The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chinawat.n, 2019-02-24 22:11:04

วารสารศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น

วารสารศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น

Keywords: Local Promotion and Development Center

วารสาร

ศูนยส์ ง่ เสริมและพัฒนาทอ้ งถน่ิ

ปที ี่ 1 ฉบบั ที่ 1 เดือนตุลาคม – ธนั วาคม 2561

กองบรรณาธิการ

คณะทป่ี รึกษา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ โยธาทิพย์
อธกิ ารบดมี หาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
อาจารย์ ดร.นิรนั ด์ิเกียรติ ล่วิ คณุ ปู การ
รองอธิการบดีฝา่ ยนโยบายและแผน

บรรณาธิการ

อาจารย์ ดร.ชินีเพ็ญ มะลสิ วุ รรณ
ผูอ้ านวยการศูนยส์ ่งเสรมิ และพฒั นาทอ้ งถิ่น

กองบรรณาธกิ าร

อาจารย์สธุ รี า ศรีสุข
หัวหน้างานพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก
อาจารย์ชนิ วัจน์ งามวรรณากร
หัวหนา้ งานพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตและส่งเสรมิ คุณภาพพลเมือง
นางสาวเซียนทพิ ย์ รัตนทอง
เจ้าหนา้ ทีง่ านพัฒนาคุณภาพชีวิตและสง่ เสริมคุณภาพพลเมอื ง
นางสาวสุวนี า ยูโซ๊ะ
เจ้าหน้าทงี่ านการเงนิ ประจาศนู ย์สง่ เสรมิ และพฒั นาทอ้ งถน่ิ
นางสาวซูไวบะฮ์ ยามา
เจา้ หนา้ ท่งี านพัฒนาคุณภาพการศึกษา
นายอบั ดุลเลาะ เจะแม
เจ้าหน้าท่ีงานพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก

วารสารศนู ย์สง่ เสรมิ และพัฒนาทอ้ งถน่ิ ปีท่ี 1 ฉบับที่ 1 เดอื นตลุ าคม – ธันวาคม 2561

บทบรรณาธิการ

พระบรมราโชบาย ด้านการศึกษาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 10 เม่ือวันศุกร์ ที่ 18

สิงหาคม พ.ศ. 2560 ใหค้ วามสาคัญตอ่ การศึกษาทตี่ อ้ งม่งุ สรา้ งพน้ื ฐานให้แก่ผู้เรียน 4 ด้าน คือ 1) มีทัศนคติท่ีถูกต้อง
ต่อบ้านเมือง คือ ต้องมีความรู้ความเข้าใจท่ีมีต่อชาติบ้านเมือง ยึดมั่นในศาสนา ม่ันคงในสถาบันพระมหากษัตริย์
และมีความเอ้ืออาทรต่อครอบครัวและชุมชนของตน 2) มีพื้นฐานชีวิตท่ีม่ันคง มีคุณธรรมคือ ให้รู้จักแยกแยะส่ิงที่
ผิด-ท่ีถูก สิ่งช่ัว-ส่ิงดี เพ่ือปฏิบัติแต่สิ่งที่ชอบท่ีดีงาม ปฏิเสธส่ิงที่ผิดที่ช่ัว เพ่ือสร้างคนดีให้แก่บ้านเมือง 3) มีงานทา
มีอาชีพ คือ ต้องใหเ้ ด็กรักงาน สู้งาน ทางานจนสาเรจ็ อบรมใหเ้ รียนรกู้ ารทางานใหส้ ามารถเลี้ยงตัวและเลยี้ งครอบครัว
ได้ 4) เป็นพลเมืองดี คือ การเป็นพลเมืองดีเป็นหน้าที่ของทุกคน สถานศึกษาและสถานประกอบการต้องส่งเสริม
ให้ทุกคนมีโอกาสทาหน้าท่ีพลเมืองดี การเป็นพลเมืองดีหมายถึงการมีน้าใจมีความเอื้ออาทร ต้องทางานอาสาสมัคร
งานบาเพ็ญประโยชน์ “เหน็ อะไรทจ่ี ะทาเพื่อบา้ นเมอื งได้กต็ อ้ งทา”

มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลาเป็นสถาบันอดุ มศึกษาเพอ่ื การพัฒนาทอ้ งถิ่น โดยเฉพาะในเขตจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ของไทย (ยะลา ปัตตานี นราธิวาส) มีพันธกิจสาคัญ ได้แก่ การผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพตรงตาม
ความต้องการของตลาดแรงงาน การบริการแก่สังคม การวิจัย การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม การพัฒนา ครู
และบุคลากรทางการศึกษา การเสริมสร้างสังคมสมานฉันท์ และการพัฒนาองค์กรคุณภาพ ซึ่งพันธกิจดังกล่าว
มุ่งส่งเสริมให้เกิดคุณภาพแก่ นักศึกษา บัณฑิต คณาจารย์ บุคลากร ศิษย์เก่า และประชาชนในพื้นท่ี สอดคล้อง
กับยุทธศาสตร์ใหม่มหาวิทยาลัยราชภัฏระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 –2579) กาหนดยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นการพัฒนา
ท้องถิ่น ท้ังใน ด้านเศรษฐกิจ ซ่ึงประกอบด้วย 1) การพัฒนาอุตสาหกรรม/ธุรกิจขนาดกลาง/ขนาดย่อม
2) เทคโนโลยีการเกษตร และอาหารปลอดภัย 3) อุตสาหกรรมการท่องเท่ียว และการบริการ 4) เขตเศรษฐกิจ
พิเศษการค้าชายแดน ด้านสังคม ประกอบด้วย 1) ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และกีฬา 2) การศึกษาการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ 3) สุขภาพ และด้านสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 1) การจัดการสิ่งแวดล้อม 2) การบริหาร
ทรัพยากรธรรมชาติ

