The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ธัญลักษณ์ โพธิน, 2020-03-12 03:07:45

55555

55555

เรอ่ื งการเขยี นผังงาน
เสนอ

คุณครวู ราภรณ์ วงั คะวงิ

จดั ทาโดย
ด.ช.อนรุ กั ษ์ อนั ทะศรี เลขท่ี6

รายวิชา คอมพวิ เตอร์
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคท่2ี

โรงเรียนบ้านหวั หนอง(สังฆวทิ ยา)
สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา
ประถมศึกษา มหาสารคามเขต 1

☻การเขียนผงั งาน Flowchart

ในการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาคอมพวิ เตอร์ โดยทว่ั ไปจะมีหลกั การหรือข้นั ตอนท่ีสาคญั ท้งั หมด
5 ข้นั ตอนไดแ้ ก่

1. การวเิ คราะหป์ ัญหา
2. การออกแบบโปรแกรม
3. การเขียนโปรแกรม
4. การทดสอบและแกไ้ ขโปรแกรม
5.ทาเอกสารประกอบโปรแกรม
ดงั น้นั ก่อนที่จะลงมือเขียนโปรแกรมในข้นั ตอนท่ี 3 หลงั จากทาการวเิ คราะห์ปัญหาแลว้
จะตอ้ งมีการออกแบบโปรแกรมเพอ่ื เป็นการวางแผนการทางานก่อน ผงั งาน Flowchart เป็น
เครื่องมือหน่ึงที่ใชอ้ ธิบายลาดบั ข้นั ตอนการทางานในรูปแบบแผนภาพ โดยใชส้ ญั ลกั ษณ์รูปร่างต่าง
ๆ ที่มีความหมายแทนคาส่ัง และใชข้ อ้ ความในสัญลกั ษณ์แทนขอ้ มูลตวั แปร ตวั ดาเนินการทางการ
คานวณ และการเปรียบเทียบ นอกจากน้นั ผงั งานยงั ใชแ้ สดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งข้นั ตอนการทา
งานต่าง ๆ โดยสามารถแบ่งลกั ษณะการทางานและความสมั พนั ธ์เป็นรูปแบบต่างๆ ไดแ้ ก่ การทา
งานแบบมีลาดบั การทางานแบบมีเงื่อนไข และการทางานแบบทาซา้ ภายใตเ้ งื่อนไขต่าง ๆ หลงั จาก
น้นั จึงนาผงั งาน Flowchart ที่ออกแบบไวน้ าไปเขียนเป็นภาษาคอมพวิ เตอร์ ดงั น้นั ผงั งานจึง
เป็นเคร่ืองมือท่ีช่วยใหผ้ เู้ ขียนโปรแกรมและผใู้ ช้ สามารถ
มองเห็นภาพการทางานของโปรแกรมที่กาลงั จะสร้างไดอ้ ยา่ งเป็นระบบและง่ายข้ึน

ประเภทของผงั งาน โดยทวั่ ไปผงั งานคอมพวิ เตอร์แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่
1. ผงั งานระบบ (System Flowchart)

เป็นผงั งานที่แสดงถึงข้นั ตอนการทางานภายในระบบหน่ึง ๆ เพ่อื ใหเ้ ห็น
โครงสร้างโดยภาพรวมของระบบ ซ่ึงจะแสดงถึงความเก่ียวขอ้ งของส่วนที่สาคญั ต่างๆ ในระบบน้นั
เช่น เอกสารขอ้ มูลเบ้ืองตน้ ส่ือบนั ทึกขอ้ มูลท่ีใช้ ขอ้ มูลจะส่งผา่ นไปยงั หน่วยงานใด มีกิจกรรม
ประมวลผลขอ้ มูลอะไรในหน่วยงานน้นั แลว้ จะส่งต่อไปหน่วยงานใด เป็นตน้ ดงั น้นั ผงั งานระบบ
อาจเกี่ยวขอ้ งกบั ขอ้ มูล ส่ือหรือแหล่งบนั ทึกขอ้ มูล วสั ดุปกรณ์ คน หรือฝ่ ายงานที่เกี่ยวขอ้ ง ซ่ึงแต่ละ
จุดจะประกอบไปดว้ ย
การนาขอ้ มูลเขา้ วธิ ีการประมวลผล และการแสดงผลลพั ธ์ (Input – Process –
Output) ดงั ภาพ

ภาพแสดงตวั อยา่ งผงั งานระบบ
2. ผงั งานโปรแกรม (Program Flowchart) หรือเรียกส้นั ๆ วา่ ผงั งาน

