้ ความหนา การใช้งาน
A เส้นเตม็ หนา ของเสน้

0.5 เส้นขอบรปู ท่ีมองเหน็

B เส้นเต็มบาง 0.25 เส้นบอกขนาด , เส้นช่วยบอก
ขนาด , เส้นลายตัด
C เส้นประ
(บาง) 0.25 เสน้ ขอบรปู ที่ถูกบัง

D เสน้ ลูกโซบ่ าง 0.25 เสน้ ศูนยก์ ลาง

E เส้นมอื เปล่า 0.25 เสน้ แสดงตดั ยน่ ระยะ, เส้น
แสดงตดั เฉพาะสว่ น

มาตรฐานตัวอักษร
ตามมาตรฐาน DIN EN ISO 3098-0 (1998-04)

และ DIN EN ISO 3098-2 (2000-11)

ตวั อักษรแบบ B ตัวตรง

ตวั อักษรแบบ B ตวั เอียง

ตัวอักษรแบบ A ตัวตรง

ตัวอกั ษรแบบ A ตวั เอยี ง

มาตรฐานการเขยี นตัวอกั ษร

ตวั อกั ษรสูง 2.5 มลิ ลิเมตร เสน้ ของตัวอักษรจะหนา เท่ากับ 0.25 มลิ ลิเมตร
ตัวอักษรสูง 3.5 มิลลเิ มตร เส้นของตัวอักษรจะหนา เท่ากับ 0.35 มลิ ลเิ มตร
ตวั อกั ษรสงู 5.0 มิลลิเมตร เส้นของตวั อกั ษรจะหนา เทา่ กบั 0.5 มลิ ลเิ มตร

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 3
วชิ า เขียนแบบเทคนิคเบอ้ื งต้น สอนครั้งท่ี 3 สัปดาห์ท่ี 2
ช่ือหนว่ ย การสรา้ งรูปเรขาคณติ ชั่วโมงรวม 4
เรอื่ ง การสรา้ งรปู เรขาคณิต จานวนช่ัวโมง 4

หัวขอ้ เร่ือง
1. การแบง่ ครงึ่ เสน้ ตรงด้วยวงเวยี น
2. การครงึ่ แบง่ มมุ ดว้ ยวงเวยี น
3. การสร้างเส้นขนานด้วยวงเวยี น
4. วิธีแบ่งเสน้ ตรงออกเปน็ หลายสว่ นเทา่ ๆ กนั ด้วยวงเวยี น
5. การเขยี นสว่ นโค้งสัมผัสเสน้ ตรงที่ตงั้ ฉากกนั
6. การเขียนส่วนโคง้ สมั ผัสมมุ (ที่ไม่ใช่มมุ ฉาก)
7. การสรา้ งรปู ห้าเหลยี่ มด้านเทา่
8. การสรา้ งรปู หกเหลย่ี มดา้ นเทา่
9. การสรา้ งรปู แปดเหลี่ยมดา้ นเทา่
10. การสร้างรปู วงรีในรปู สี่เหลี่ยมด้านขนาน

สาระสาคัญ
การสร้างรูปเรขาคณติ เปน็ การประยุกตก์ ารฝกึ การใช้เครอ่ื งมอื เขยี นแบบให้มีความชานาญ และ
ช่วยเพ่ิมทกั ษะประสบการณ์ดา้ นการเขยี นรปู ทรงเชงิ เส้น ต่างๆ เช่นการสร้างรปู ห้าเหลยี่ มดา้ นเทา่ , การ
สร้างรูปหกเหล่ยี มด้านเทา่ ,การสรา้ งรปู แปดเหลย่ี มดา้ นเท่าเป็นตน้ โดยใช้ดนิ สอและวงเวียนเป็นอปุ กรณ์
หลัก

จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
1. แสดงวธิ ีการแบง่ ครึง่ เสน้ ตรงด้วยวงเวียนได้
2. แสดงการแบ่งครง่ึ มมุ ด้วยวงเวียนได้
3. แสดงการสรา้ งเสน้ ขนานด้วยวงเวียนได้
4. แสดงวิธีแบง่ เสน้ ตรงออกเปน็ หลายส่วนเท่าๆกนั ด้วยวงเวยี นได้
5. แสดงการเขียนส่วนโค้งสมั ผัสเส้นตรงที่ต้งั ฉากกนั ได้
6. แสดงการเขียนสว่ นโคง้ สมั ผสั มมุ ได้
7. แสดงการสรา้ งรปู ห้าเหลย่ี มด้านเท่าได้