ดังนั้น เพอ่ื เป็นการบรู ณาการศาสตรด์ ้านการศกึ ษากบั การพฒั นาทอ้ งถ่ิน และสนองต่อราโชบาย
ของรัชกาลท่ี 10 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา โดยศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น จึงดาเนินโครงการยุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่ือการพัฒนาท้องถ่ิน จานวน 5 โครงการย่อย คือ 1) โครงการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์
เพ่ือแก้ปัญหาความยากจนของประชาชนในท้องถนิ่ 2) โครงการยกระดบั ผลติ ภัณฑ์ชุมชน OTOP 3) โครงการส่งเสริม
ความรักความสามัคคี ความมีระเบียบวินัยเข้าใจในสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อ่ืน 4) โครงการพัฒนาทักษะ
ภาษาอังกฤษศตวรรษท่ี 21 สาหรับนักศกึ ษาครูในมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ และ 5) โครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้
ดา้ นการอา่ นการเขยี นและการคิดวิเคราะห์ของนกั เรยี นในระดบั การจดั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

ภายใตก้ ารนาของ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมบตั ิ โยธาทิพย์ อธิการบดมี หาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา
และอาจารย์ ดร.นิรันดิ์เกียรติ ลิ่วคุณูปการ รองอธิการบดีฝ่ายนโยบายและแผน ซึ่งได้นาเสนอการขับเคล่ือน
การดาเนนิ งานใน “วารสารศูนย์สง่ เสรมิ และพฒั นาทอ้ งถิ่น” ฉบับนี้ดว้ ย อาจารย์ ดร.ชนิ ีเพญ็ มะลิสุวรรณ

ผอู้ านวยการศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพัฒนาท้องถ่ิน

ปที ี่ 1 ฉบับที่ 1 เดอื นตุลาคม – ธันวาคม 2561 วารสารศนู ยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาทอ้ งถ่นิ

สารบัญ

01 02

อธกิ ารบดีพบผวู้ า่ ราชการจังหวดั ยะลา การประชุมเพ่อื รบั ฟังประเดน็ ปัญหาใน
ปตั ตานี นราธิวาส พ้นื ทตี่ ่างๆ

07 02 อ.แมล่ าน จ.ปตั ตานี
03 อ.เบตง จ.ยะลา
โครงการบูรณาการพันธกจิ สัมพันธเ์ พื่อ 04 อ.หนอกจกิ จ.ปัตตานี
แกป้ ญั หาความยากจนของประชาชนใน 05 อ.ธารโต จ.ยะลา
ทอ้ งถิน่ 06 อ.ศรีสาคร จ.นราธวิ าส

13 โครงการสง่ เสรมิ ความรกั ความสามคั คี 10 โครงการยกระดับผลติ ภัณฑ์ชุมชน

ความมีระเบยี บวนิ ัย เขา้ ใจในสทิ ธหิ น้าท่ีของ OTOP
ตนเองและผอู้ ืน่
15 โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ
17 โครงการยกระดับคณุ ภาพการ
ศตวรรษที่ 21 สาหรบั นกั ศกึ ษาครใู น
เรียนรู้ด้านการอ่าน การเขยี น และการคดิ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา
วเิ คราะห์ ของนักเรียนในระดับการจัด
การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน

วารสารศนู ยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาทอ้ งถ่นิ ปที ่ี 1 ฉบับท่ี 1 เดอื นตลุ าคม – ธันวาคม 2561

มหาวทิ ยาลัยราชภฎั ยะลา นาโดยอธิการบดี

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ร่วมกับคณะกรรมการ
การดาเนินโครงการส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น เข้าพบ
ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลาปัตตานี นราธิวาส เพื่อช้ีแจง
ร า ย ล ะ เ อี ย ด โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ
เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น สนองตอบพระราโชบายด้าน
การ ศึกษา ของสม เด็ จพระเ จ้า อยู่ หั วรั ชกาล ท่ี 10
ตามแผนยุทธศาสตร์ 4 ด้าน ได้แก่ 1) การพัฒนาท้องถ่ิน
2)การผลิตบัณฑิตและพัฒนาครู 3)การพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา 4)การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพ่ือยกระดับ
ชวี ิตและพฒั นาท้องถนิ่ อยา่ งยัง่ ยนื

ปีที่ 1 ฉบับท่ี 1 เดอื นตลุ าคม – ธันวาคม 2561 1 วารสารศูนยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาทอ้ งถ่นิ

