The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดี(เเก้ไข)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Eve Wanrujee, 2020-07-08 22:34:20

การวิเคราะห์หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดี(เเก้ไข)

รายวิชา สงั คมศึกษา ส 22101
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 ประวตั แิ ละความสาคัญของพระพทุ ธศาสนา

เรอ่ื ง หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาทช่ี ่วยเสรมิ สร้างความ
เข้าใจอันดี กับประเทศเพื่อนบ้าน

หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาที่
ชว่ ยเสริมสร้างความเข้าใจอนั ดี

กบั ประเทศเพื่อนบ้าน

สาราณียธรรม ๖ สงั คหวตั ถุ ๔

สอนให้คนสมคั รสมานสามคั คกี นั

1.เมตตากายกรรม คือ แสดงออกซึ่ง

ความเป็ นมิตรทางกายต่อประเทศเพ่ือน
บา้ น

2.เมตตาวจีกรรม คือ มีการ

กระทาทางวาจาที่แสดงออกถึง
ความปรารถนาดีต่อมิตรประเทศ
เช่น ไม่กล่าว ติเตียน ให้รา้ ยกนั
เช่น ไม่กล่าว ติเตียน ให้ร้ายกนั

3.เมตตามโนกรรม คือ มี

จิตใจปรารถนาดีต่อมิตรประเทศ
เช่น ไมช่ กั จงู มิตรประเทศดาเนิน
นโยบาย ก่อสงคราม
แบง่ ปันผลประโยชน์ท่ีเกิดขึน้ หรือ
ได้มาโดยชอบธรรมแก่มิตรประเทศ

4. แบง่ ปนั ผลประโยชน์ท่เี กิดขน้ึ หรือ 5. มีหลักความประพฤติ (ศลี ) เสมอกับ

ได้มาโดยชอบธรรมแกม่ ติ รประเทศ เช่น มติ รประเทศ และไม่ทาตนใหเ้ ปน็ ที่
ไมส่ ร้างเขื่อนก้นั น้าหรือเปลีย่ นเส้นทาง รงั เกยี จของประเทศอ่ืน เชน่ ไมใ่ ห้
ของกระแสน้าทปี่ ระเทศเพือ่ นบา้ นรว่ มใช้ ประเทศตนเปน็ ทีซ่ ่องสุมของผู้ก่อการรา้ ย
ประโยชน์ดว้ ย
6.มคี วามคิดเหน็ ตรงกับประเทศอน่ื เชน่
ยอมรบั กติกา หรอื กฎเกณฑท์ ี่นานาชาติ
กาหนดไว้

หลกั ธรรมเพ่อื ยดึ เหน่ียวน้าใจผอู้ ่ืน สงั คหวตั ถุ 4

ทาน

การให้ หรอื การช่วยเหลือเกื้อกลู กนั เช่น เมอ่ื มิตรประเทศประสบภยั
ต่างๆ
กอ็ าจส่งอาหาร เวชภณั ฑ์ เครอ่ื งอปุ โภคบริโภคไปช่วยเหลือตามกาลงั
ความสามารถ

ปิ ยวาจา

มีวาจาอนั เป็นท่ีรกั หมายถึง เจรจาด้วยถ้อยคาท่ีไพเราะ
สภุ าพ เหมาะสมกบั กาลเทศะ

อตั ถจริยา การประพฤติตนเป็นประโยชน์แก่ผอู้ ่ืน เช่น ไมส่ รา้ ง
ความเดือดรอ้ นให้แก่เพ่อื นบา้ น หรอื เมอื่ มิตร

ประเทศประสบปัญหากใ็ ห้ความช่วยเหลือ

สมานัตตตา การวางตวั เหมาะสมกบั ภาวะของตน เช่น ให้ความ
นับถือประเทศต่าง ๆ ว่ามฐี านะและศกั ด์ิศรีทดั เทียม

กบั เรา

ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาในฐานะที่เป็นรากฐานสาคญั
ของวิถีชีวิตไทยหรอื วฒั นธรรมไทยสามารถ สรปุ ได้ ดงั นี้

ดา้ นวงจรชวี ติ ของ
บคุ คล

ด้านวงจรกาลเวลาของสงั คมและชมุ ชน

ดา้ นภาษา

ด้านศิลปะและดนตรี

ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาอีกประการหน่ึง คือ เป็น
เอกลกั ษณ์และมรดกของสงั คมไทยซึ่งสามารถแบง่ ได้ ดงั นี้

ความมีเมตตากรณุ า ในแง่เอกลกั ษณ์ ความเป็นคนไมย่ ดึ มนั่
เกนิ ไป
ความเป็ นคนใจกว้าง
ไม่เหน็ แก่ตวั

การพฒั นาด้านวตั ถุ เช่น การที่พระสงฆร์ ว่ มกบั ชาวบา้ นสร้าง
ถนนในชมุ ชน การก่อตงั้ มลู นิธิของ

พระสงฆ์ เพ่ือช่วยเหลือเดก็ ยากไร้ เป็นต้น

การพฒั นาด้านจิตใจ เช่น การสอนให้คนในชมุ ชนมี
ระเบียบวินัย มีความซื่อสตั ย์ ไม่
ประมาท มีความพอดี เดินทาง

สายกลาง เป็นต้น

จบหน่วยการเรียนรู้ที่ 1
ใหน้ กั เรียนจดสรุปหน่วย 1

- การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเขา้ สู่ประเทศเพื่อนบา้ น
- วเิ คราะห์พระพทุ ธศาสนาในการพฒั นาชุมชน
คาบต่อไปทดสอบหลงั หน่วย 1


Click to View FlipBook Version