The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้ คืออะไร _

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุภาวิณี จากศรี, 2020-02-12 11:14:23

ความรู้ คืออะไร _

ความรู้ คืออะไร _

KNOWLEDGE
MANAGEMENT

By Supavinee Jaksri

What is

Knowledge ?

ค ว า ม รู้ ( K N O W L E D G E )

คือ สงิ ทีสงั สมมาจากการศึกษาเล่าเรยี น การค้นควา้ หรอื ประสบการณ์
รวมทังความสามารถเชงิ ปฏิบตั ิและทักษะ ความเขา้ ใจ หรอื สารสนเทศทีได้รบั
จากประสบการณ์ สงิ ทีได้รบั มาจากการได้ยนิ ได้ฟง การคิด หรอื การปฏิบตั ิ

พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.2542

ความรเู้ ดน่ ชดั ความรทู้ ีมรี ปู แบบเปนรปู ธรรม สามารถ
รวบรวม และถ่ายทอดใหผ้ อู้ ืนได ้

ความรโู้ ดยนยั ความรทู้ ีไดร้ บั จากประสบการณ์ พรสวรรค์
หรอื การทําความเขา้ ใจดว้ ยตนเองของแต่ละ
บุคคล เปนความรทู้ ีทําการรวบรวมหรอื
ถ่ายทอดใหผ้ อู้ ืนค่อนขา้ งยาก

MK NAONWA GL EEDMGEEN T

( K N O WกL าEรDจGั ดEก าMรAคNว าAมGรEู้ M E N T )

เ ป น ก า ร ร ว บ ร ว ม อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ที มี อ ยู่
ใ น อ ง ค์ ก ร ซึ ง ก ร ะ จั ด ก ร ะ จ า ย อ ยู่ ใ น
ตั ว บุ ค ค ล ห รื อ เ อ ก ส า ร ม า พั ฒ น า ใ ห้ เ ป น
ร ะ บ บ เ พื อ ใ ห้ ทุ ก ค น ใ น อ ง ค์ ก ร ส า ม า ร ถ
เ ข้ า ถึ ง ค ว า ม รู้ แ ล ะ พั ฒ น า ต น เ อ ง
ใ ห้ เ ป น ผู้ รู้ ร ว ม ทั ง ป ฏิ บั ติ ง า น ไ ด้ อ ย่ า ง
มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ

สาํ นกั งาน กพร., 2557

แนวคิด
ทฤษฎี
โมเดล

Tuna Model:

ส่วน "หัว" (KNOWLEDGE VISION)

เปนสว่ นทีเปนเปาหมายของการจดั การความรู้ ต้องรวู้ า่ จดั การความรไู้ ปเพอื อะไร

ส่วน "กลางลําตัว" (KNOWLEDGE SHARING)

เปนสว่ นทีเกียวขอ้ งกับการแลกเปลียนความรซู้ งึ กันและกัน ทําใหค้ วามรูเ้ กิดการหมุนเวยี น

ส่วน "หาง" (KNOWLEDGE ASSETS)

เปนสว่ นของคลังความรทู้ ีไดเ้ ก็บสะสมมาจากกระบวนการแลกเปลียนเรยี นรู้

ความรเู้ ดน่ ชดั
Explicit Knowledge

ความรทู้ ีมรี ปู แบบเปนรปู ธรรม
สามารถรวบรวมและถ่ายทอด
ใหผ้ อู้ ืนไดด้ ว้ ยวธิ ตี ่างๆ เชน่
การจดั ทําหนงั สอื หรอื เอกสาร

ความรทู้ ีไดร้ บั จากประสบการ พรสวรรค์
หรอื การทําความเขา้ ใจ ดว้ ยตนเอง
ของแต่ละบุคคล เปนความรทู้ ีทําการ
รวบรวมหรอื ถ่ายทอดใหผ้ อู้ ืนค่อนขา้ งยาก

ความรโู้ ดยนยั

Tacit Knowledge

KM MODEL : สคส.

ตามแนวคิดของ สคส. การจัดการความรู้ คือเครอื งมือที
มีเปาหมายอยู่ทีงาน คน และองค์กร เปนเงือนไขสาํ คัญ

KM Process

กระบวนการจดั การความรู้

KNOWLEDGE MANAGEMENT PROCESS

การบง่ ชคี วามรู้ (KNOWLEDGE IDENTIFICATION)

1 พจิ ารณาวา่ ความรูใ้ นด้านใดทีมคี วามจาํ เปนทีจะต้องรู้ เพอื ทีจะทําใหบ้ รรลตุ ามเปาหมายทีตังไว้

การสรา้ งและแสวงหาความรู้ (KNOWLEDGE CREATION AND ACQUISITION)