การประชุมเพอื่ รับฟงั ประเด็นปญั หาจากพนื้ ท่ี

อาเภอแม่ลาน จงั หวดั ปัตตานี

เม่ือวันท่ี 6 พฤศจิกายน 2561 อาจารย์ ดร.บุญสิทธ์ิ ไชยชนะ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและบริการ
วิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นาคณะทางานโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราช ภัฏ
เพ่ือการพัฒนาท้องถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ลงพื้นท่ีอาเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี เข้าร่วมประชุม
เพ่ือรับฟังประเด็นจากพ้ืนที่ในการพัฒนาพื้นท่ีจังหวัดปัตตานี ณ ศูนย์ปฏิบัติการอาเภอแม่ลาน
จงั หวัดปตั ตานี โดยมี นายสมมาตร บารา นายอาเภอแม่ลาน พร้อมด้วยตัวแทนจากหน่วยราชการต่าง ๆ
ในพ้ืนท่ีอาเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี เข้าร่วมประชุมในคร้ังน้ี โดยประเด็นหลักในการพัฒนาพ้ืนท่ี
อาเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี คือ ประเด็นปัญหาเร่ืองความยากจน และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน
และท้องถิ่น ประเด็นเรื่องการเร่งปรับปรุงศูนย์การเรียนรู้แม่ลาน เพ่ือเป็นแหล่งเรียนรู้ทางการเกษตร
ต้นแบบให้แก่ประชาชนในพื้นที่และผู้ที่สนใจในการพัฒนาตนเองได้อย่างย่ังยืน นอกจากการขับเคลื่อน
ในการพัฒนาพื้นท่ีแล้ว ประเด็นเรื่องสังคมพหุวัฒนธรรมซ่ึงถือเป็นเร่ืองสาคัญท่ีต้องร่วมมือกัน เพื่อให้
เกิดความรกั ความสามคั คขี องประชาชนในพน้ื ทแี่ ละชมุ ชนตอ่ ไป

วารสารศูนยส์ ง่ เสรมิ และพัฒนาทอ้ งถิน่ 2 ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2561

#การประชมุ เพ่ือรับฟงั ประเด็นปัญหาจากพน้ื ที่

อาเภอเบตง จงั หวดั ยะลา

เม่ือวันท่ี 7 พฤศจิกายน 2561 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ โยธาทิพย์

อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นาคณะทางานโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ลงพ้ืนท่ีอาเภอเบตง จังหวัดยะลา เข้าร่วม
ประชุม เพ่ือรับฟังประเด็นจากพ้ืนที่ในการพัฒนาพ้ืนท่ีจังหวัดยะลา ณ ห้องประชุมไกรลาส
ที่ว่าการอาเภอเบตง จังหวัดยะลา โดยมีนายสุวิทย์ นาคเป้า ปลัดอาวุโสอาเภอเบตง
ผู้แทนจากส่วนราชการต่าง ๆ และผู้ประกอบการ OTOP ในพ้ืนที่อาเภอเบตง เข้าร่วมประชุม
ในครัง้ นี้ด้วย

ผลการประชุม พบว่าจุดเด่นของเมืองเบตง คือ อัตลักษณ์ของอาหาร
และเคร่ืองด่ืมบ่งบอกถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมของชาวไทยเชื้อสายจีน และชาวไทย
มุสลิมโดยการนาเอาพืชผัก ผลไม้ และสัตว์พ้ืนเมืองในท้องถ่ินมาใช้ประกอบอาหาร
ทั้งนี้ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวอาจมีผลต่อการขอมาตรฐานรองรับคุณภาพ โดยผลิตภัณฑ์ท่ีส่ง
เขา้ คัดสรรตอ้ งไดร้ ับรองมาตรฐานที่กาหนด ไดแ้ ก่ สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) และฮาลาล บางกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนยังไม่ได้รับรอง
มาตรฐานคุณภาพเนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ประเภทอาหาร ทาให้มีผลต่อการพัฒนายกระดับ
ผลิตภัณฑ์ชุมชน ซ่ึงจากการสารวจกลุ่มผลิตภัณฑ์โดยการคัดเลือกตามหลักเกณฑ์ของ
ผลิตภัณฑ์ พบว่า กระบวนการผลิต กาลังการผลิต รูปแบบบรรจุภัณฑ์ และการส่งขายตลาด
ภายนอกจาเป็นตอ้ งพฒั นา

ปที ่ี 1 ฉบับท่ี 1 เดือนตลุ าคม – ธันวาคม 2561 3 วารสารศนู ยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาทอ้ งถ่นิ

#การประชุมเพ่อื รับฟังประเด็นปญั หาจากพื้นท่ี

อาเภอหนอกจิก จงั หวดั ปตั ตานี

เมื่อวันท่ี 15 พฤศจิกายน 2561 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ โยธาทิพย์
อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นาคณะผู้บริหาร พร้อมด้วย คณาจารย์
และบุคลากรมหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา ลงพืน้ ที่อาเภอหนองจกิ จงั หวัดปัตตานี
ประชุมเพื่อรับฟังประเด็นจากพื้นที่ในการพัฒนาพ้ืนที่จังหวัดปัตตานี โดยมี
นายไกรศร วิศิษฎ์วงศ์ ผู้ว่า ราชการจังหวัดปัตตานี เป็นประธาน
ในการประชุมเพอ่ื รับฟงั ประเด็นในการพัฒนาพ้ืนที่จังหวัดปัตตานีในคร้ังน้ีด้วย
โดยมนี ายบุญพาศ รักนุ้ย ปลัดจังหวัดปัตตานี และนายเอก ยังอภัย ณ สงขลา
นายอาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ส่วนราชการใน จังหวัดปัตตานี
ภาคประชาสังคมจงั หวดั ปตั ตานี เขา้ รว่ มประชมุ ในคร้ังน้ี