ผงั งานประเภทน้ีแสดงถึงข้นั ตอนของคาสั่งที่ใชใ้ นโปรแกรม ผงั งานน้ีอาจสร้างจากผงั
งานระบบโดยผเู้ ขียนผงั งานจะดึงเอาแต่ละจุด ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การทางานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ี
ปรากฏในผงั งานระบบมาเขียน เพ่ือใหท้ ราบวา่ ถา้ จะใชค้ อมพิวเตอร์ทางานควรท่ีจะมีข้นั ตอนคาสัง่
อยา่ งไร เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลลพั ธต์ ามท่ีตอ้ งการ และจะไดน้ ามาเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ต่อไป

ดงั น้นั การเขียนผงั งานกจ็ ะมีประโยชน์ เหมาะสาหรับผบู้ ริหาร ผวู้ เิ คราะห์ระบบ ผเู้ ขียน
โปรแกรม และบุคคลอื่นท่ีตอ้ งการศึกษา ทาใหท้ ราบถึงความสมั พนั ธ์ของระบบต้งั แต่เร่ิมตน้ วา่ มี
การปฏิบตั ิแต่ละข้นั ตอนอยา่ งไร ใชว้ ธิ ีการอะไรบา้ ง สุดทา้ ยจะไดผ้ ลลพั ธ์อะไรบา้ ง เมื่อเขา้ ใจ
ระบบงานหรือส่ิงที่กาลงั ศกึ ษากจ็ ะช่วยใหส้ ามารถปฏิบตั ิงานและแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
มากยงิ่ ข้ึน ดงั ภาพ

ภาพแสดงตวั อยา่ งการกาหนดจุดเริ่มตน้ และสิ้นสุดของการเขียนผงั งาน

ประโยชนข์ องผงั งาน

ผงั งานเป็นเคร่ืองมือที่ช่วยใหก้ ารศกึ ษาลาดบั ข้นั ตอนของโปรแกรมง่ายข้ึน จึงนิยมเขียนผงั งาน
ประกอบการเขียนโปรแกรม ดว้ ยเหตุผลดงั น้ี

1. คนส่วนใหญ่สามารถเรียนรู้และเขา้ ใจผงั งานไดง้ ่าย เพราะผงั งานไม่ข้ึนอยกู่ บั
ภาษาคอมพวิ เตอร์ภาษาใดภาษาหน่ึง เป็นเครื่องมือท่ีใชใ้ นการสื่อสารไดท้ ุกภาษา

2. ผงั งานเป็นการส่ือความหมายดว้ ยภาพ ช่วยลาดบั ข้นั ตอนการทางานของ
โปรแกรมใหง้ ่ายและสะดวกต่อการทาความเขา้ ใจ สามารถนาไปเขียนโปรแกรมไดโ้ ดยไม่สับสน
ซ่ึงถา้ หากใชข้ อ้ ความหรือคาพดู อาจจะส่ือความหมายผดิ ไปได้

3. ในงานโปรแกรมที่ไม่สลบั ซบั ซอ้ น ช่วยในการตรวจสอบความถูกตอ้ งของลา
ดบั ข้นั ตอน และแกไ้ ขโปรแกรมไดง้ ่าย เมื่อเกิดขอ้ ผดิ พลาด

4. ช่วยใหผ้ อู้ ่ืนสามารถศึกษาการทางานของโปรแกรมไดอ้ ยา่ งง่าย สะดวก และ
รวดเร็วมากข้ึน

5. การบารุงรักษาโปรแกรมหรือการเปล่ียนแปลงแกไ้ ขโปรแกรมในภายหลงั ให้
มีประสิทธิภาพ ถา้ พจิ ารณาจากผงั งานจะช่วยใหส้ ามารถทบทวนงานในโปรแกรมก่อนปรับปรุง
แกไ้ ขไดส้ ะดวกและง่ายข้นึ
ขอ้ จากดั ของการเขียนผงั งาน

นกั เขียนโปรแกรมบางคนไม่นิยมการเขียนผงั งานก่อนที่จะเขียนโปรแกรม เพราะเสียเวลา
ในการเขียนเป็นรูปภาพหรือสญั ลกั ษณ์ต่างๆ นอกจากน้ียงั มีเหตุผลอ่ืนๆ ไดแ้ ก่

1. ผงั งานเป็นการสื่อความหมายระหวา่ งบุคคลต่อบุคคลมากกวา่ ท่ีจะสื่อ
ความหมายบุคคลกบั เครื่องคอมพิวเตอร์ เพราะผงั งานไม่ข้ึนอยกู่ บั ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาใดภาษา
หน่ึง ทาใหเ้ ครื่องคอมพวิ เตอร์ไม่สามารถรับรู้และเขา้ ใจวา่ ผงั งานตอ้ งการอะไร