8. แสดงการสร้างรปู หกเหลีย่ มด้านเทา่ ได้
9. แสดงการสร้างรปู แปดเหลี่ยมดา้ นเทา่ ได้
10. แสดงการสร้างรปู วงรใี นรปู สี่เหล่ียมดา้ นขนานได้

การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
1. ครูส่งคืนใบแบบฝึกหัดที่ 1 และ 2 แกน่ ักเรยี น และซกั ถามขอ้ สงสยั (10นาที)
2. ครนู าเข้าสู่บทเรียนหน่วยที่ 3 ด้วยการฉายแผ่นโปรงใสเรอื่ งตวั อย่างรปู เรขาคณติ

ตา่ ง ๆ ให้นกั เรียนดู (5นาที)
(ขั้นสอน+ ขนั้ ทาแบบฝึกหดั รวม 165 นาที)
3. ครูสงั่ ใหน้ กั เรยี นเตรียมแบบฝกึ หดั ตดิ บนโต๊ะเขยี นแบบและเตรียมดินสอ วงเวยี นใหพ้ รอ้ ม

และฟังครอู ธบิ าย
4. ครแู สดงประกอบการบรรยาย การเขียนเสน้ รปู เรขาคณิตทลี ะขอ้ เมือ่ อธิบายจบในแตล่ ะ

หวั ขอ้ สัง่ ใหน้ ักเรียนฝึกปฏบิ ตั ติ าม ทาแบบฝึกหัดที่ 3 ทลี ะขอ้
5. การมอบหมายงานใหน้ ักเรียนทาแบบฝกึ หดั ท่ี 3 ทาตามคาสัง่ ทลี ะขอ้ โดยกอ่ นลงมือ

ปฏิบัติ ใหน้ กั เรียนติดใบแบบฝกึ หดั บนโตะ๊ เขยี นแบบตามวธิ ที ่ีถูกตอ้ งเช่นเดียวกบั ครง้ั กอ่ น
6. ครเู ดินดนู กั เรียนสงั เกตการณใ์ ช้วงเวยี นดินสอและเขียนรปู เรขาคณติ วา่ ถูกตอ้ งหรอื ไม่
(ขั้นตรวจประเมนิ 60 นาที)
7. เมอื่ นกั เรียนทาเสรจ็ ในข้อสดุ ท้ายแลว้ ครเู กบ็ รวบรวมใบแบบฝกึ หัดที่ 3 และใหน้ กั เรียน

เตรยี มพร้อมเลิกเรยี น
8. หลังจากนั้น มีเวลาเหลอื ชว่ งท้าย (ประมาณ 60 นาที ) ครทู าการตรวจประเมนิ และบันทกึ

คะแนน เพ่ือเตรียมไว้สรปุ ผลภายในช่ัวโมงเรยี นตอ่ ไป

งานที่มอบหมาย
กอ่ นเรยี น ใหน้ กั เรียนจัดเตรยี มอปุ กรณเ์ ขยี นแบบประจาตวั และหนงั สอื เขยี นแบบเทคนคิ ใหพ้ ร้อม
ขณะเรยี น ให้นกั เรยี นทาแบบฝึกหัดที่ 3 ให้ส่งในชวั่ โมงเรียน

ส่ือการเรียนการสอน
1. สือ่ สง่ิ พมิ พ์
หนังสือเขียนแบบเทคนิคเบอื้ งตน้

2. ส่ือโสตทัศน์
แผ่นโปรง่ ใสเรือ่ ง ตัวอย่างรปู เรขาคณติ ตา่ ง ๆ

3. อุปกรณ์ประกอบการสาธติ
วงเวยี นไม้ , บรรทัดฉากสามเหล่ียม 45o และ 30o-60o

การประเมินผลแบบฝกึ หัด

เรื่อง การสรา้ งรปู เรขาคณิต

มเี กณฑ์การให้คะแนนแต่ละขอ้ มีดงั น้ี

รายการประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ

2 1.5 1 0.5

1. ความชดั เจนของเสน้ เต็มหนา

2. มรี ่องรอยแสดงวธิ ีการที่ถกู ต้อง

แผน่ โปร่งใส

เร่อื ง การสรา้ งรูปเรขาคณติ

การเขียนรูปเรขาคณติ

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยท่ี 4
วชิ า เขียนแบบเทคนิคเบอื้ งต้น สอนครงั้ ที่ 4 สัปดาหท์ ี่ 3
ชือ่ หน่วย การเขียนภาพสามมิติแบบออบลิก ชั่วโมงรวม 4
เรื่อง การเขยี นภาพสามมิติแบบออบลกิ จานวนชั่วโมง 4