จากการประชมุ พบวา่ ในปี 2560 อาเภอหนอกจิกมคี รวั เรือนยากจนทมี่ ี
รายได้ต่ากว่า 38,000 บาท/คน/ปี เป็นอันดับหน่ึงของจังหวัดปัตตานี
เป็นเมืองต้นแบบสามเหล่ียมเศรษฐกิจ มั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน ตามนโยบาย
ของรัฐบาล โดยมีกิจกรรมส่งเสริมและขยายพ้ืนท่ีปลูกปาล์มน้ามันรูปแบบ
เกษตรแปลงใหญ่ การปลูกมะพรา้ วกะทิและมะพร้าวนา้ หอมท่ีมีโรงงานแปรรูป
น้ามันปาล์มและมะพร้าวในพ้ืนท่ี ด้านปศุสัตว์อาเภอหนองจิกมีความพร้อม
ในการจัดการตลาดกลางปศุสัตว์โดยมีแผนการจัดการ การดาเนินกิจกรรม
หมุนเวียนให้ตลาดกลางมีการแลกเปล่ียนซื้อขายสัตว์เศรษฐกิจ รวมท้ัง
การดาเนนิ โครงการสง่ เสริมอาชีพดา้ นการเกษตรในจังหวัดชายแดนภาคใต้

วารสารศนู ย์ส่งเสรมิ และพัฒนาทอ้ งถน่ิ 4 ปีท่ี 1 ฉบับที่ 1 เดอื นตุลาคม – ธันวาคม 2561

#การประชมุ เพือ่ รับฟงั ประเด็นปญั หาจากพนื้ ท่ี

อาเภอธารโต จงั หวัดยะลา

เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2561 อาจารย์ ดร.นิรันดิ์เกียรติ ล่ิวคุณูปการ
รองอธิการบดีฝ่ายนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นาคณะทางาน
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่ือการพัฒนาท้องถ่ิน ลงพ้ืนที่
อาเภอธารโต จังหวัดยะลา ร่วมประชุมเพ่ือรับฟังประเด็นจากพ้ืนที่ในการพัฒนา
พ้นื ทีจ่ งั หวดั ยะลา โดยมีนายสาโรช กาญจนพงศ์ ปลัดจังหวัดยะลา กล่าวให้โอวาท
และ พูดถึงนโ ยบา ยจังหวัดท่ีส อดค ล้องกับโ ครงกา รยุทธศา สตร์ มหา วิทย าลั ย
เพ่ือการพัฒนาท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีนายอนิรุท บัวอ่อน
นายอาเภอธารโต หัวหน้าส่วนราชการ และประชาชนในพ้ืนที่อาเภอธารโต
จังห วัด ยะล า เข้า ร่วมปร ะชุ มในคร้ั งนี้ ณ ห้องปร ะชุม ดา หลา ช้ั น 2
ท่ีว่าการอาเภอธารโต จงั หวัดยะลา

อาจารย์ดร.นิรันดิ์เกียรติ ลิ่วคุณูปการ กล่าวว่า มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ทั่วประเทศมีการกาหนดยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่ือการพัฒนาท้องถ่ิน
ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 - 2579) ใน 4 ประเด็น คือ 1) การพัฒนาท้องถ่ิน
2) การผลิตและพัฒนาครู 3) ยกระดับคุณภาพการศึกษา และ 4) พัฒนาระบบ
บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ผ น ว ก กั บ ก า ร น้ อ ม น า พ ร ะ ร า โ ช บ า ย ด้ า น ก า ร ศึ ก ษ า
ในสมเด็จ พระเจ้า อยู่หัวรัชกาล ท่ี 10 ซึ่ งในเขตพื้นที่ค วาม รับผิดชอบ
ของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ดาเนินการใน 3 จังหวัด โดยมีอาเภอธารโต
เป็นหนึง่ ในเขตพนื้ ทีเ่ ป้าหมาย

จากการประชุม พบว่า อาเภอธารโตเป็นพ้ืนที่ป่าท่ีมีความอุดมสมบูรณ์
ของทรัพยากรทั้งทางป่าไม้ ดินและแหล่งน้า เหมาะสมแก่การทาการเกษตรตลอด
ทั้งปีประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทาสวน มีพื้นที่ปลูกพืชสวน มีทุเรียน
เป็นพืชเศรษฐกิจท่ีสร้างชื่อเสียงในพ้ืนท่ี โดยมีพ่อค้ามารับซ้ือส่งจาหน่าย
ในต่างประเทศ เชน่ ประเทศจีน มาเลเซีย และสิงค์โปร์

ปีท่ี 1 ฉบับที่ 1 เดือนตลุ าคม – ธันวาคม 2561 5 วารสารศูนยส์ ง่ เสรมิ และพัฒนาทอ้ งถ่นิ

#การประชมุ เพ่อื รับฟังประเดน็ ปัญหาจากพืน้ ที่

อาเภอศรีสาคร จงั หวดั นราธวิ าส

วารสารศนู ย์ส่งเสรมิ และพัฒนาทอ้ งถิ่น 22 พฤศจิกายน 2561 อาจารย์ ดร.ศิริชัย นามบุรี
รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
นาคณะทางานโครงการยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเพ่ือการพัฒนาท้องถ่ินลงพื้นที่อาเภอศรีสาคร
จังหวัดนราธิวาส ร่วมประชุม เพ่ือรับฟังประเด็น
จากพ้ืนที่ในการพัฒนาพ้ืนที่จังหวัดนราธิวาส โดยมี
นายก่อพงษ์ โกมลรัตน์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส
กล่าวให้โอวาทและพูดถึงนโยบายจังหวัดท่ีสอดคล้อง
กั บ โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า
ท้องถ่ิน มีนายกริช น้อยผา นายอาเภอศรีสาคร
หั ว ห น้ า ส่ ว น ร า ช ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ช า ช น ใ น พ้ื น ท่ี
อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส เข้าร่วมประชุม
ในคร้ังน้ี ณ ห้องประชุมประภัสสรสิริคุณ ชั้น 2
ทว่ี า่ การอาเภอศรีสาคร จงั หวดั นราธิวาส