2 PRพจิ EารณPาAควRามรEูเ้ ก่าYวา่ มOคี วUามRรูใ้ ดทHีสาOมาMรถนEาํ มาใชไ้ ด้บา้ ง อาจจะมกี ารสรา้ งองค์ความรู้

ขนึ มาใหม่ หรอื แสวงหาความรูจ้ ากแหล่งภายนอก

การจดั ความรูใ้ ห้เปนระบบ (KNOWLEDGE ORGANIZATION)

3 จดั ระบบความรูใ้ นรูปแบบทีเหมาะสม เพอื ใหง้ ่ายต่อการนํามาใชง้ านในอนาคต

การประมวลและกรนั กรองความรู(้ KNOWLEDGE CODIFICATION AND REFINEMENT)

4 กรนั กรองและปรบั ปรุงเนือหาใหเ้ หมาะสม สมบูรณ์ มมี าตรฐาน

การเขา้ ถึงความรู้ (KNOWLEDGE ACCESS)

5 นําขอ้ มูลทีสมบูรณ์แล้วมาใสล่ งในเครอื งมอื ทีทําใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถเขา้ ถึงขอ้ มูลได้สะดวก

เชน่ ระบบสารสนเทศ

การแบง่ ปนแลกเปลียนเรยี นรู้ (KNOWLEDGE SHARING)

6 สาํ หรบั ความรูเ้ ด่นชดั สามารถทําได้โดยการ แบง่ ปนในลักษณะของเอกสาร

สาํ หรบั ความรูโ้ ดยนัย สามารถทําได้โดยการ แบง่ ปนในลักษณะของการจดั กิจกรรม

การเรยี นรู้ (LEARNING)

7 เปนการนําผลของความรูท้ ีได้มาใชเ้ ปนต้นแบบ โดยนําต้นแบบของความสาํ เรจ็ มาปฏิบตั ิต่อ

และแก้ไขในสว่ นทีล้มเหลว

SECI MODEL

SECI Model ถูกเสนอโดย โนนากะ และ ทาเคอุชิ เปนแผนภาพ
4แสดงความสัมพันธ์ ของความรูเ้ ด่นชัด และความรูโ้ ดยนัย

โดยประกอบด้วย กระบวนการ

Socialization : S Externalization : E

เปนการแลกเปลียนเรยี นรขู้ อ้ มูลระหวา่ งกัน เปนการสกัดความรจู้ ากบุคคล(ความรโู้ ดยนยั )
(ความรโู้ ดยนยั ) มานาํ เสนอในรปู แบบของเอกสารหรอื บทความ
(ความรเู้ ดน่ ชดั )

Internalization : I Combination : C

เปนการนาํ ความรทู้ ีเปนลายลักษณอ์ ักษร เปนการรวบรวมนาํ ความรทู้ ีไดม้ ารวมกัน
(ความรเู้ ดน่ ชดั ) มาเรยี นรแู้ ละลงมอื ปฏิบตั ิ เพอื ทําใหเ้ กิดความรใู้ หมๆ่ ขนึ
เพอื ใหค้ วามรฝู้ งลึกไปในตัวบุคคล (ความรโู้ ดยนยั )

อ้างอิง : https://www.slideshare.net/SasichaySritep/km-83031494

Peter M. Senge'sทฤษฎีการจดั การความรขู้ อง

The five disciplines (วนิ ยั 5 ประการ )

1.PERSONAL MASTERY : ลักษณะของสมาชกิ ในองค์กร
ต้องมคี วามสนใจและใฝรู้

2.MENTAL MODEL : สมาชกิ ในองค์กรทําความเขา้ ใจสงิ
ต่างๆทีเกิดขนึ ไดอ้ ยา่ งกระจา่ ง เพอื ใหส้ ามารถตัดสนิ ใจได้
อยา่ งถกู ต้อง

3.SHARED VISION : สมาชกิ ในองค์กรมวี สิ ยั ทัศนร์ ว่ มกัน
4.TEAM LEARNING : การรว่ มมอื เรยี นรกู้ ันเปนทีมของ

สมาชกิ ในองค์กร
5.SYSTEMS THINKING : มกี ารคิดอยา่ งเปนระบบ

แบบแผน

มุง่ เนน้ ไปทีคน

ทฤษฎี การว์ นิ
(Garvin)

หลัก 5 ประการในการพฒั นาสอู่ งค์กรแหง่ การเรยี นรู้

1.SYSTEMATIC PROBLEM SOLVING : การแก้ปญหา
อยา่ งมรี ะบบ

2. EXPERIMENTTATION WITH NEW APPROACHES :
การลองทําสงิ ต่างๆดว้ ยวธิ ใี หมๆ่

3.LEARNING FROM THEIR OWN EXPERIENCES AND
PAST HISTORY : การเรยี นรปู้ ระสบการณข์ องตนเอง
และเหตกุ ารณท์ ีเกิดขนึ ในอดตี