หัวข้อเร่อื ง
1. ความหมายของภาพสามมิติ
2. ชนิดของภาพสามมติ แิ บบออบลกิ (Oblique Projection)
3. การเขยี นภาพสามมิตอิ อบลกิ แบบแคฟวะเรยี (Cavalier Projection)

3.1 ขั้นตอนการเขียนภาพแบบแคฟวะเรีย ของชิ้นงานรปู ส่ีเหลย่ี มลูกบาศก์
3.2 การเขียนภาพแบบแคฟวะเรยี ตามภาพตวั อยา่ ง
4. การเขยี นภาพสามมติ ิออบลิกแบบแคบเิ นต (Cabinet Projection)

สาระสาคัญ
ภาพสามมิติ หมายถงึ ภาพท่แี สดงให้เหน็ ได้สามมติ ใิ นภาพเดียว ไดแ้ ก่ มติ ิความกวา้ ง
มิติความยาว และมติ คิ วามสงู ซึง่ ลักษณะของภาพมรี ูปรา่ งใกลเ้ คียงกับชิ้นงานทีเ่ ห็นจรงิ มาก
การเขยี นภาพสามมติ อิ อบลกิ เส้นแกนทัง้ สามแกนคือ แกนความกว้าง จะตั้งฉากกับแกนความ
สูง และ แกนความยาว จะทามุม 45 0 กบั แกนความสูง โดยแกนความสูงเป็นเส้นลากแนวดิ่งตัง้ ฉากกับ
ไม้ทเี สมอ

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
1. แสดงเส้นแกนหลกั แกนความกว้าง แกนความยาว และแกนความสงู ของภาพแบบ

ออบลกิ ได้
2. เขยี นภาพสามมิตอิ อบลกิ แบบแคฟวะเลยี ของรปู สเ่ี หลี่ยมลกู บาศก์ได้
3. เขยี นภาพสามมติ ิแบบแคฟวะเลียตามภาพตวั อยา่ งได้
4. เขียนภาพสามมิตแิ บบแคบิเนตตามภาพตวั อย่างได้

การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
1. ครสู ง่ คนื ใบแบบฝึกหดั ที่ 3 แกน่ กั เรียน และบรรยายสรปุ ซักถามข้อสงสัย (10 นาที)
2. ครูนาเข้าสบู่ ทเรยี นหน่วยที่ 3 ด้วย แบบจาลองกลอ่ งสเี่ หลย่ี มลูกบาศก์ ให้นกั เรียนมองในแต่

ละดา้ น และถามเก่ยี วกับด้านกวา้ ง ด้านยาว และดา้ นสงู คอื ดา้ นใด แล้วสรปุ เข้าสภู่ าพสามมิติ (10 นาที)