จากการประชุม พบว่าสภาพทั่วไปในพื้นท่ี
อาเภอศรีสาครเป็นพ้ืนท่ีราบเชิงเขา มีประชากร
4 0 , 0 0 0 ค น ร้ อ ย ล ะ 8 0 เ ป็ น ช า ว ไ ท ย มุ ส ลิ ม
ประชาชนส่วนใหญ่ทาสวนยางพารา โดยปัญหาหลัก
ท่ีพบ ในพื้นท่ี คือ เรื่ องที่ดิ นทา กินของชาวบ้ า น
ทาให้ชาวบ้านในพื้นที่ส่วนใหญ่ประสบปัญหามายาวนาน
10 - 20 ปี ที่ไม่สามารถทากินในที่ดินของตนเองได้
ทางอาเภอจึงทาโครงการท่ีแก้ปัญหาท่ีดินทากิน ส่งผล
ให้คุณภาพชีวิตของประชาชนดีข้ึนตามลาดับ ชาวบ้าน
มีพื้นท่ีทาการเกษตร สร้างงาน สร้างรายได้ และ
มีแหลง่ เงนิ ทุนในการประกอบอาชพี

6 ปีที่ 1 ฉบับท่ี 1 เดือนตลุ าคม – ธันวาคม 2561

พ้ืนทดี่ าเนนิ งานโครงการบรู ณาการพันธกจิ สัมพนั ธ์เพอ่ื แก้ปัญหา
ความยากจนของประชาชนในท้องถิ่น

1

ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนตลุ าคม – ธันวาคม 2561 7 วารสารศูนยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาทอ้ งถ่นิ

การขับเคลื่อน การดาเนินงานโครงการบูรณาการ
พั น ธ กิ จ สั ม พั น ธ์ เ พ่ื อ แ ก้ ปั ญ ห า ค ว า ม ย า ก จ น ข อ ง
ประชาชนในท้องถิ่นผสมผสานระหว่าง Area based +
Problem based ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการขับเคล่ือน
แนวทางการแกไ้ ขปัญหาความยากจน รายละเอียดดงั นี้
1) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์รับผิดชอบพ้ืนที่
Area based ในอาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส
2) แนวทางการแก้ไขปัญหาความยากจน Problem
based เป็นการดาเนินโครงการในพื้นท่ีสามจังหวัด
ชายแดนภาคใต้

โดยเลือกครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ท่ีมีรายได้น้อยกว่า 38,000 บาท/คน/ปี ทั้งนี้
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้รับมอบหมายในการ พัฒนาเชิงพ้ืนท่ีเป้าหมายอาเภอศรีสาคร
(Area Based Approach) ซึ่งผลจากการลงพ้ืนที่อาเภอศรีสาคร เม่ือวันที่ 22 พฤศจิกายน 2561 พบว่า
ข้อมูลครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2561 มี 12 ครัวเรือน เป็นครัวเรือนท่ีพัฒนาได้ 11 ครัวเรือน
ส่วนอีก 1 ครัวเรือน ไม่สามารถพัฒนาได้ ดังน้ันในอาเภอศรีสาครมีครัวเรือนเป้าหมายไม่ครบ
100 ครัวเรือน เป้าหมายของโครงการท่ีต้องให้ได้จังหวัดละ 100 ครัวเรือน ซ่ึงเป็นการเข้าไปดาเนินการ
แก้ไขปัญหาจึงเลือกพื้นท่ีเป้าหมายจากการศึกษาข้อมูลครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ.ปี 2561 ในอาเภอ
ท่ีต้ังอยู่ใกล้เคียงกับอาเภอศรีสาคร คือ อาเภอระแงะ มีครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ.จานวนมากที่ต้องการ
เข้าร่วมโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน เพ่ือให้ครบ 100 ครัวเรือนเป้าหมายในจังหวัดนราธิวาส
ดังน้ันพ้นื ท่เี ปา้ หมายจงึ ประกอบด้วย
• พืน้ ที่จงั หวดั ยะลา คอื อาเภอธารโต และอาเภอเบตง
• พน้ื ทจ่ี ังหวัดปตั ตานี คอื อาเภอหนองจกิ และอาเภอแมล่ าน
• พืน้ ที่จังหวัดนราธิวาส คือ อาเภอศรีสาคร และอาเภอระแงะ

วารสารศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพัฒนาทอ้ งถ่ิน 8 ปีท่ี 1 ฉบับที่ 1 เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2561

ตัวช้วี ดั และเป้าหมายผลผลติ

 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 50 ของเป้าหมายโครงการ
ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือลดรายจ่าย/เพิ่มรายได้ ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 20 (ปงี บประมาณ 2562 จานวน 150 ครัวเรอื น)

 ค รั ว เ รื อ น เ ป้ า ห ม า ย ในพ้ื นท่ี 3 จั งห วัด ( ย ะ ล า ปั ต ต า นี แ ล ะ นร า ธิว า ส )
จังหวัดละ 100 ครัวเรือน รวมเปน็ 300 ครวั เรือน/คน/ปี

 ในปีแรกสามารถแก้ไขปญั หาครวั เรือนยากจนพน้ เกณฑ์ความยากจนในพนื้ ที่ 3 จงั หวดั
(ยะลา ปตั ตานี และนราธวิ าส) รอ้ ยละ 50
 สรุปผลการดาเนินโครงการและนามาถอดบทเรียนสร้างต้นแบบโมเดล (Model)