2. ผงั งานไม่สามารถแทนลกั ษณะคาสัง่ ของภาษาคอมพวิ เตอร์บางคาสัง่ ไดอ้ ยา่ ง
ชดั เจน

3. กรณีท่ีงานมีขนาดใหญ่ ผงั งานจะมีขนาดใหญ่ดว้ ย ถา้ มีการเปลี่ยนแปลงแกไ้ ข
จะทาไดย้ าก ควรเขียนแยกเป็นส่วน ๆ แลว้ ค่อยสร้างจุดเชื่อมโยงในแต่ละส่วน

4. การเขียนผงั งานอาจเป็นการสิ้นเปลืองกระดาษและอุปกรณ์อ่ืนๆ ประกอบการ
เขียนภาพ ท้งั ๆ ที่การอธิบายงานหรือการเขียนโปรแกรมจะใชเ้ น้ือที่เพยี ง 3 – 4 บรรทดั
เท่าน้นั
วธิ ีการเขียนผงั งานที่ดี
การเขียนผงั งานควรคานึงถึงสิ่งต่าง ๆ ดงั น้ี

1. ใชส้ ญั ลกั ษณ์ตามที่กาหนดไว้
2. ผงั งานจะตอ้ งมีจุดเริ่มตน้ (Start)และสิ้นสุด (Stop/End/Finish)
3. ใชห้ วั ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของขอ้ มูลจากบนลงล่างหรือซา้ ยไปขวา
(ยกเวน้ ที่ตอ้ งทาซา้ )
4. ทุกแผนภาพตอ้ งมีลูกศรแสดงทิศทางเขา้ 1 เส้นและออก 1 เส้นโดยไม่มีการ
ปล่อยจุดใดจุดหน่ึงไว้
5. เขียนคาอธิบายการทางานในแต่ละข้นั ตอนโดยใชข้ อ้ ความที่ส้นั กะทดั รัด
ชดั เจนและเขา้ ใจไดง้ ่าย
6. ควรหลีกเลี่ยงโยงเสน้ ไปมาทาใหเ้ กิดจุดตดั มากเพราะจะทาใหเ้ กิดขอ้ ผดิ พลาด
ง่าย ควรใชส้ ญั ลกั ษณ์เช่ือมจุดต่อเนื่องแทน
7. ไม่ควรโยงเสน้ เช่ือมผงั งานท่ีอยไู่ กลมาก ๆ ควรใชส้ ัญลกั ษณ์จุดเชื่อมต่อแทน
8. ผงั งานท่ีดีควรมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาดและชดั เจน สามารถเขา้ ใจ
และติดตามข้นั ตอนไดง้ ่าย
9. ผงั งานควรมีการทดสอบความถูกตอ้ งของการทางานก่อนไปเขียนโปรแกรม
สัญลกั ษณ์และความหมายของผงั งาน
การเขียนผงั โปรแกรมจะมีข้นั ตอนในการเขียนที่สาคญั ประกอบกนั ดงั น้ี

1. การกาหนดจุดเริ่มตน้ และสิ้นสุดโปรแกรม
โดยการเริ่มตน้ ผงั งานจะใชค้ าวา่ Start และการสิ้นสุดจะ

ใชค้ าวา่ Stop ซ่ึงขอ้ ความดงั กล่าวจะอยใู่ นสัญลกั ษณ์ ดงั ภาพ

ภาพแสดงตวั อยา่ งการกาหนดจุดเร่ิมตน้ และสิ้นสุดของการเขียนผงั งาน
2. การกาหนดค่าเริ่มตน้ และการคานวณ
ในการเขียนผงั งานโปรแกรม จะมีการกาหนดค่าเร่ิมตน้ หรือ

การกาหนดค่าคงที่ ใหก้ บั ขอ้ มูล รวมถึงจะมีการคานวณขอ้ มูลในรูปของสูตรสมการคณิตศาสตร์ ซ่ึง
ข้นั ตอนเหล่าน้ีจะเขียนขอ้ ความภายในสัญลกั ษณ์กรอบส่ีเหลี่ยมผนื ผา้ ดงั ภาพ

ภาพแสดงการกาหนดค่าเริ่มเร่ิมตน้ ค่าคงที่ และ การคานวณ

3. การรับขอ้ มูลนาเขา้
เป็นการรับขอ้ มูลเขา้ สู่โปรแกรม หรือขอ้ มูลท่ีตอ้ งป้อนให้