(ขน้ั สอน 40 นาที)
3. ครบู รรยายความหมายของภาพสามมติ ิ ชนดิ ของภาพสามมิติ และบอกใหเ้ ห็นความแตกต่าง
ในแตล่ ะชนิด ประกอบกบั แผ่นโปร่งใสเร่ือง การเขียนภาพสามมิตแิ บบออบลกิ แผน่ ท่ี 1และ2
4. ครูแสดงการเขียนภาพออบลิกแบบแคฟวะเรียดว้ ยวธิ ีแกนหลัก 3 แกน คอื แกนกว้าง แกน
ยาว และแกนสงู
5. ครูแสดงวิธีการเขยี นภาพออบลกิ แบบแคฟวะเรยี ของรปู สเี่ หล่ียมลูกบาศก์ ประกอบกบั ส่ือ
แบบจาลองกลอ่ งลกู บาศก์
6. ส่มุ เรียกชือ่ นักเรยี นทลี ะคนออกมาเขียนภาพสามมิติออบลิกของแบบจาลองกล่อง สเ่ี หลีย่ ม
ลูกบาศก์ บนกระดานดา
7. ครูแสดงวธิ ีการเขยี นภาพแบบแคฟวะเรยี ตามภาพตัวอยา่ ง ประกอบกบั แผน่ โปรง่ ใสแผ่นท่ี 3
8. สุ่มเรยี กนกั เรยี นทีละคนตอบคาถาม โดยชี้ไปท่รี ปู ภาพออบลิกบนกระดานดาว่า เส้นใดคือเส้น
ความกว้าง , เสน้ ใดคอื เสน้ ความยาว , เส้นใดคือเสน้ ความสงู
9. ครูแสดงวธิ ีการเขียนภาพออบลิกแบบแคบเิ นตของรปู สเ่ี หลีย่ มลูกบาศก์ ประกอบกับแผน่
โปรง่ ใสแผน่ ที่ 4
(ขน้ั ทาแบบฝึกหัด 120 นาที)
10. มอบหมายงานใหน้ ักเรียนทาแบบฝกึ หดั ท่ี 4 ใหเ้ วลาทา 120 นาที
11. ครตู รวจสอบการเตรียมอปุ กรณเ์ ขยี นแบบของนักเรียนทุกคน
11. ครูเดินดูนักเรยี นสงั เกตการใช้อุปกรณเ์ ขยี นแบบและเขยี นภาพสามมติ ิแบบออบลกิ วา่ ถูกตอ้ ง
หรอื ไม่
(ขน้ั ตรวจประเมิน 60 นาที)
12. เมอ่ื ถงึ เวลาสง่ แบบฝึกหัด ครูเก็บรวบรวมใบแบบฝกึ หดั ที่ 4 และทาการตรวจประเมนิ
หลงั จากนกั เรยี นออกจากหอ้ งเรยี นแล้ว
13. ครบู นั ทึกคะแนน เพอื่ เตรยี มไว้สรปุ ผลภายในช่วั โมงเรียนตอ่ ไป

งานทมี่ อบหมาย

กอ่ นเรียน ใหน้ กั เรยี นจดั เตรียมอุปกรณเ์ ขียนแบบประจาตัว และหนังสือเขียนแบบเทคนคิ ใหพ้ ร้อม
ขณะเรียน ใหน้ ักเรยี นทาแบบฝึกหัดที่ 4 ส่งในชวั่ โมงเรียน

ส่อื การเรยี นการสอน

1. สอื่ สงิ่ พิมพ์
หนงั สอื เขียนแบบเทคนิคเบอ้ื งต้น

2. สือ่ โสตทศั น์
Power point ภาพตวั อย่างออบลกิ

3. แบบจาลอง
กล่องสีเ่ หล่ียมลกู บาศก์

4. อปุ กรณ์ประกอบการสาธิต
วงเวยี นไม้ , บรรทัดฉากสามเหล่ยี ม 45o

การประเมนิ ผลแบบฝกึ หดั

เรือ่ ง การเขยี นภาพสามมติ ิออบลิค

มีเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแต่ละขอ้ มีดงั นี้

รายการประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ

2 1.5 1 0.5

1. ความชัดเจนของเสน้ เต็มหนา

2. มีรอ่ งรอยเสน้ ร่างแสดงวิธีการทถ่ี ูกตอ้ ง

หมายเหตุ ถา้ เขียนภาพสามมิติออบลิกไมถ่ กู ตอ้ ง เช่นการวางมุมของเสน้ แกนหลกั ท้งั 3 ผิดไป
จะไม่มกี ารตรวจประเมินในขอ้ น้นั

แผน่ โปรง่ ใส

เรื่อง การเขียนภาพสามมติ ิออบลิค

ชนดิ ของภาพสามมติ ิ

รูป ก. ภาพแบบออบลกิ รปู ข. ภาพไอโซเมตรกิ

รปู ค. ภาพไตรเมตริก รปู ง. ภาพไดเมตริก

ชนดิ ของภาพสามมิติแบบออบลิก (Oblique Projection)

แบ่งออกเปน็ 2 แบบ คือ

รปู ก ภาพแบบแคฟวะเลีย รปู ข ภาพแบบแคบเิ นต

ภาพสามมิตแิ คฟวะเลยี ความยาว X:Y:Z = 1:1:1
หมายความวา่ ความยาวของขอบงานแตล่ ะแกนจะยาวเทา่ ขนาดจริง