การแกไ้ ขปญั หาความยากจนภายใน 5 ปี จงั หวดั ละ 1 โมเดล

แผนการดาเนินงาน

 การประสานงานกับเจ้าหน้าท่ีสานักงานพัฒนาชุมชนท้ัง 6 อาเภอ ขอข้อมูลครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ.
ปี 2561 ท่เี ปน็ ขอ้ มลู ปัจจุบัน เพื่อเปน็ ข้อมลู เบื้องตน้ ในการคัดเลอื กครัวเรือน ตกเกณฑใ์ นพื้นที่เป้าหมาย

 การสร้างแบบฟอร์มเก็บข้อมูลครัวเรือนยากจนท่ีให้อาจารย์ในหลักสูตรพัฒนาชุมชนเป็นผู้ออกแบบ
สอบถาม/แบบสมั ภาษณ์

 การเก็บข้อมูลครัวเรื อนตกเกณฑ์ จปฐ. เ ป็นครัวเรื อนเป้าหมา ยในพ้ืนที่ท้ัง 6 อาเภ อ
ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยให้นักศึกษาและเจ้าหน้าท่ีโครงการร่วมกันเก็บข้อมูลครัวเรือนยากจน
ทุกครวั เรือน

 ผลการเก็บขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ะมกี ารแบง่ ประเภทครัวเรือนตกเกณฑ์ท่ีสามารถพัฒนาได้และมีศักยภาพพร้อมใน
การพัฒนาอาชีพต่อไป โดยให้อาจารย์ในแต่ละหลักสูตรเข้าไปร่วมแก้ไขปัญหาให้ครัวเรือนตกเกณฑ์
ท่ีต้องการพัฒนาอาชีพ เน้นการให้ความรู้ด้านการลดรายจ่าย – เพิ่มรายได้ในครัวเรือน เพ่ือยกระดับ
คุณภาพชีวติ ให้ดีขนึ้ โดยใช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเป็นหลกั ในการพัฒนา

ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 เดอื นตุลาคม – ธันวาคม 2561 9 วารสารศูนย์ส่งเสรมิ และพัฒนาทอ้ งถิ่น

อ.แมล่ าน อ.ศรสี าคร

อ.หนอกจกิ อ.ยีง่ อ

อ.ธารโต อ.เบตง

2 : พ้ืนทดี่ าเนินงานยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP

วารสารศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพัฒนาทอ้ งถ่ิน 10 ปที ่ี 1 ฉบับท่ี 1 เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2561

คณะกรรมการ ดาเนินโครงการยกระดับผลติ ภณั ฑช์ ุมชน OTOP ลงพืน้ ที่เพอ่ื สารวจศักยภาพข้อมูล
ของกลมุ่ OTOP จาก 6 อาเภอ ในพื้นท่ี 3 จังหวดั ประกอบด้วย อาเภอธารโต อาเภอเบตง จังหวัดยะลา
อาเภอแมล่ าน อาเภอหนอกจิก จงั หวัดปตั ตานี และอาเภอศรีสาคร อาเภอยี่งอ จงั หวัดนราธวิ าส

ท่ี กล่มุ OTOP

อาเภอธารโต จังหวดั ยะลา

1 กลมุ่ ปลาสม้ (ฮาลาบาลา )
2 วิสาหกจิ ชมุ ชนแมบ่ า้ นเกษตรมายอ(บานานาวนั )
3 ผลติ และแปรรูปเหด็ ครบวงจร

อาเภอเบตง จังหวดั ยะลา

1 กลุ่มHATANA น้าแกง
2 เฉาก๋วยหอเจยี๊ ะ
3 วสิ าหกิจชุมชนเลีย้ งผ้งึ จว๋ิ ชนั โรงครูรวิน
4 แมบ่ ้านร่วมใจพฒั นา(หมเี่ บตงมุสลมิ )
5 ทเุ รยี นทอด(บา้ นวงั ใหม่)
6 กลมุ่ เกษตรกรผู้เลี้ยงปลานลิ บอ่ ดนิ บ้านบ่อน้าร้อน
7 แม่บา้ นนารพี ัฒนา (กาแฟเบตง)
8 Pizza หน้าปลานิล
9 กยุ่ ช่ายเหมย่ เวย
10 แมบ่ ้านมดตะนอย (นา้ พรกิ ปลานลิ 3รส)
11 โกช้างฟารม์ ไกเ่ บตงพันธุแ์ ท้ 100 %
12 เจ้ปู กุยชา่ ยเบตง
13 กลมุ่ สมุนไพรปิยะมิตรที่ 1 (เหด็ ลนิ จอื )

ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนตลุ าคม – ธันวาคม 2561 11 วารสารศูนยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาทอ้ งถ่นิ

ที่ กลุ่ม OTOP ที่ กลุม่ OTOP
อาเภอหนอกจกิ จังหวัดปัตตานี อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส
1 เตา้ สอ้ คุณเยน็ 1 เก้าอ้ีปูนไมเ้ ทยี ม
2 ตัดเยบ็ เสื้อผา้ สตรี 2 LAWA Leng (ผ้าคลุมผมงานปักทกุ ชนิด)
3 ปลาแหง้ ท่ายาลอ 3 SN Design (กระเปา๋ ผา้ )
4 ศิลปะประดษิ ฐ์บา้ นบางตาวา 4 วิสาหกจิ เกษตรอนิ ทรยี แ์ ละสมนุ ไพร บา้ นประชานมิ ติ (ชาดาว
5 สตรบี ้านเปย๊ี ะ
6 สตรีฮูแตบองอ(ไขเ่ ค็ม) อนิ คา)
อ.แม่ลาน จ.ปัตตานี 5 ไมก้ วาดดอกหญ้า บา้ นประชานมิ ิต
1 เครอ่ื งแกงสาเรจ็ รปู บา้ นต้นโตนด 6 ศิลปะจากเศษไมบ้ ้านไอรก์ าแซ
2 สตรตี ดั เย็บเส้ือผา้ และเครอื่ งแต่งกาย 7 แม่บา้ นไอร์กาแช HALAWA (โดนทั )
3 อาชีพทาเฟอรน์ ิเจอร์ อาเภอยีง่ อ จังหวัดนราธิวาส
4 ปลาดุกรา้ 1 พบั ด้วยรักมุสลมิ ตะลาฆอสะโต (ขนมทองมว้ น)
5 สมนุ ไพรอนิ ทรียบ์ ้านปลักปรอื 2 คณุ ลาเบเกอร่ี
6 ปลกู ผัก,ผลไมอ้ นิ ทรยี ์ บ้านวงั กว้าง 3 ดอกไมใ้ บยางพารา-ผ้าใยบัว
4 ปกั จักรผ้าคลมุ ผม
วารสารศูนย์ส่งเสรมิ และพัฒนาทอ้ งถิน่ 5 กระเปา๋ เอนกประสงค์