4.LEARNING FROM THE EXPERIENCES ANDBEST
PRACTICES OF OTHERS : การเรยี นรจู้ ากบุคคลอืน

5.TRANSFERRING KNOWLEDGE QUICKLY AND
EFFIENTLY THROUGHOUT THE ORGANIZATION :
การถ่ายทอดความรอูั ยา่ งรวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ

มุง่ เนน้ ไปทีองค์กร

ทฤษฎีการจดั การความรู้

Marquardt

องค์การแหง่ การเรยี นรู้ (Learning organization) ตามแนวคิดของมา (Marquardt)

1.LEARNING : การเรยี นรเู้ ปนระบบหลักทีสาํ คัญในการ
สรา้ งองค์กรแหง่ การเรยี นรู้

2.ORGANIZATION : องค์กรต้องมกี ารวางรากฐานเพอื
สรา้ งองค์กรแหง่ การเรยี นรู้

3.PEOPLE : บุคคลในองค์กรมสี ว่ นรว่ มในการสรา้ ง
องค์กรแหง่ การเรยี นรู้

4.KNOWLEDGE : ความรตู้ ้องมกี ารบรหิ ารจดั การอยา่ ง
มรี ะบบเพอื นาํ มาใชบ้ รหิ ารจดั การภายในองค์กร

5.TECHNOLOGY : เทคโนโลยที ําใหส้ รา้ งองค์กรแหง่ การ
เรยี นรไู้ ดง้ ่ายมากขนึ

นาํ เทคโนโลยมี าเปนสอื กลางในการเรยี นรู้

เครอื งมอื ในการ
จดั การความรู้

Knowledge Management

Tools

ชุมชนนักปฏิบตั ิ (Community of practice-CoP)

กล่มุ คนทีมคี วามสนใจเรอื งเดยี วกัน มารวมตัวกันเพอื
แลกเปลียนขอ้ มูลและสรา้ งองค์ความรใู้ หมๆ่ ในเรอื งทีสนใจ
รว่ มกัน

การใชพ้ เี ลียง (Mentoring Program)

ใหค้ นทีมคี วามชาํ นาญมาคอยใหค้ ําปรกึ ษาหรอื เปนพเี ลียง
คอยชแี นะวธิ กี ารทํางาน

การใชท้ บทวนหลังการปฏิบตั ิ (After action review)

ทบทวนหลังการปฏิบตั ิวา่ มขี อ้ ดหี รอื ขอ้ บกพรอ่ งอยา่ งไร

การเสวนา (Dialogue)

จบั กล่มุ พูดคยุ รบั ฟงความเหน็ ซงึ กันและกัน ใหม้ คี วามเขา้ ใจ
ในประเดน็ ต่างๆ ไปในทางเดยี วกัน

ฐานความรู้ บทเรยี น และความสาํ เรจ็
(Lesson Learned and Best Practices Databases)

นาํ บทเรยี นจากการดาํ เนนิ การทีผา่ นมา มาวางแผนดาํ เนนิ งาน
ในครงั ต่อไป เพอื ใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพสงู สดุ

Knowledge Management

Tools

แหล่งผรู้ ูใ้ นองค์กร (Center of Excellence-CoE)

รวู้ า่ สมาชกิ ในองค์กรคนใดทีมคี วามชาํ นาญในแต่ละดา้ น
เพอื ใหส้ ามารถสอบถามผชู้ าํ นาญไดง้ ่ายขนึ

การเล่าเรอื ง (Story Telling)

ผเู้ ล่าเรอื งนาํ เรอื งราวหรอื ขอ้ มูลมาเผยแพร่ หรอื ถ่ายทอด
โดยการเล่าใหก้ ับผฟู้ ง เปนการสอื สารทางเดยี ว

เพอื นชว่ ยเพอื น (Peer Assist)

มกี ารชว่ ยเหลือ แนะนาํ  และใหค้ ําปรกึ ษา จากกล่มุ ที
ประสบความสาํ เรจ็ แล้ว เพอื ใหก้ ล่มุ อืนๆ นาํ มาประยุกต์ใช้

เวที ถาม - ตอบ (Forum)

มเี วทีถาม-ตอบ เพอื ใหผ้ ทู้ ีสงสยั สามารถถามคําถามผรู้ ู้
หรอื ผเู้ ชยี วชาญในดา้ นนนั ๆ


Click to View FlipBook Version