ภาพสามมิติแคบิเนต ความยาว X:Y:Z = 0.5:1:1
หมายความวา่ ความยาวของขอบงานท่ีเอยี งทามมุ 45o (คือแกน X) จะแสดง
เพยี งคร่ึงหนึ่งของความยาวจริง ส่วนความยาวด้านแกนทตี่ ั้งฉากกัน (แกนY,
แกนZ) จะยาวเท่าขนาดจริง

การเขียนภาพออบลิกแบบคาวาเรียรต์ ามภาพตวั อย่าง

ความแตกตา่ งของภาพสามมิติแบบแคบิเนต

ภาพแบบแคฟวะเรีย ภาพแบบแคบิเนต

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยท่ี 5
สัปดาห์ที่ 4
วิชา เขยี นแบบเทคนิคเบอ้ื งต้น สอนครง้ั ท่ี 5 ช่วั โมงรวม 4
จานวนชวั่ โมง 4
ช่ือหนว่ ย การเขียนภาพสามมติ ไิ อโซเมตรกิ

เรอ่ื ง การเขยี นภาพสามมิตไิ อโซเมตรกิ

หัวขอ้ เรือ่ ง
1. ภาพสามมติ ิไอโซเมตริก (Isometric Projection)
2. การเขียนภาพไอโซเมตริก รปู สเี่ หล่ียมลูกบาศก์
3. การเขียนภาพไอโซเมตริก ตามภาพตวั อยา่ ง

สาระสาคัญ

การเขียนภาพสามมติ ิไอโซเมตรกิ มีความแตกตา่ งกับภาพออบลกิ คอื เสน้ แกนความกว้าง และ
เสน้ แกนความยาว จะทามุม 30 o กับเส้นแนวนอน และทามุม 60 o กับเสน้ แกนความสงู ซง่ึ เปน็ เส้นลาก

แนวด่งิ ตง้ั ฉาก

จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม
1. เขยี นเสน้ แกนหลกั แกนความกวา้ ง แกนความยาว และแกนความสงู ของภาพ

ไอโซเมตริกได้
2. เขียนภาพไอโซเมตรกิ รูปสเี่ หลยี่ มลูกบาศกไ์ ด้
3. เขียนภาพไอโซเมตรกิ ตามภาพตวั อยา่ งได้

การจดั กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูสง่ คืนใบแบบฝึกหัดท่ี 4 แก่นักเรยี น ครูบรรยายสรปุ และซักถามขอ้ สงสัย (20 นาที)
(ข้นั สอน 45 นาที)
2. ครฉู ายแผน่ โปรง่ ใสเรอ่ื ง การเขยี นภาพสามมิติไอโซเมตรกิ และแสดงการเขียนภาพไอโซ

เมตรกิ ด้วยวธิ ีแกนหลัก 3 แกน คือแกนกว้าง แกนยาว และแกนสูง
3. ครูแสดงวธิ ีการเขียนภาพไอโซเมตรกิ รูปส่ีเหลีย่ มลกู บาศก์
4. สุ่มเรียกชอื่ นกั เรียนทลี ะคนออกมาเขยี นภาพสามมติ ไิ อโซเมตรกิ ของแบบจาลองกลอ่ ง

สเี่ หลี่ยมลกู บาศก์ บนกระดานดา
5. ครูแสดงวธิ ีการเขยี นภาพไอโซเมตรกิ ตามภาพตวั อยา่ ง ประกอบกบั แผ่นโปรง่ ใสแผน่ เดมิ

6. เรยี กนักเรยี นทีละคนตอบคาถาม โดยช้ไี ปทีร่ ปู ภาพไอโซเมตริกบนกระดานดาวา่ เสน้ ใดคอื
เสน้ ความกวา้ ง , เสน้ ใดคอื เส้นความยาว , เส้นใดคือเสน้ ความสูง