คอมพวิ เตอร์นาไปใชใ้ นการคานวณ หรือประมวลผลขอ้ มูล หากไม่ระบุวา่ จะรับเขา้ ทางอุปกรณ์ใด
จะเขียนขอ้ ความรับค่า หรือ Read ขอ้ มูล ภายในสัญลกั ษณ์สี่เหล่ียมดา้ นขนาน ดงั ภาพ

ภาพแสดงการรับขอ้ มูล a , b เขา้ สู่โปรแกรมโดยไม่ระบุอุปกรณ์นาเขา้

ภาพแสดงการรับขอ้ มูล a , b เขา้ สู่โปรแกรมทางคียบ์ อร์ด
4. การแสดงผลขอ้ มูล
เป็นการนาขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการกาหนดค่า หรือ การ

คานวณ หรือการประมวลผลใดใด มาแสดงผลออกทางอุปกรณ์ท่ีกาหนด จะเขียนขอ้ ความแสดงผล
หรือ Print ภายในสญั ลกั ษณ์ ดงั ภาพ

ภาพแสดงการแสดงผลขอ้ มูล x , y โดยไม่ระบุอุปกรณ์แสดงผล

จอภาพ ภาพการแสดงผลขอ้ มูล x , y ออกทาง
เครื่องพิมพ์ ภาพการแสดงผลขอ้ มูล x , y ออกทาง

5. การตรวจสอบเง่ือนไข
เป็นการเปรียบเทียบเพ่ือตรวจสอบเงื่อนไข ซ่ึงจะได้

ผลลพั ธจ์ ากการตรวจสอบเป็นตรรกะ จริงหรือเทจ็ อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงเท่าน้นั โดยจะเขียนขอ้ ความ
เงื่อนไขที่ตอ้ งการเปรียบเทียบภายในสัญลกั ษณ์สี่เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน ดงั ภาพ

ภาพแสดงการเปรียบเทียบเพ่อื ตรวจสอบขอ้ มูล G มีค่ามากกวา่ 100 ใช่หรือไม่
ถา้ หากมากกวา่ จริงใหแ้ สดงขอ้ ความ “Over” ถา้ หากเทจ็ ใหแ้ สดงขอ้ ความ “Ok”

6. จุดต่อและการเชื่อมโยงผงั งาน
ในการเขียนผงั งานอาจมีลาดบั การทางานหลายข้นั ตอน

ตอ้ งใชก้ ระดาษมากกวา่ 1 แผน่ หรือมีจุดต่อหลายจุดในหนา้ เดียวกนั จึงจาเป็นตอ้ งใชส้ ญั ลกั ษณ์
เช่ือมโยงผงั งานดงั กล่าวเพ่ืออา้ งอิงจุดเช่ือมต่อน้นั ไปยงั ตาแหน่งที่มีช่ือหรืออกั ษรเดียวกนั ดงั ภาพ

ภาพแสดงจุดต่อ A เช่ือมโยงผงั งานในหนา้ เดียวกนั

ภาพแสดงจุดต่อ A เชื่อมโยงผงั งานท่ีอยคู่ นละหนา้
7.เสน้ แสดงทิศทาง
เป็นสญั ลกั ษณ์แสดงทิศทางการทางานของ Flowchart

8.การอธิบายผงั งาน
เป็นสญั ลกั ษณ์แสดงการอธิบายผงั งาน เพ่มิ เติมหรือเป็นการหมายเหตุ (Comment)

ตวั อยา่ งการเขียนผงั งาน Flowchart
ตวั อยา่ งที่ 1 ผงั งานการตม้ บะหม่ีสาาเร็จรูป

ตวั อยา่ งท่ี 2 ผงั งานหาพ้นื ที่ส่ีเหล่ียม

ตวั อยา่ งท่ี 3 ผงั งานตดั สินผลการเขา้ ร่วมกิจกรรม

หลกั ในการเขียนโฟลวช์ าร์ต
ในการเขียนผงั งานหรือโฟลวช์ าร์ต ตอ้ งรู้จกั เลือกใชร้ ูปภาพหรือสัญลกั ษณ์ที่เหมาะสม

รวมถึงอุปกรณ์ที่ช่วยในการเขียนผงั งานท่ีเรียกวา่ “ Flow Chart Template “ ซ่ึง
อุปกรณ์น้ีจะช่วยใหก้ ารเขียนผงั งานสะดวกและรวดเร็วยง่ิ ข้ึน