12 ปที ่ี 1 ฉบับที่ 1 เดอื นตุลาคม – ธันวาคม 2561

3

ปีท่ี 1 ฉบับที่ 1 เดือนตลุ าคม – ธันวาคม 2561 13 วารสารศนู ย์สง่ เสรมิ และพัฒนาทอ้ งถ่นิ

การดาเนินงานโครงการเสริมสร้างความรกั ความสามคั คเี พือ่ สรา้ งความมรี ะเบยี บวนิ ัยเข้าใจในสทิ ธิ

หน้าที่ของตนเอง และความเป็นพลเมืองที่ดี รวมทั้งการสร้างค่านิยมการอยู่ร่วมกันใน สังคม
พหุวัฒนธรรมอย่างสันติสุข ซึ่งเป็นการดาเนินโครงการท่ีเน้นพื้นท่ีเป้าหมายในการแก้ไขปัญหา
เสริมสร้างความรกั ความเขา้ ใจ ลดความหวาดระแวงในพื้นท่ชี ายแดนภาคใต้

แนวทางการขบั เคล่ือนการดาเนนิ งาน

การจดั งานมหกรรม โดยมีการดาเนินกิจกรรม ไดแ้ ก่
o เวทีการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เน้นความรู้รักสามัคคี เช่น ลิเกฮูลู อนาซีด

โดยสอื่ สารได้ 5 ภาษา
o การเรียนรู้เรือ่ งกฎหมายทใี่ ชช้ วี ติ ประจาวันทป่ี ระชาชนควรรู้
o การประกวดภาพศลิ ปะทีแ่ สดงถงึ ความรรู้ กั สามัคคีของประชาชน
o การจดั ตง้ั ศนู ย์รรู้ กั สามัคคปี ระจาตาบล
o นกั ศกึ ษาจติ อาสา “เราทาความดีดว้ ยหวั ใจ” รว่ มการพัฒนาชุมชน

พ้ืนทีเ่ ปา้ หมาย

 โรงเรยี นใน 3 จังหวดั ชายแดนภาคใต้เป็นฐานการทากจิ กรรม ได้แก่
 โรงเรียนบา้ นธารมะลิ ตาบลอัยเยอร์เวง อาเภอเบตง จังหวัดยะลา
 โรงเรียนบา้ นเยาะ ตาบลแมห่ วาด อาเภอธารโต จงั หวดั ยะลา
 โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นซากอ ตาบลซากอ อาเภอศรสี าคร จังหวดั นราธิวาส
 โรงเรยี นบา้ นนา้ ดา ตาบลปุโละปโุ ย อาเภอหนองจิก จังหวดั ปตั ตานี

วารสารศูนยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาทอ้ งถิน่ 14 ปีท่ี 1 ฉบับที่ 1 เดอื นตลุ าคม – ธันวาคม 2561

4

ปีท่ี 1 ฉบับที่ 1 เดือนตลุ าคม – ธันวาคม 2561 15 วารสารศนู ย์สง่ เสรมิ และพัฒนาทอ้ งถ่นิ

การดาเนินงาน โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษศตวรรษ
ท่ี 21 สาหรับนักศึกษาครูในมหาวิทยาลัยราชภัฏมีการคัดเลือกนักศึกษา
กลุ่มเป้าหมาย โดยให้นักศึกษาทาแบบทดสอบภาษาอังกฤษเพ่ือคัดนักศึกษา
ออกเป็นกลุม่ ยอ่ ย เช่น กล่มุ นักศึกษาท่ีมีทักษะความรู้ด้านภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน
และกลุม่ นักศึกษาท่ีตอ้ งเฝ้าระวงั คดั แยกในแตล่ ะคณะ ประกอบดว้ ย

1) กลมุ่ ที่ 1 นักศึกษาช้นั ปีที่ 5
2) กลุ่มที่นักศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษ ครุศาสตร์บัณฑิต
หลักสตู รภาษาอังกฤษ ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์
3) กลุ่มท่ี 3 หลักสูตรภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีการศึกษา
คณะครุศาสตร์และสงั คมศาสตร์