(ขน้ั ทาแบบฝึกหดั 120 นาที)
7. มอบหมายงานใหน้ กั เรยี นทาแบบฝกึ หัดท่ี 5 ให้เวลาทา 120 นาที
8. ครตู รวจสอบการเตรียมอปุ กรณเ์ ขยี นแบบของนักเรยี นทกุ คน
9. ครเู ดินดนู ักเรียนสงั เกตการใช้อุปกรณเ์ ขียนแบบและเขียนภาพสามมิติไอโซเมตรกิ
วา่ ถูกต้องหรอื ไม่
(ขน้ั ตรวจประเมิน 55 นาที)
10. เมือ่ ถงึ เวลาสง่ แบบฝกึ หดั ครเู กบ็ รวบรวมใบแบบฝกึ หดั ท่ี 5 และทาการตรวจประเมิน
หลงั จากนกั เรียนออกจากหอ้ งเรยี นแล้ว
11. ครบู นั ทึกคะแนน เพอื่ เตรียมไว้สรปุ ผลภายในชั่วโมงเรยี นต่อไป

งานทม่ี อบหมาย
ก่อนเรยี น ใหน้ ักเรยี นจัดเตรียมอปุ กรณ์เขยี นแบบประจาตวั และหนงั สือเขียนแบบเทคนคิ ให้พรอ้ ม
ขณะเรยี น ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 5 ส่งในช่วั โมงเรียน

สื่อการเรียนการสอน
1. สอ่ื สงิ่ พิมพ์
หนังสอื เขยี นแบบเทคนิคเบอื้ งต้น
2. สื่อโสตทศั น์
แผ่นโปร่งใสเรือ่ ง การเขยี นภาพสามมิตไิ อโซเมตริก
3. แบบจาลอง
กล่องสี่เหลี่ยมลกู บาศก์
4. อุปกรณ์ประกอบการสาธิต
วงเวียนไม้ , บรรทดั ฉากสามเหล่ียม 30o-60o

การประเมนิ ผลแบบฝกึ หัด

เร่ือง การเขยี นภาพสามมติ ไิ อโซเมตรกิ

มเี กณฑก์ ารให้คะแนนแตล่ ะขอ้ มีดงั นี้

รายการประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ

2 1.5 1 0.5

1. ความชดั เจนของเส้นเตม็ หนา

2. มรี อ่ งรอยเส้นรา่ งแสดงวิธกี ารท่ีถูกต้อง

หมายเหตุ ถ้าเขยี นภาพสามมติ ไิ อโซเมตริกไมถ่ ูกต้อง เช่นการวางมุมของเส้นแกนหลกั ทง้ั 3
ผิดไป จะไมม่ ีการตรวจประเมนิ ในข้อนน้ั

แผน่ โปร่งใส

เรื่อง การเขยี นภาพสามมิตไิ อโซเมตรกิ

การเขียนภาพไอโซเมตริก

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยท่ี 6

วชิ า เขียนแบบเทคนิคเบอ้ื งต้น สอนครั้งที่ 6 สัปดาห์ที่ 5

ช่อื หนว่ ย การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกชน้ิ งานผวิ เอยี ง ชวั่ โมงรวม 4

เรือ่ ง การเขยี นแบบภาพไอโซเมตรกิ ชิ้นงานผวิ เอียง จานวนชว่ั โมง 4

หวั ขอ้ เรอ่ื ง
การเขียนแบบภาพไอโซเมตรกิ ช้ินงานผวิ เอยี ง

สาระสาคัญ
ช้นิ งานผวิ เอยี ง เป็นชนิ้ งานรปู สเี่ หล่ยี มลูกบาศกท์ ถ่ี กู ตัดผวิ เฉียงออกไปหนึง่ ดา้ น ดงั นั้นการเขียน
ภาพไอโซเมตริก จะเขียนเหมอื นกบั การเขยี นภาพไอโซเมตรกิ รูปสเ่ี หลยี่ มลกู บาศก์

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. เขยี นแบบภาพไอโซเมตรกิ ช้ินงานผวิ เอยี งตามภาพตัวอยา่ งได้อย่างถูกต้อง

การจดั กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูส่งคืนใบแบบฝกึ หัดที่ 5 แกน่ ักเรยี น อธบิ ายสรปุ และซักถามขอ้ สงสัย (10 นาที)
(ขัน้ สอน 40 นาที)
2. ครูแสดงการเขยี นภาพไอโซเมตริกช้นิ งานผิวเอียง ตามภาพตัวอย่าง ประกอบกบั