ในการเขียนผงั งานน้ีจะเขียนตามข้นั ตอนและวธิ ีการประมวลผลที่ไดท้ าการวเิ คราะห์
งานเอาไวแ้ ลว้ ซ่ึงตอ้ งพจิ ารณาตามลาดบั ก่อนหลงั ของการทางาน เพอื่ จดั ภาพของผงั งานใหเ้ ป็น
มาตรฐานง่ายต่อการเขา้ ใจ และช่วยใหก้ ารเขียนโปรแกรมจากผงั งานมีประสิทธิภาพมากยงิ่ ข้ึน
เพือ่ ใหก้ ารเขียนผงั งานเป็นมาตรฐานเดียวกนั จะใชล้ าดบั ในการเขียนผงั งานดงั น้ี

1. การกาหนดค่าเร่ิมตน้ เป็นการกาหนดค่าเร่ิมตน้ ใหก้ บั ตวั แปรต่างๆ ที่
จาเป็นบางตวั ไดแ้ ก่ ตวั แปรที่ใชเ้ ป็นตวั นบั หรือตวั แปรท่ีเป็นตวั คานวณผลรวมต่างๆ

2. การรับขอ้ มูลเขา้ เป็นการรับขอ้ มูลนาเขา้ มาจากแหล่งขอ้ มูลต่างๆ เพ่ือ
ใชเ้ ป็นส่วนหน่ึงของการประมวลผล แลว้ นาค่ามาเกบ็ ไวใ้ นตวั แปรใด ๆ ที่กาหนดเอาไว้

3. การประมวลผล เป็นการประมวลผลตามท่ีไดม้ ีการกาหนด หรือเป็น
การคานวณต่างๆ ซ่ึงจะตอ้ งทาทีละลาดบั ข้นั ตอนและแยกรูปแต่ละรูปออกจากกนั ใหช้ ดั เจนดว้ ย

4. การแสดงผลลพั ธ์ เป็นการแสดงขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการคานวณหรือ
ผลลพั ธ์ที่ตอ้ งการหรือค่าจากตวั แปรต่างๆ ซ่ึงการแสดงผลลพั ธน์ ้ีมกั จะกระทาหลงั จากการ
ประมวลผล

หรือหลงั จากการรับขอ้ มูลเขา้ มาแลว้
ขอ้ สังเกตในการเขียนโฟลวช์ าร์ต

1. โฟลวช์ าร์ตใด ๆ จะมีจุดเริ่มตน้ และจุดสิ้นสุดเพยี งอยา่ งละแห่งเดียว
เท่าน้นั

2. ทุกสัญลกั ษณ์ท่ีใชแ้ ทนข้นั ตอนการทางาน จะตอ้ งมีทิศทางเขา้ เพยี ง 1
แห่งและทิศทางออกเพยี ง 1 แห่งเท่าน้นั ยกเวน้ สัญลกั ษณ์ของจุดเริ่มเริ่มตน้ จุดสิ้นสุด จุดต่อ

และ การตดั สินใจ
3. ทิศทางของลาดบั ข้นั ตอนการทางานในโฟลวช์ าร์ตนิยมเขียนจากซา้ ย
ไปขวาหรือจากบนลงล่าง
4. หลีกเล่ียงการขีดเส้นโยงไปโยงมาในลกั ษณะที่ตดั กนั ถา้ จาเป็นตอ้ ง
โยงเสน้ ดงั กล่าวถึงกนั ควรใชเ้ ครื่องหมายต่อจุดเพ่ือเชื่อมความสัมพนั ธแ์ ทน
5. สัญลกั ษณ์ต่าง ๆ น้นั จะเปลี่ยนรูปเป็นอยา่ งอ่ืนไม่ได้ ตอ้ งเป็นไปตาม
มาตรฐานที่กาหนดไวแ้ ลว้ เท่าน้นั
6. ควรมีเคร่ืองหมายลูกศรกากบั ทิศทางทางไหลใหก้ บั แต่ละสญั ลกั ษณ์
ดว้ ย
7. คาอธิบายการทางานควรเขียนใหส้ ้ันเขา้ ใจง่ายและเขียนในสญั ลกั ษณ์
ของโฟลวช์ าร์ต ท้งั หมดหากมีคาอธิบายเพ่ิมเติมใหเ้ ขียนไวบ้ นสัญลกั ษณ์ดา้ นขวา
8. ในการเขียนโฟลวช์ าร์ตควรเขียนใหเ้ ป็นระเบียบ เรียบร้อย และ
สะอาด


Click to View FlipBook Version