เน่ืองจากนักศึกษา ช้ันปีที่ 5 กลับจากการ ฝึกสอน
ในวันศุกร์ 21 ธันวาคม 2561 จึงมีการแจกแบบทดสอบในการคัด
นักศึกษาเป็นกลุ่มๆ และประชาสัมพันธ์การสมัครติวเข้มทักษะ
ภาษาองั กฤษเน้นการคัดเลือกนักศึกษา 100 คนแรกเข้าร่วมโครงการ
คัดนักศึกษาท่ีมีโอกาสสอบผ่านก่อนในการเข้าร่วมโครงการติวเข้ม
โ ด ย ม อ บ ห ม า ย ใ ห้ ท า ง ศู น ย์ ภ า ษ า แ ล ะ อ า เ ซี ย น ศึ ก ษ า รั บ ห น้ า ที่
ดาเนินการจัดสอบโดยองค์ประกอบของข้อสอบ ประกอบด้วย
1)Grammar 2)Reading 3)Listening โดยมีการพัฒนา
แ บ บ ท ด ส อ บ ทั ก ษ ะ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ใ ห้ เ ป็ น ร ะ บ บ ซ อ ฟ แ ว ร์
ของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา แยกเป็น 2 ส่วน คือ การเขียน
โปรแกรมและตัวข้อสอบลงในระบบซอฟแวร์เพื่อให้การออกข้อสอบ
เป็นไปทุกองค์ประกอบทั้งเน้ือหา ภาพ และเสียงที่มีความชัดเจน
ประกอบกับการใช้ห้องสอบที่สามารถเปิดลาโพงฟังเสียงใน Part
Listening

วารสารศนู ยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาทอ้ งถ่นิ 16 ปที ่ี 1 ฉบับท่ี 1 เดอื นตุลาคม – ธันวาคม 2561

พัฒนาครู

ระดับคะแนนสอบ O-NET ของนักเรียนเพิ่มขึ้น

สรา้ งนวัตกรรมทางการศึกษา

5

ปีท่ี 1 ฉบับที่ 1 เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2561 17 วารสารศูนยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาทอ้ งถ่นิ

การดาเนนิ งาน โครงการยกระดับคณุ ภาพการเรียนรู้ดา้ นการอ่าน
การเขียนและการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนในระดับการจัดการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน มีกิจกรรมที่ดาเนินการแล้วเสร็จ ในไตรมาสที่ 1
จานวน 3 กจิ กรรม ดังนี้

กลุ่มเป้าหมาย 60 โรงเรียน โดยมีวัตถุประสงค์

เพื่อทาความเข้าใจกับผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียน
ท่ีเข้าร่วมโครงการที่มีผลคะแนน o-net ต่า 20 อันดับ
ของแต่ละจังหวัด ดาเนินการเมื่อวันที่ 11 เดือนธันวาคม
พ.ศ. 2561 ผู้เข้าร่วม จานวน 58 โรงเรยี น จานวน 58 คน
จากท้ังหมด 60 โรงเรียน ผลการดาเนินการ พบว่า
ทางผู้อานวยการโรงเรียนที่เข้าร่วมประชุม มีความสนใจ
และยินดีเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการจัดกิจกรรมโครงการ
ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ก า ร เ รี ย น รู้ ด้ า น ก า ร อ่ า น ก า ร เ ขี ย น
แ ล ะ ก า ร คิ ด วิ เ ค ร า ะ ห์ ข อ ง นั ก เ รี ย น ใ น ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า
ขนั้ พน้ื ฐานในพืน้ ที่ชายแดนใต้

วารสารศูนย์สง่ เสรมิ และพัฒนาทอ้ งถ่นิ 18 ปที ่ี 1 ฉบับท่ี 1 เดือนตลุ าคม – ธันวาคม 2561

กจิ กรรมท่ี 2 ประชมุ คณะกรรมการผู้รับผิดชอบโครงการ

มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือ ชแี้ จงโครงการและวางแผนการจดั กิจกรรม
ของโครงการกบั คณะกรรมการดาเนินงานดาเนินการเม่อื วันท่ี 14 เดอื นธันวาคม พ.ศ. 2561
จานวนผู้เข้าร่วม 10 คน จากการประชุมคณะกรรมการผู้รับผิดชอบโครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้
ด้านการอ่านการเขียนและการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนในระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานในพื้นท่ีชายแดนใต้
มกี ารจัดทาข้อสรุปการดาเนินการจัดกจิ กรรมอยา่ งชัดเจนและจดั ทาแผนการดาเนินงานร่วมกัน

กิจกรรมที่ 3 การสร้างสอื่ นวัตกรรมต้นแบบ

มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างนวัตกรรมต้นแบบการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ โดยดาเนิน
การระหว่างวันที่ 15-16 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 ผู้เข้าร่วม คือ ครูจากโรงเรียนที่มีคะแนน One-t
ต่าอันดับสุดท้ายของจังหวัด จานวน 111 คน ผลการดาเนินการ พบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความสนใจที่จะร่วม
สร้างนวัตกรรมต้นแบบการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ เพื่อเป็นสื่อนวัตกรรมช่วยให้นักเรียนของตน
มีผลคะแนนสอบ O-net ท่ีเพิ่มข้ึนจากเดิม ครูมีความพร้อมในการนานวัตกรรมที่ร่วมกันพัฒนามาปรับ
ใช้ในรายวชิ าเพือ่ ยกระดบั คุณภาพการศึกษาในพืน้ ทใ่ี ห้ดขี ้ึนจากเดมิ

ปที ่ี 1 ฉบับท่ี 1 เดือนตลุ าคม – ธันวาคม 2561 19 วารสารศูนย์สง่ เสรมิ และพัฒนาทอ้ งถิน่

ตดิ ต่อกองบรรณาธิการ

ศนู ย์สง่ เสริมและพัฒนาท้องถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
อาคาร 4 ช้นั 1
0 7329 9600
ศนู ย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถ่ิน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา
w www.lpdc.yru.ac.th


Click to View FlipBook Version