แผ่นโปร่งใสเร่อื ง การเขยี นภาพไอโซเมตริชิ้นงานผิวเอยี ง
(ขัน้ ทาแบบฝึกหดั 140 นาที)
3. มอบหมายงานใหน้ กั เรียนทาแบบฝกึ หดั ที่ 6
4. ครตู รวจสอบการเตรยี มอปุ กรณเ์ ขียนแบบของนักเรียนทกุ คน
5. ครูเดินดูนกั เรียนสงั เกตการใชอ้ ปุ กรณ์เขยี นแบบและเขยี นภาพสามมติ ไิ อโซเมตรกิ

ว่าถูกตอ้ งหรอื ไม่
(ขั้นตรวจประเมิน 50 นาที)
6. เมื่อถึงเวลาสง่ แบบฝึกหดั ครเู กบ็ รวบรวมใบแบบฝกึ หดั ที่ 6 และทาการตรวจประเมนิ

หลงั จากนกั เรียนออกจากห้องเรยี นแลว้
7. ครบู นั ทึกคะแนน เพอื่ เตรียมไว้สรปุ ผลภายในชว่ั โมงเรยี นต่อไป

งานท่มี อบหมาย

ก่อนเรียน ใหน้ กั เรยี นจดั เตรยี มอุปกรณเ์ ขยี นแบบประจาตัว และหนังสอื เขียนแบบเทคนคิ ให้พรอ้ ม
ขณะเรยี น ให้นกั เรยี นทาแบบฝึกหัดท่ี 6 สง่ ในชว่ั โมงเรียน

สอื่ การเรยี นการสอน

1. ส่ือสิง่ พมิ พ์
หนังสือเขียนแบบเทคนคิ เบอ้ื งตน้

2. ส่ือโสตทัศน์
แผน่ โปรง่ ใสเรื่อง การเขียนภาพไอโซเมตรกิ ชิน้ งานผวิ เอียง

3. แบบจาลอง
กล่องสเ่ี หลยี่ มลกู บาศก์

4. อุปกรณ์ประกอบการสาธติ
วงเวยี นไม้ , บรรทดั ฉากสามเหล่ยี ม 30o-60o

การประเมนิ ผลแบบฝกึ หัด

เร่ือง การเขียนภาพสามมิติไอโซเมตริกชน้ิ งานผวิ เอียง

มเี กณฑ์การให้คะแนนแตล่ ะข้อมดี งั น้ี

รายการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ
54 32

1. ความชัดเจนของเส้นเตม็ หนา

2. มีรอ่ งรอยเส้นร่างแสดงวธิ กี ารทถ่ี กู ตอ้ ง

หมายเหตุ ถ้าเขียนภาพสามมิตไิ อโซเมตริกไม่ถูกตอ้ ง เชน่ การวางมุมของเสน้ แกนหลกั ทั้ง 3
ผิดไป จะไมม่ กี ารตรวจประเมนิ ในขอ้ นัน้

แผน่ โปรง่ ใส

เรื่อง การเขียนภาพสามมติ ไิ อโซเมตริก
ชิ้นงานผิวเอยี ง

การเขยี นภาพไอโซเมตริกช้ินงานผิวเอยี ง

แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยที่ 7
สัปดาห์ท่ี 6
วิชา เขยี นแบบเทคนคิ เบอื้ งตน้ สอนครั้งที่ 7 ชั่วโมงรวม 4
จานวนช่วั โมง 4
ชอื่ หนว่ ย การเขียนวงรีในภาพไอโซเมตรกิ และภาพ

ออบลกิ

เรอ่ื ง การเขยี นวงรีในภาพไอโซเมตริกและภาพออบลกิ

หัวขอ้ เรือ่ ง
การเขียนวงรีในภาพไอโซเมตริกและภาพออบลกิ

สาระสาคัญ
รูปวงกลมเม่อื ปรากฏบนผิวหนา้ ในแตล่ ะดา้ นของภาพสามมติ ิ รูปวงกลมน้ันจะถูกเหน็ เปน็ วงรี
การเขียนวงรีในภาพสามมิติ จะใชห้ ลกั การเขียนด้วยวิธที างเรขาคณิต ซงึ่ ช่วยให้การเขยี นวงรีได้งา่ ยข้นึ

จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
1. เขยี นวงรใี นภาพไอโซเมตรกิ ตามภาพตัวอยา่ งได้
2. เขียนวงรีในภาพออบลกิ ตามภาพตัวอย่างได้

การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
1. ครสู ง่ คนื ใบแบบฝกึ หัดท่ี 6 แกน่ ักเรยี น ครูอธบิ ายสรุปและซกั ถามขอ้ สงสยั (10 นาที)
2. ครแู สดงแผน่ โปร่งใสเรอ่ื ง การเขียนวงรีในภาพไอโซเมตรกิ แผน่ ที่ 1
(ขัน้ สอน 45 นาที)
3. ครูแสดงวธิ กี ารเขยี นวงรีในภาพไอโซเมตรกิ ในระนาบเดยี ว
4. ครูแสดงวิธีการเขียนวงรีในภาพไอโซเมตรกิ ของช้นิ งานทรงกระบอก ประกอบกับแผน่ โปรง่ ใส

แผ่นที่ 2 และ 3
5. ครอู ธิบายวธิ กี ารเขียนวงรีในภาพออบลกิ ประกอบกบั แผน่ โปรง่ ใส แผน่ ที่ 4
(ขนั้ ทาแบบฝกึ หัด 140 นาที)
5. มอบหมายงานใหน้ กั เรยี นทาแบบฝกึ หดั ท่ี 7
6. ครตู รวจสอบการเตรยี มอปุ กรณเ์ ขียนแบบของนักเรียนทกุ คน
7. ครูเดนิ ดูนักเรียนสงั เกตการใช้อุปกรณ์เขียนแบบและเขยี นวงรีในภาพสามมิตไิ อโซเมตรกิ วา่

ถกู ตอ้ งหรอื ไม่

(ขน้ั ตรวจประเมิน 45 นาที)
8. เม่อื ถงึ เวลาสง่ แบบฝกึ หดั ครเู กบ็ รวบรวมใบแบบฝกึ หัดท่ี 7 และทาการตรวจประเมิน
หลงั จากนกั เรยี นออกจากหอ้ งเรียนแลว้
7. ครูบันทกึ คะแนน เพ่อื เตรียมไวส้ รปุ ผลภายในชั่วโมงเรยี นตอ่ ไป

งานทม่ี อบหมาย

กอ่ นเรียน ใหน้ กั เรียนจัดเตรยี มอปุ กรณ์เขียนแบบประจาตวั และหนงั สอื เขยี นแบบเทคนิคให้พร้อม
ขณะเรียน ใหน้ ักเรียนทาแบบฝึกหดั ที่ 7 สง่ ในช่ัวโมงเรียน

ส่อื การเรยี นการสอน

1. สอื่ สงิ่ พิมพ์
หนงั สอื เขียนแบบเทคนคิ เบ้อื งต้น

2. ส่อื โสตทศั น์
แผ่นโปร่งใสเร่อื งการเขยี นวงรีในภาพ ไอโซเมตริก

3. อุปกรณป์ ระกอบการสาธติ
วงเวียนไม้ , บรรทัดฉากสามเหล่ยี ม 30o-60o

การประเมนิ ผลแบบฝกึ หดั

เร่ือง การเขียนวงรใี นภาพไอโซเมตรกิ
มเี กณฑก์ ารใหค้ ะแนนแตล่ ะข้อมดี ังน้ี

รายการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ

432 1

1. ความชดั เจนของเส้นเตม็ หนา

2. เส้นโค้งวงรตี ่อชนเรยี บร้อย

3. มรี อ่ งรอยเสน้ รา่ งแสดงวิธีการท่ีถกู ตอ้ ง

หมายเหตุ ถา้ เขียนภาพสามมติ ิไอโซเมตริกไม่ถูกต้อง เชน่ การวางมุมของเส้นแกนหลกั ทง้ั 3 ผิดไป หรอื

ไม่ไดเ้ ขยี นภาพวงรจี ะไมม่ ีการตรวจประเมนิ ในข้อนนั้

แผ่นโปร่งใส

เรื่อง การเขยี นวงรใี นภาพไอโซเมตรกิ และภาพออบลกิ

การเขียนวงรีในภาพไอโซเมตริก

ผวิ ระนาบ

ผวิ ระนาบ

ผวิ ระนาบ

ตวั อย่างการเขยี นภาพสามมติ ิไอโซเมตรกิ ชนิ้ งานทรงกระบอก

เส้ นสัมผสั
เส้ นสัมผสั

การเขียนวงรีในภาพออบลกิ


Click to View FlipBook Version